กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.บ้านควน


“ โครงการเผ้าระวัง ป้องกันและควบคุมวัณโรคในชุมชนโดยเครือข่าย อสม. ปีงบประมาณ 2562 ”

ตำบลบ้านควน อำเภอเมืองสตูล จังหวัดสตูล

หัวหน้าโครงการ
นางรีนา โต๊ะเจ๊ะ ผู้อำนวยการโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านควน 1

ชื่อโครงการ โครงการเผ้าระวัง ป้องกันและควบคุมวัณโรคในชุมชนโดยเครือข่าย อสม. ปีงบประมาณ 2562

ที่อยู่ ตำบลบ้านควน อำเภอเมืองสตูล จังหวัดสตูล จังหวัด สตูล

รหัสโครงการ 62-L5307-1-01 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 กุมภาพันธ์ 2562 ถึง 31 สิงหาคม 2562


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการเผ้าระวัง ป้องกันและควบคุมวัณโรคในชุมชนโดยเครือข่าย อสม. ปีงบประมาณ 2562 จังหวัดสตูล" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลบ้านควน อำเภอเมืองสตูล จังหวัดสตูล

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.บ้านควน ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการเผ้าระวัง ป้องกันและควบคุมวัณโรคในชุมชนโดยเครือข่าย อสม. ปีงบประมาณ 2562



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการเผ้าระวัง ป้องกันและควบคุมวัณโรคในชุมชนโดยเครือข่าย อสม. ปีงบประมาณ 2562 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลบ้านควน อำเภอเมืองสตูล จังหวัดสตูล รหัสโครงการ 62-L5307-1-01 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 กุมภาพันธ์ 2562 - 31 สิงหาคม 2562 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 18,250.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.บ้านควน เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

วัณโรค เป็นโรคติดต่อระบบทางเดินหายใจมีการระบาดอย่างรวดเร็วในชุมขนที่ประชาชนอยู่กันแออัด ผู้ป่วยมีอาการไอต่อเนื่องเกิน 2สัปดาห์ เจ็บหน้าอก มีไข้ตำ่ๆ บางรายไม่มีอาการแสดง หรือพบในผู้ป่วยติดเชื้อ HIVวัณโรคเป็นโรคติดต่อร้ายแรงค้นหาผู้ป่วยได้ยากเพราะส่วนใหญ่ไม่ยอมรับกลัวสังคมรังเกียจ ปฏิเสธการรักษา ไม่ทนต่อการกินยารักษานาน 6 เดือน หยุดกินยาเองซึ่งส่งผลให้เกิดเช์้อดื้อยาต้องเปลี่ยนการรักษาที่ยุ่งยากค่ารักษาต้องใช้ยาที่แพงรับยาจากต่างประเทศ ทำให้การแพร่ของโรคเพิ่มขึ้น อาการของโรครุนแรงมีโรคแทรกซ้อนใช้เวลาในการรักษาระยะยาวนาน จากรายงานผู้ป่วยวัณโรคโรงพยาบาลสตูลปี 2560 ผู้ป่วยขึ้นทะเบียนใหม่จำนวน 120 คน คิดเป็นอัตราป่วย 106.44 ต่อแสนประชากร ผลสำเร็จของการรักษาร้อยละ 86.70 ซึ่งตำ่กว่าเป้าหมายคือร้อยละ 87, ปี 2561 ผู้ป่วยขึ้นทะเบียนใหม่จำนวน 104 คน คิดเป็นอัตราป่วย 116.64 ต่อแสนประชากร ผลสำเร็จของการรักษาร้อยละ 87ซึ่งตำ่กว่าและได้ตามเป้าหมายคือร้อยละ 87 และจากจำนวนผู้ป่วยวัณโรคของโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล ตำบลบ้านควน ปี 2559 จำนวน 3 ราย, ปี 2560 จำนวน 4 ราย,ปี 2561 จำนวน 6 ราย มีจำนวนเพิ่มขึ้นทุกปี จึงได้จัดทำโครงการเพื่อกำหนดแนวทางการควบคุมโรคโดยมุ่งเน้น "ค้นให้พบ จบด้วยหาย พัฒนาเครือข่ายระบบการดูแลรักษา กำกับการกินยาแบบมีพี่เลี้ยง" โดยการกำกับการกินยาต่อหน้าพี่เลี้ยง(DOTS) คือเจ้าหน้าที่สาธารณสุข ญาติ หรือ อสม. จนรักษาหาย ไม่เป็นปัญหาในพื้นที่ตำบลบ้านควนต่อไป

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อเร่งรัดการค้นหาผู้ป่วยวัณโรคในชุมชนและกลุ่มเสี่ยง
  2. เพื่อให้ผู้ป่วยวัณโรคเข้าถึงการรักษาที่มีคุณภาพโดยเน้นการควบคุมกำกับการรักษาแบบมีพี่เลี้ยง(DOT) โดย ญาติ อาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน
  3. เพื่อเสริมสร้างความรู้ความเข้าใจเรื่องวัณโรคให้แก่ อสม. เพื่อนำไปสู่การคัดกรองและเฝ้าระวังในชุมชนอย่างมีประสิทธิภาพ

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. คัดกรองและค้นหากลุ่มเสี่ยง ที่เข้าข่ายสงสัยวัณโรค
  2. สรุปผลการดำเนินงาน/ปัญหาอุปสรรคของโครงการ เจ้าหน้าที่สาธารณสุขและ อสม.
  3. อบรมฟื้นฟูความรู้เรื่องวัณโรคแก่ อสม.

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ 400
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง 79
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

  1. ร้อยละ 80 ผู้ป่วยวัณโรค 1 คน คัดกรองผู้สัมผ้สร่วมบ้านของผู้ป่วยวัณโรค 3 คน
  2. ร้อยละ 80 ผู้สูงอายุที่มีอายุ 65 ปี ที่มีโรคร่วมเช่น โรคปอดอุดกั้นเรื้อรังได้รับการคัดกรองวัณโรค
  3. ร้อยละ 80 ผู้ป่วยเบาหวานคุมน้ำตาลไม่ได้(Uncontrolled DM HbA1C > 7) ได้รับการคัดกรองวัณโรค
  4. ร้อยละ 80 บุคลากรสาธารณสุขทางการแพทย์ ให้บริการดูแลผู้ป่วย ได้รับการคัดกรองวัณโรค

ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อเร่งรัดการค้นหาผู้ป่วยวัณโรคในชุมชนและกลุ่มเสี่ยง
ตัวชี้วัด : - ร้อยละ 80 ผู้ป่วย 1 คน คัดกรองผู้สัมผ้สร่วมบ้านของผู้ป่วยวัณโรค 3 คน - ร้อยละ 80 ผู้สูงอายุที่มีอายุ 65 ปี ที่มีโรคร่วมเช่น โรคปอดอุดกั้นเรื้อรังได้รับการคัดกรองวัณโรค - ร้อยละ 80 ผู้ป่วยเบาหวานคุมน้ำตาลไม่ได้(Uncontrolled DM HbA1C > 7) ได้รับการคัดกรองวัณโรค - ร้อยละ 80 บุคลากรสาธารณสุขทางการแพทย์ ให้บริการดูแลผู้ป่วย ได้รับการคัดกรองวัณโรค
80.00

 

2 เพื่อให้ผู้ป่วยวัณโรคเข้าถึงการรักษาที่มีคุณภาพโดยเน้นการควบคุมกำกับการรักษาแบบมีพี่เลี้ยง(DOT) โดย ญาติ อาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน
ตัวชี้วัด : ร้อยละ 100 ผู้ป่วยวัณโรคเข้าถึงการรักษาที่มีคุณภาพโดยเน้นการควบคุมกำกับการรักษาแบบมีพี่เลี้ยง(DOT) โดย ญาติ อาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน
100.00

 

3 เพื่อเสริมสร้างความรู้ความเข้าใจเรื่องวัณโรคให้แก่ อสม. เพื่อนำไปสู่การคัดกรองและเฝ้าระวังในชุมชนอย่างมีประสิทธิภาพ
ตัวชี้วัด : ร้อยละ 80 ของ อสม. มีระดับความรู้ความเข้าใจเรื่องโรควัณโรค
80.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 479
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ 400
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง 79
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อเร่งรัดการค้นหาผู้ป่วยวัณโรคในชุมชนและกลุ่มเสี่ยง (2) เพื่อให้ผู้ป่วยวัณโรคเข้าถึงการรักษาที่มีคุณภาพโดยเน้นการควบคุมกำกับการรักษาแบบมีพี่เลี้ยง(DOT) โดย ญาติ อาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน (3) เพื่อเสริมสร้างความรู้ความเข้าใจเรื่องวัณโรคให้แก่ อสม. เพื่อนำไปสู่การคัดกรองและเฝ้าระวังในชุมชนอย่างมีประสิทธิภาพ

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) คัดกรองและค้นหากลุ่มเสี่ยง ที่เข้าข่ายสงสัยวัณโรค (2) สรุปผลการดำเนินงาน/ปัญหาอุปสรรคของโครงการ เจ้าหน้าที่สาธารณสุขและ อสม. (3) อบรมฟื้นฟูความรู้เรื่องวัณโรคแก่ อสม.

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการเผ้าระวัง ป้องกันและควบคุมวัณโรคในชุมชนโดยเครือข่าย อสม. ปีงบประมาณ 2562 จังหวัด สตูล

รหัสโครงการ 62-L5307-1-01

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นางรีนา โต๊ะเจ๊ะ ผู้อำนวยการโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านควน 1 )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด