การพัฒนา IQ EQเด็กปฐมวัย...ปี 2560
แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์
รายงานฉบับสมบูรณ์
โครงการ
“ การพัฒนา IQ EQเด็กปฐมวัย...ปี 2560 ”
ตำบลตุยง อำเภอหนองจิก จังหวัดปัตตานี
หัวหน้าโครงการ
นายแวยะมา แวดือราเฮง
ได้รับการสนับสนุนโดย กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ตุยง
กันยายน 2560
ชื่อโครงการ การพัฒนา IQ EQเด็กปฐมวัย...ปี 2560
ที่อยู่ ตำบลตุยง อำเภอหนองจิก จังหวัดปัตตานี จังหวัด ปัตตานี
รหัสโครงการ 60-L3065-2-07 เลขที่ข้อตกลง
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 พฤศจิกายน 2559 ถึง 30 กันยายน 2560
กิตติกรรมประกาศ
"การพัฒนา IQ EQเด็กปฐมวัย...ปี 2560 จังหวัดปัตตานี" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลตุยง อำเภอหนองจิก จังหวัดปัตตานี
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ตุยง ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
การพัฒนา IQ EQเด็กปฐมวัย...ปี 2560
บทคัดย่อ
โครงการ " การพัฒนา IQ EQเด็กปฐมวัย...ปี 2560 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลตุยง อำเภอหนองจิก จังหวัดปัตตานี รหัสโครงการ 60-L3065-2-07 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 พฤศจิกายน 2559 - 30 กันยายน 2560 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 10,000.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ตุยง เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ »
บทคัดย่อ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล »
วัตถุประสงค์โครงการ »
กิจกรรม/การดำเนินงาน »
กลุ่มเป้าหมาย »
ผลลัพธ์ที่ได้ »
การประเมินผล »
ปัญหาและอุปสรรค »
ข้อเสนอแนะ »
เอกสารประกอบอื่นๆ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
การดำเนินชีวิตของคนในสังคมปัจจุบัน พบมีการเผชิญกับปัญหาหลายด้านที่ส่งผลกระทบต่อ IQ และ EQ โดยเฉพาะพื้นที่ที่ได้รับผลกระทบจากเหตุการณ์ความไม่สงบ จะส่งผลต่อจากความฉลาดทางเชาว์ปัญญา ดังนั้นความรู้ความเข้าใจและการพัฒนา “ความฉลาดทางอารมณ์ (E.Q.) จึงเป็นสิ่งที่สำคัญมาก โดยเฉพาะอย่างยิ่งสำหรับนักเรียนซึ่งกำลังอยู่ในวัยที่มักจะมีปัญหาหลายด้าน ทั้งด้านการเรียน การคบเพื่อน และปัญหาทางครอบครัว หากนักเรียนมีความรู้ความเข้าใจและได้พัฒนาความฉลาดทางอารมณ์ จะทำให้นักศึกษามีแนวทางที่ถูกต้องเหมาะสมในการพัฒนาจิตใจ อารมณ์ และทักษะการคิดของตนเอง รวมทั้งมีความสามารถในการจัดการกับปัญหาต่าง ๆ ได้อย่างราบรื่น อันจะนำไปสู่การดำเนินชีวิตในสังคมได้อย่างมีคุณค่าและมีความสุข
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- 1.1 พัฒนาเด็กปฐมวัย ให้ได้รับการส่งเสริมพัฒนาการทั้งด้านร่างกาย จิตใจ อารมณ์ และสังคมในเชิงรุก โดย การบูรณาการทุกภาคส่วนที่เกี่ยวข้อง
- 1.2 พัฒนาศักยภาพพ่อแม่ผู้เลี้ยงดูเด็กในครอบครัว มีความรู้ ความเข้าใจวิธีการส่งเสริมพัฒนาการเด็ก ปฐมวัย
กิจกรรม/การดำเนินงาน
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
100
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
- เด็กปฐมวัย ได้รับการส่งเสริมพัฒนาการทั้งด้านร่างกาย จิตใจ อารมณ์
- พ่อแม่/ผู้เลี้ยงดูเด็กในครอบครัว และอสม. มีความรู้ ความเข้าใจวิธีการส่งเสริมพัฒนาการเด็กปฐมวัย
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ ผลผลิต* ผลผลิตที่ตั้งไว้ ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
- ผลการดำเนินงาน
ตามวัตถุประสงค์ดังนี้
- พัฒนาเด็กปฐมวัย ให้ได้รับการส่งเสริมพัฒนาการทั้งด้านร่างกาย จิตใจ อารมณ์ และสังคมในเชิงรุก โดย
การบูรณาการทุกภาคส่วนที่เกี่ยวข้อง
พัฒนาศักยภาพพ่อแม่ผู้เลี้ยงดูเด็กในครอบครัว มีความรู้ ความเข้าใจวิธีการส่งเสริมพัฒนาการเด็ก
ปฐมวัย
โดยมีการทำโครงการเพื่อตอบวัตถุประสงค์ดังนี้
- จัดให้มีการประชุมอบรมพ่อแม่/ผู้เลี้ยงดูเด็กปฐมวัย เพื่อให้มีความรู้ ความเข้าใจเรื่องพัฒนาการ พฤติกรรม และสามารถส่งเสริมพัฒนาการเด็กได้อย่างเหมาะสมกับวัยของเด็ก ในวันที่ 25 สิงหาคม 2560 ณ มัสยิดบ้านปะกาลือสง ในการจัดประชุมครั้งนี้มีผู้เข้าร่วมโครงการทั้งหมด 100 คน
- ดำเนินการคัดกรองพัฒนาการเด็กปฐมวัย ในหมู่บ้านตั้งแต่ เดือนธันวาคม 2559 – กันยายน 2560 ร่วมกับเครือข่ายสุขภาพในพื้นที่ ประกอบด้วย เจ้าหน้าที่จากโรงพยาบาลหนองจิก เจ้าหน้าที่กองสาธารณสุขและสิ่งแวดล้อม องค์การบริหารส่วนตำบลตุยง ทีมงานอาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้านปะกาลือสง
- มีการติดตามและกระตุ้นพัฒนาการเด็กที่มีความบกพร่องทางพัฒนาการและสติปัญญาควบคู่กับการคัดกรองพัฒนาการเด็กปฐมวัย
จำนวนเด็กปฐมวัย หรือเด็ก 0 – 6 ปี ในพื้นที่ ทั้งหมด 150 คน
เด็กที่ได้รับการคัดกรองและกระตุ้นพัฒนาการ จำนวน 124 คน คิดเป็นร้อยละ 82.67 คน
ผลสัมฤทธิ์ตามวัตถุประสงค์/ตัวชี้วัด
2.1 การบรรลุตามวัตถุประสงค์
/• บรรลุตามวัตถุประสงค์
• ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ เพราะ ...............................................................................................................
........................................................................................................................................................................................
2.2 จำนวนผู้เข้าร่วมใน แผนงาน/โครงการ/กิจกรรม ...ทั้งหมด.........224............................................... คน
- การเบิกจ่ายงบประมาณ
งบประมาณที่ได้รับการอนุมัติ ................10,000.................. บาท
- ค่าอาหารกลางวัน 100 คน x 40 บาท x 1 มื้อ x 1 วัน เป็นเงิน 4,000 บาท
- ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม 100 คน x 25 บาท x 2 มื้อ x 1 วัน เป็นเงิน 5,000 บาท
- ค่าไวนิล เป็นเงิน 1,000 บาท
งบประมาณเบิกจ่ายจริง .................10,000................. บาท คิดเป็นร้อยละ ......100...............
งบประมาณเหลือส่งคืนกองทุนฯ .....................-........................... บาท คิดเป็นร้อยละ ........-...................
- ปัญหา/อุปสรรคในการดำเนินงาน
• ไม่มี
/• มี
ปัญหา/อุปสรรค
- อสม.ขาดทักษะ ประสบการณ์ในการดำเนินงาน
- เป็นโครงการที่มีการดำเนินงานระยะยาว ต้องมีการวางแผนอย่างต่อเนื่อง เพราะการคัดกรองเด็กต้องมีการรุกชุมชน และบูรณาการร่วมภาคประชาชนและรัฐ
- เด็กบางคนไม่อยู่ในพื้นที่ ไปๆมาๆ
แนวทางการแก้ไข
- หน่วยงานราชการในพื้นที่ เช่น โรงพยาบาลหนองจิก องค์การบริหารส่วนตำบลตุยง หรือคณะกรรมการกองทุนฯ ตำบลตุยงเป็นพี่เลี้ยงในการดำเนินงาน
- ในการออกชุมชนของหน่วยงานราชการ ควรมีแผนการดำเนินงานบูรณาการ เช่น ได้ในเรื่องของวัคซีน โภชนาการ คัดกรองพัฒนาการเด็ก เป็นต้น
- ควรมีการติดตามอย่างต่อเนื่อง และนัดวันที่เด็กพร้อม กรณีที่เด็กไปๆมาๆ
- การดำเนินงานต้องมีการประสานงานกับผู้นำศาสนา ผู้นำท้องที่ ผู้นำท้องถิ่น หน่วยงานราชการในพื้นที่
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ สถานการณ์ เป้าหมาย ผลผลิต อธิบาย
1
1.1 พัฒนาเด็กปฐมวัย ให้ได้รับการส่งเสริมพัฒนาการทั้งด้านร่างกาย จิตใจ อารมณ์ และสังคมในเชิงรุก โดย การบูรณาการทุกภาคส่วนที่เกี่ยวข้อง
ตัวชี้วัด : 1. เด็กปฐมวัย ได้รับการคัดกรองและส่งเสริมพัฒนาการทั้งด้านร่างกาย จิตใจ อารมณ์ ร้อยละ 80
2
1.2 พัฒนาศักยภาพพ่อแม่ผู้เลี้ยงดูเด็กในครอบครัว มีความรู้ ความเข้าใจวิธีการส่งเสริมพัฒนาการเด็ก ปฐมวัย
ตัวชี้วัด : 2. พ่อแม่ผู้เลี้ยงดูเด็กในครอบครัว มีความรู้ ความเข้าใจวิธีการส่งเสริมพัฒนาการเด็กปฐมวัย ร้อยละ80
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด
100
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
100
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
-
กลุ่มวัยทำงาน
-
กลุ่มผู้สูงอายุ
-
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
-
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
-
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
-
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
-
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
-
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1.1 พัฒนาเด็กปฐมวัย ให้ได้รับการส่งเสริมพัฒนาการทั้งด้านร่างกาย จิตใจ อารมณ์ และสังคมในเชิงรุก โดย การบูรณาการทุกภาคส่วนที่เกี่ยวข้อง (2) 1.2 พัฒนาศักยภาพพ่อแม่ผู้เลี้ยงดูเด็กในครอบครัว มีความรู้ ความเข้าใจวิธีการส่งเสริมพัฒนาการเด็ก ปฐมวัย
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *- บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
- หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค สาเหตุ ข้อเสนอแนะ
การพัฒนา IQ EQเด็กปฐมวัย...ปี 2560 จังหวัด ปัตตานี
รหัสโครงการ 60-L3065-2-07
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
................................
( นายแวยะมา แวดือราเฮง )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......
โครงการ
“ การพัฒนา IQ EQเด็กปฐมวัย...ปี 2560 ”
ตำบลตุยง อำเภอหนองจิก จังหวัดปัตตานี
หัวหน้าโครงการ
นายแวยะมา แวดือราเฮง
กันยายน 2560
ที่อยู่ ตำบลตุยง อำเภอหนองจิก จังหวัดปัตตานี จังหวัด ปัตตานี
รหัสโครงการ 60-L3065-2-07 เลขที่ข้อตกลง
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 พฤศจิกายน 2559 ถึง 30 กันยายน 2560
กิตติกรรมประกาศ
"การพัฒนา IQ EQเด็กปฐมวัย...ปี 2560 จังหวัดปัตตานี" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลตุยง อำเภอหนองจิก จังหวัดปัตตานี
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ตุยง ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
การพัฒนา IQ EQเด็กปฐมวัย...ปี 2560
บทคัดย่อ
โครงการ " การพัฒนา IQ EQเด็กปฐมวัย...ปี 2560 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลตุยง อำเภอหนองจิก จังหวัดปัตตานี รหัสโครงการ 60-L3065-2-07 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 พฤศจิกายน 2559 - 30 กันยายน 2560 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 10,000.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ตุยง เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ | » |
บทคัดย่อ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล | » |
วัตถุประสงค์โครงการ | » |
กิจกรรม/การดำเนินงาน | » |
กลุ่มเป้าหมาย | » |
ผลลัพธ์ที่ได้ | » |
การประเมินผล | » |
ปัญหาและอุปสรรค | » |
ข้อเสนอแนะ | » |
เอกสารประกอบอื่นๆ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
การดำเนินชีวิตของคนในสังคมปัจจุบัน พบมีการเผชิญกับปัญหาหลายด้านที่ส่งผลกระทบต่อ IQ และ EQ โดยเฉพาะพื้นที่ที่ได้รับผลกระทบจากเหตุการณ์ความไม่สงบ จะส่งผลต่อจากความฉลาดทางเชาว์ปัญญา ดังนั้นความรู้ความเข้าใจและการพัฒนา “ความฉลาดทางอารมณ์ (E.Q.) จึงเป็นสิ่งที่สำคัญมาก โดยเฉพาะอย่างยิ่งสำหรับนักเรียนซึ่งกำลังอยู่ในวัยที่มักจะมีปัญหาหลายด้าน ทั้งด้านการเรียน การคบเพื่อน และปัญหาทางครอบครัว หากนักเรียนมีความรู้ความเข้าใจและได้พัฒนาความฉลาดทางอารมณ์ จะทำให้นักศึกษามีแนวทางที่ถูกต้องเหมาะสมในการพัฒนาจิตใจ อารมณ์ และทักษะการคิดของตนเอง รวมทั้งมีความสามารถในการจัดการกับปัญหาต่าง ๆ ได้อย่างราบรื่น อันจะนำไปสู่การดำเนินชีวิตในสังคมได้อย่างมีคุณค่าและมีความสุข
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- 1.1 พัฒนาเด็กปฐมวัย ให้ได้รับการส่งเสริมพัฒนาการทั้งด้านร่างกาย จิตใจ อารมณ์ และสังคมในเชิงรุก โดย การบูรณาการทุกภาคส่วนที่เกี่ยวข้อง
- 1.2 พัฒนาศักยภาพพ่อแม่ผู้เลี้ยงดูเด็กในครอบครัว มีความรู้ ความเข้าใจวิธีการส่งเสริมพัฒนาการเด็ก ปฐมวัย
กิจกรรม/การดำเนินงาน
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้ | |
---|---|---|
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | ||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | 100 | |
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | ||
กลุ่มวัยทำงาน | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | ||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] |
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
- เด็กปฐมวัย ได้รับการส่งเสริมพัฒนาการทั้งด้านร่างกาย จิตใจ อารมณ์
- พ่อแม่/ผู้เลี้ยงดูเด็กในครอบครัว และอสม. มีความรู้ ความเข้าใจวิธีการส่งเสริมพัฒนาการเด็กปฐมวัย
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์** กิจกรรมของโครงการ | ผลผลิต* | |
---|---|---|
ผลผลิตที่ตั้งไว้ | ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง |
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
- ผลการดำเนินงาน ตามวัตถุประสงค์ดังนี้
- พัฒนาเด็กปฐมวัย ให้ได้รับการส่งเสริมพัฒนาการทั้งด้านร่างกาย จิตใจ อารมณ์ และสังคมในเชิงรุก โดย การบูรณาการทุกภาคส่วนที่เกี่ยวข้อง
พัฒนาศักยภาพพ่อแม่ผู้เลี้ยงดูเด็กในครอบครัว มีความรู้ ความเข้าใจวิธีการส่งเสริมพัฒนาการเด็ก ปฐมวัย โดยมีการทำโครงการเพื่อตอบวัตถุประสงค์ดังนี้
- จัดให้มีการประชุมอบรมพ่อแม่/ผู้เลี้ยงดูเด็กปฐมวัย เพื่อให้มีความรู้ ความเข้าใจเรื่องพัฒนาการ พฤติกรรม และสามารถส่งเสริมพัฒนาการเด็กได้อย่างเหมาะสมกับวัยของเด็ก ในวันที่ 25 สิงหาคม 2560 ณ มัสยิดบ้านปะกาลือสง ในการจัดประชุมครั้งนี้มีผู้เข้าร่วมโครงการทั้งหมด 100 คน
- ดำเนินการคัดกรองพัฒนาการเด็กปฐมวัย ในหมู่บ้านตั้งแต่ เดือนธันวาคม 2559 – กันยายน 2560 ร่วมกับเครือข่ายสุขภาพในพื้นที่ ประกอบด้วย เจ้าหน้าที่จากโรงพยาบาลหนองจิก เจ้าหน้าที่กองสาธารณสุขและสิ่งแวดล้อม องค์การบริหารส่วนตำบลตุยง ทีมงานอาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้านปะกาลือสง
- มีการติดตามและกระตุ้นพัฒนาการเด็กที่มีความบกพร่องทางพัฒนาการและสติปัญญาควบคู่กับการคัดกรองพัฒนาการเด็กปฐมวัย
จำนวนเด็กปฐมวัย หรือเด็ก 0 – 6 ปี ในพื้นที่ ทั้งหมด 150 คน
เด็กที่ได้รับการคัดกรองและกระตุ้นพัฒนาการ จำนวน 124 คน คิดเป็นร้อยละ 82.67 คน
- จัดให้มีการประชุมอบรมพ่อแม่/ผู้เลี้ยงดูเด็กปฐมวัย เพื่อให้มีความรู้ ความเข้าใจเรื่องพัฒนาการ พฤติกรรม และสามารถส่งเสริมพัฒนาการเด็กได้อย่างเหมาะสมกับวัยของเด็ก ในวันที่ 25 สิงหาคม 2560 ณ มัสยิดบ้านปะกาลือสง ในการจัดประชุมครั้งนี้มีผู้เข้าร่วมโครงการทั้งหมด 100 คน
ผลสัมฤทธิ์ตามวัตถุประสงค์/ตัวชี้วัด 2.1 การบรรลุตามวัตถุประสงค์ /• บรรลุตามวัตถุประสงค์ • ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ เพราะ ............................................................................................................... ........................................................................................................................................................................................ 2.2 จำนวนผู้เข้าร่วมใน แผนงาน/โครงการ/กิจกรรม ...ทั้งหมด.........224............................................... คน
- การเบิกจ่ายงบประมาณ งบประมาณที่ได้รับการอนุมัติ ................10,000.................. บาท
- ค่าอาหารกลางวัน 100 คน x 40 บาท x 1 มื้อ x 1 วัน เป็นเงิน 4,000 บาท
- ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม 100 คน x 25 บาท x 2 มื้อ x 1 วัน เป็นเงิน 5,000 บาท
- ค่าไวนิล เป็นเงิน 1,000 บาท
งบประมาณเบิกจ่ายจริง .................10,000................. บาท คิดเป็นร้อยละ ......100...............
งบประมาณเหลือส่งคืนกองทุนฯ .....................-........................... บาท คิดเป็นร้อยละ ........-...................
- ปัญหา/อุปสรรคในการดำเนินงาน
• ไม่มี
/• มี
ปัญหา/อุปสรรค
- อสม.ขาดทักษะ ประสบการณ์ในการดำเนินงาน
- เป็นโครงการที่มีการดำเนินงานระยะยาว ต้องมีการวางแผนอย่างต่อเนื่อง เพราะการคัดกรองเด็กต้องมีการรุกชุมชน และบูรณาการร่วมภาคประชาชนและรัฐ
- เด็กบางคนไม่อยู่ในพื้นที่ ไปๆมาๆ
แนวทางการแก้ไข - หน่วยงานราชการในพื้นที่ เช่น โรงพยาบาลหนองจิก องค์การบริหารส่วนตำบลตุยง หรือคณะกรรมการกองทุนฯ ตำบลตุยงเป็นพี่เลี้ยงในการดำเนินงาน
- ในการออกชุมชนของหน่วยงานราชการ ควรมีแผนการดำเนินงานบูรณาการ เช่น ได้ในเรื่องของวัคซีน โภชนาการ คัดกรองพัฒนาการเด็ก เป็นต้น
- ควรมีการติดตามอย่างต่อเนื่อง และนัดวันที่เด็กพร้อม กรณีที่เด็กไปๆมาๆ
- การดำเนินงานต้องมีการประสานงานกับผู้นำศาสนา ผู้นำท้องที่ ผู้นำท้องถิ่น หน่วยงานราชการในพื้นที่
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ | สถานการณ์ | เป้าหมาย | ผลผลิต | อธิบาย | |
---|---|---|---|---|---|
1 | 1.1 พัฒนาเด็กปฐมวัย ให้ได้รับการส่งเสริมพัฒนาการทั้งด้านร่างกาย จิตใจ อารมณ์ และสังคมในเชิงรุก โดย การบูรณาการทุกภาคส่วนที่เกี่ยวข้อง ตัวชี้วัด : 1. เด็กปฐมวัย ได้รับการคัดกรองและส่งเสริมพัฒนาการทั้งด้านร่างกาย จิตใจ อารมณ์ ร้อยละ 80 |
|
|||
2 | 1.2 พัฒนาศักยภาพพ่อแม่ผู้เลี้ยงดูเด็กในครอบครัว มีความรู้ ความเข้าใจวิธีการส่งเสริมพัฒนาการเด็ก ปฐมวัย ตัวชี้วัด : 2. พ่อแม่ผู้เลี้ยงดูเด็กในครอบครัว มีความรู้ ความเข้าใจวิธีการส่งเสริมพัฒนาการเด็กปฐมวัย ร้อยละ80 |
|
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
---|---|---|---|
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด | 100 | ||
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | |||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | 100 | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | - | ||
กลุ่มวัยทำงาน | - | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | - | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | |||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | - | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | - | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | - | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | - | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] | - |
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1.1 พัฒนาเด็กปฐมวัย ให้ได้รับการส่งเสริมพัฒนาการทั้งด้านร่างกาย จิตใจ อารมณ์ และสังคมในเชิงรุก โดย การบูรณาการทุกภาคส่วนที่เกี่ยวข้อง (2) 1.2 พัฒนาศักยภาพพ่อแม่ผู้เลี้ยงดูเด็กในครอบครัว มีความรู้ ความเข้าใจวิธีการส่งเสริมพัฒนาการเด็ก ปฐมวัย
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค | สาเหตุ | ข้อเสนอแนะ |
---|---|---|
|
|
|
การพัฒนา IQ EQเด็กปฐมวัย...ปี 2560 จังหวัด ปัตตานี
รหัสโครงการ 60-L3065-2-07
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
( นายแวยะมา แวดือราเฮง )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......