กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนหลักประกันสุขภาพ เทศบาลนครยะลา


“ โครงการพัฒนาการสุขาภิบาลอาหารและส่งเสริมการบริโภคอาหารปลอดภัยในโรงเรียนธรรมวิทยามูลนิธิ ”

ตำบลยะลา อำเภอเมืองยะลา จังหวัดยะลา

หัวหน้าโครงการ
นางสาวนูรีดา เจ๊ะอาแว กรรมการชมรมธนาคารขยะโรงเรียนธรรมวิทยามูลนิธิ

ชื่อโครงการ โครงการพัฒนาการสุขาภิบาลอาหารและส่งเสริมการบริโภคอาหารปลอดภัยในโรงเรียนธรรมวิทยามูลนิธิ

ที่อยู่ ตำบลยะลา อำเภอเมืองยะลา จังหวัดยะลา จังหวัด ยะลา

รหัสโครงการ 61 – L7452 – 2 – 31 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 กรกฎาคม 2561 ถึง 31 มีนาคม 2562


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการพัฒนาการสุขาภิบาลอาหารและส่งเสริมการบริโภคอาหารปลอดภัยในโรงเรียนธรรมวิทยามูลนิธิ จังหวัดยะลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลยะลา อำเภอเมืองยะลา จังหวัดยะลา

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนหลักประกันสุขภาพ เทศบาลนครยะลา ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการพัฒนาการสุขาภิบาลอาหารและส่งเสริมการบริโภคอาหารปลอดภัยในโรงเรียนธรรมวิทยามูลนิธิ



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการพัฒนาการสุขาภิบาลอาหารและส่งเสริมการบริโภคอาหารปลอดภัยในโรงเรียนธรรมวิทยามูลนิธิ " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลยะลา อำเภอเมืองยะลา จังหวัดยะลา รหัสโครงการ 61 – L7452 – 2 – 31 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 กรกฎาคม 2561 - 31 มีนาคม 2562 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 42,000.00 บาท จาก กองทุนหลักประกันสุขภาพ เทศบาลนครยะลา เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

ปัจจุบันการเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจและการเปลี่ยนแปลงทางด้านสังคมเป็นไปอย่างรวดเร็ว ทำให้วิถีชีวิตของประชาชนเปลี่ยนแปลงไป โดยเฉพาะอย่างยิ่งพฤติกรรมการบริโภคอาหารที่เปลี่ยนแปลงจากการบริโภคอาหารที่ประกอบปรุงเพื่อรับประทานเองที่บ้าน เปลี่ยนเป็นการบริโภคนอกบ้านมากขึ้น ประชาชนจึงมีโอกาสเสี่ยงต่อการรับประทานอาหารที่ไม่สะอาดจากผู้จำหน่ายอาหารที่ขาดความรู้ความเข้าใจ ในเรื่องการจำหน่ายอาหาร ซึ่งทำให้เกิดการปนเปื้อนเชื้อโรคและสารพิษลงสู่อาหารได้ และโดยเฉพาะอย่างยิ่งเด็กนักเรียน ซึ่งไม่มีความรู้ความเข้าใจในการเลือกบริโภคอาหารที่สะอาดปลอดภัยและยังไม่ตระหนักถึงการดูแลสุขภาพของตัวเอง อีกทั้งยังมีความจำเป็นต้องบริโภคอาหารที่มีราคาถูก อร่อย และรวดเร็ว ฉะนั้น นักเรียนจึงมีโอกาสเสี่ยงต่อการรับประทานอาหารที่ไม่สะอาดปลอดภัยเนื่องจากการปนเปื้อนเชื้อโรคและสารพิษลงในอาหารได้ ดังจะเห็นได้จากสถานการณ์อัตราป่วยด้วยโรคอุจจาระร่วงในเขตเทศบาลนครยะลา ปีพ.ศ.2559-2560 พบว่ามีอัตราป่วย 505.52 และ 501.3 ต่อแสนประชากร ซึ่งพบว่ามีแนวโน้มลดลงเล็กน้อย แต่ก็ยังจัดอยู่ในอันดับ 1 ของโรคติดต่อที่ต้องเฝ้าระวังทางระบาดวิทยา (ศูนย์ข้อมูลเฝ้าระวังโรคโรงพยาบาลศูนย์ยะลา) ประกอบกับข้อมูลจำนวนนักเรียนที่ป่วยด้วยโรคอุจจาระร่วงของฝ่ายการพยาบาลโรงเรียนธรรมวิทยามูลนิธิ ในปีงบประมาณ 2560 พบว่ามีนักเรียนที่ป่วยด้วยโรคอุจจาระร่วง จำนวนทั้งสิ้น 150 คน เป็นนักเรียนชาย จำนวน 50 คน และนักเรียนหญิง จำนวน 100 คน และโรงเรียนมีร้านจำหน่ายอาหารจำนวน 10 ร้าน จัดจำหน่ายอาหารให้แก่นักเรียนจำนวน 6,130 คน และบุคลากรจำนวน 500 คน โดยผู้จำหน่ายอาหารทั้ง 10 ร้าน ยังไม่มีความรู้ความเข้าใจ ในเรื่องการจำหน่ายอาหารที่สะอาดปลอดภัย เนื่องจากผู้จำหน่ายอาหารหลายรายยังปฏิบัติตนไม่ถูกต้องในระหว่างการเตรียมประกอบปรุงอาหารเพื่อจำหน่ายให้กับนักเรียน อีกทั้งนักเรียนก็ไม่มีความรู้ความเข้าใจในการเลือกบริโภคอาหารที่สะอาดปลอดภัย
ดังนั้น ทางโรงเรียนธรรมวิทยามูลนิธิ ตระหนักถึงความสำคัญของปัญหาดังกล่าว จึงได้จัดทำโครงการพัฒนาการสุขาภิบาลอาหารและส่งเสริมการบริโภคอาหารปลอดภัยในโรงเรียนธรรมวิทยามูลนิธิ โดยการจัดกิจกรรมฝึกอบรมหลักสูตรการสุขาภิบาลอาหารแก่ผู้จำหน่ายอาหารในโรงเรียน ครูฝ่ายวิชาการสามัญ และแกนนำนักเรียน เพื่อนำความรู้ความเข้าใจไปพัฒนาการจำหน่ายอาหารและถ่ายทอดสู่การเรียนการสอนไปยังนักเรียนได้อย่างถูกต้องและครอบคลุมทั้งโรงเรียน ท้ายที่สุดก็จะส่งผลถึงนักเรียนได้บริโภคอาหารที่สะอาดปลอดภัยจากร้านจำหน่ายอาหารในโรงเรียนที่ได้มาตรฐานและรู้จักเลือกบริโภคอาหารที่สะอาดปลอดภัยต่อไป

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. 1. เพื่อให้ผู้จำหน่ายอาหารในโรงเรียน ครูวิชาการ สามัญและแกนนำนักเรียนมีความรู้ความเข้าใจเรื่องการสุขาภิบาลอาหาร
  2. 2. เพื่อให้ผู้จำหน่ายอาหารในโรงเรียนสามารถพัฒนาร้านจำหน่ายอาหารให้ได้มาตรฐาน
  3. 3. ครูวิชาการสามัญสามารถนำความรู้ไปถ่ายทอดแก่นักเรียนผ่านรายวิชาการเรียนการสอนได้
  4. 4. ผู้เข้ารับการอบรมมีความพึงพอใจในการจัดกิจกรรมผ่านงบสนับสนุนของกองทุนหลักประกันสุขภาพ เทศบาลนครยะลา

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. กิจกรรมที่ 1 จัดประชุมเจ้าหน้าที่ที่เกี่ยวข้องร่วมกับคณะครูวิชาการสามัญ จำนวน 32 คน เพื่อชี้แจงการจัดทำโครงการ การเตรียมความพร้อมนำหลักสูตรเข้าสู่ระบบการเรียนการสอน
  2. กิจกรรมที่ 2 จัดอบรมให้ความรู้แก่กลุ่มเป้าหมาย จำนวน 162 คน ระยะเวลา 1 วัน

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 100
กลุ่มวัยทำงาน 62
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

  1. ผู้เข้ารับการอบรมมีความรู้ความเข้าใจเรื่องการสุขาภิบาลอาหารและการบริโภคอาหารปลอดภัยเพิ่มขึ้น
  2. ผู้เข้ารับการอบรมมีการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการจำหน่ายอาหารและบริโภคอาหารสะอาดปลอดภัย
  3. ผู้เข้ารับการอบรมมีการถ่ายทอดความรู้สู่นักเรียนในโรงเรียนได้อย่างถูกต้องและครอบคลุมทั้งโรงเรียน

ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 1. เพื่อให้ผู้จำหน่ายอาหารในโรงเรียน ครูวิชาการ สามัญและแกนนำนักเรียนมีความรู้ความเข้าใจเรื่องการสุขาภิบาลอาหาร
ตัวชี้วัด : 1. ผู้เข้ารับการอบรมครบร้อยละ 100 (จำนวน 162 คน) 2. ผู้เข้ารับการอบรมมีความรู้ผ่านเกณฑ์ที่กำหนดร้อยละ 80
80.00

 

2 2. เพื่อให้ผู้จำหน่ายอาหารในโรงเรียนสามารถพัฒนาร้านจำหน่ายอาหารให้ได้มาตรฐาน
ตัวชี้วัด : 3. ผู้จำหน่ายอาหารมีการพัฒนาร้านผ่านเกณฑ์มาตรฐานร้อยละ 100
100.00

 

3 3. ครูวิชาการสามัญสามารถนำความรู้ไปถ่ายทอดแก่นักเรียนผ่านรายวิชาการเรียนการสอนได้
ตัวชี้วัด : 4. ครูวิชาการสามัญสามารถนำความรู้ไปถ่ายทอดในหลักสูตรการเรียนการสอนร้อยละ 100
100.00

 

4 4. ผู้เข้ารับการอบรมมีความพึงพอใจในการจัดกิจกรรมผ่านงบสนับสนุนของกองทุนหลักประกันสุขภาพ เทศบาลนครยะลา
ตัวชี้วัด : 5. ร้อยละของผู้เข้ารับอบรมมีความพึงพอใจไม่น้อยกว่า ร้อยละ 85
85.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 162
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 100
กลุ่มวัยทำงาน 62
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1. เพื่อให้ผู้จำหน่ายอาหารในโรงเรียน ครูวิชาการ สามัญและแกนนำนักเรียนมีความรู้ความเข้าใจเรื่องการสุขาภิบาลอาหาร (2) 2. เพื่อให้ผู้จำหน่ายอาหารในโรงเรียนสามารถพัฒนาร้านจำหน่ายอาหารให้ได้มาตรฐาน (3) 3. ครูวิชาการสามัญสามารถนำความรู้ไปถ่ายทอดแก่นักเรียนผ่านรายวิชาการเรียนการสอนได้ (4) 4. ผู้เข้ารับการอบรมมีความพึงพอใจในการจัดกิจกรรมผ่านงบสนับสนุนของกองทุนหลักประกันสุขภาพ เทศบาลนครยะลา

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) กิจกรรมที่ 1 จัดประชุมเจ้าหน้าที่ที่เกี่ยวข้องร่วมกับคณะครูวิชาการสามัญ จำนวน 32 คน เพื่อชี้แจงการจัดทำโครงการ การเตรียมความพร้อมนำหลักสูตรเข้าสู่ระบบการเรียนการสอน (2) กิจกรรมที่ 2 จัดอบรมให้ความรู้แก่กลุ่มเป้าหมาย จำนวน 162 คน ระยะเวลา 1 วัน

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการพัฒนาการสุขาภิบาลอาหารและส่งเสริมการบริโภคอาหารปลอดภัยในโรงเรียนธรรมวิทยามูลนิธิ จังหวัด ยะลา

รหัสโครงการ 61 – L7452 – 2 – 31

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นางสาวนูรีดา เจ๊ะอาแว กรรมการชมรมธนาคารขยะโรงเรียนธรรมวิทยามูลนิธิ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด