กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.จะกว๊ะ


“ โครงการชุมชนร่วมใจป้องกันภัยโรคไข้เลือดออก ตำบลจะกว๊ะ ”

ตำบลจะกว๊ะ อำเภอรามัน จังหวัดยะลา

หัวหน้าโครงการ
นายแวยูโซะ หะตะมะ

ชื่อโครงการ โครงการชุมชนร่วมใจป้องกันภัยโรคไข้เลือดออก ตำบลจะกว๊ะ

ที่อยู่ ตำบลจะกว๊ะ อำเภอรามัน จังหวัดยะลา จังหวัด ยะลา

รหัสโครงการ 62-L4157-2 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 12 ตุลาคม 2561 ถึง 30 กันยายน 2562


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการชุมชนร่วมใจป้องกันภัยโรคไข้เลือดออก ตำบลจะกว๊ะ จังหวัดยะลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลจะกว๊ะ อำเภอรามัน จังหวัดยะลา

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.จะกว๊ะ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการชุมชนร่วมใจป้องกันภัยโรคไข้เลือดออก ตำบลจะกว๊ะ



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการชุมชนร่วมใจป้องกันภัยโรคไข้เลือดออก ตำบลจะกว๊ะ " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลจะกว๊ะ อำเภอรามัน จังหวัดยะลา รหัสโครงการ 62-L4157-2 ระยะเวลาการดำเนินงาน 12 ตุลาคม 2561 - 30 กันยายน 2562 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 78,750.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.จะกว๊ะ เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

โรคไข้เลือดออก เป็นดรคที่เป็นปัญหาสาธารณสุขที่สำคัญอย่างหนึ่งของเขตโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลจะกว๊ะ จากสถิติข้อมูลที่ผ่านมานำมาเปรียบเทียบกับค่ามัธยฐาน 5 ปีย้อนหลังตั้งแต่ปี พ.ศ. 2556-2560 มีค่ามัธยฐานอยู่ที่ 2.2 ซึ่งพบว่า ปี 2561 มีผู้ป่วยจำนวน 9 ราย ซึ่งมีค่ามัธยฐานสูงกว่าค่ามัธยฐาน 5 ปีย้อนหลัง โดยผู้ป่วยโรคไข้เลือดออกในพื้นที่โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลจะกว๊ะพบในทุกุกลุ่มอายุ อีกทั้งมิได้ระบาดเฉพาะในช่วงฤดูฝนเท่านั้น จึงนับเป็นปัญหาทางการแพทย์และสาธารณสุขที่สำคัญอย่างหนึ่งของโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลจะกว๊ะ อำเภอรามัน จังหวัดยะลา จากการดำเนินงานที่ผ่านมาได้รับความร่วมมือจากประชาชนในพื้นที่และหน่วยงานที่เกี่ยวข้องทั้งภาครัฐและเอกชน   ยุทธศาสตร์การดำเนินงานควบคุมและป้องกันโรคไข้เลือดออกที่สำคัญประการหนึ่ง ควบคุมลูกน้ำยุงลาย ดัชนีลูกน้ำยุงลายจะต้องไม่เกินเกณฑ์มาตรฐาน แต่จากผลการประเมินดัชนีลูกน้ำยุงลายของตำบลจะกวีะ ในปี 2561 รอบที่ 1 พบว่ามีหมู้บ้านผ่านเกณฑ์เพียงร้อยละ 60 ซึ่งนับว่ามีความเสี่ยงสูงที่จะเกิดการระบาดของโรคได้ ควบคุมลูกน้ำยุงลายให้ได้ผล ต้องอาศัยความร่วมมือร่วมใจจากประชาชนในแต่ละหมู่บ้าน โรงเรียน ดำเนินการกำจัดลูกน้ำยุงลายทุกหลังคาเรือนอย่างต่อเนื่อง โดยเน้นให้มีการดำเนินงานให้ครอบคลุมมากขึ้น มีการนำระบบแผนที่หมู่บ้านมาใช้ช่วยในการประเมินผลและควบคุมลูกน้ำยุงลายให้มีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น อันจะส่งผลให้สามารถลดการระบาดของโรคลงได้ อีกทั้งยังต้องสร้างความตระหนักให้กับชุมชน ท้องถิ่น การให้ความรู้ข้อมูลข่าวสารที่เข้าถึงประชาชนได้อย่างถูกต้องและรวดเร็ว ซึ่งจะเป็นส่วนสนับสนุนให้การป้องกันโรคได้ผลมากยิ่งขึ้น อาสาสมัครสาธาณสุขตำบลจะกว๊ะจึงได้จัดโครงการ ชุมชนร่วมใจป้องกันภัยโรคไข้เลือดออก ตำบลจะกว๊ะ ปี 2562 ขึ้น โดยมีเป้าหมายหลักเพื่อลดอัตราป่วยของโรคไข้เลือดออกให้เหลือน้อยที่สุด   ดังนั้น ทางชมรมอาสาสมัครสาธารณสุขตำบลจะกว๊ะ จึงได้เล็งเห็นถึงความสำคัญของปัญหา หากประชาชนได้รับการดูแลสุขภาพที่ดี จะเป็นผลดีต่อสุขภาพ แต่ปัจจัยสำคัญในการทำงานเชิงรุกคือ ทรายอะเบทและน้ำยา น้ำมันฉีดพ่นยุงตัวแก่ ซึ่งมีอย่างจำกัด จึงเป็นปัญหาและอุปสรรคในการทำงาน โครงการนี้จึ้งจัดทำขึ้นเพื่อสอดรับกับปัญหา ซึ่งสามารถลดอัตราป่่วยและการระบาดของโรคได้ ประกอบกับการตอบสนองนโยบายของรัฐบาลต่อไป

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. 1.เพื่อป้องกันและหยุดการระบาดของโรคไข้เลือดออกในช่วงฤดูกาลก่อนการระบาดของโรค ช่วงที่มีการระบาดและหลังการระบาดของโรคไข้เลือดออก 2.เพิ่มความครอบคลุมของการรณรงค์กำจัดลูกน้ำยุงลายในโรงเรียน ศาสนสถาน และชุมชน ลดความชุมชุมของลูกน้ำยุงลาย 3.เพื่อให้หน่วยงานที่เกี่ยวข้องทุกระดับทุกองค์กรในชุมชน และประชาชนทั่วไป ตระหนักถึงความสำคัญในการป้องกันและควบคุมโรคในชุมชน และให้ความร่วมมือสนับสนุนการดำเนินงานอย่างต่อเนื่องสม่ำเสมอ

กิจกรรม/การดำเนินงาน

    กลุ่มเป้าหมาย

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
    กลุ่มวัยทำงาน
    กลุ่มผู้สูงอายุ
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 630
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

    ผลที่คาดว่าจะได้รับ

    ประชาชนและหน่วยงานทุกภาคส่วนมีความตระหนักถึงอันตรายของโรคไข้เลือดออกและเข้ามามีส่วนร่วมรณรงค์ควบคุมป้องกันโรคไข้เลือดออกเพื่อลดความชุกชุมของลูกน้ำยุงลาย ในโรงเรียน และศาสนถานทุกแห่ง และลดอัตราป่วยด้วยโรคไข้เลือดออกในปี 2562


    ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

    วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
    ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
    กิจกรรมของโครงการ
    ผลผลิต*
    ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

    * ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
    ** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


    ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

    ผลการดำเนินโครงการ

    สรุปผลการดำเนินโครงการ

    ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
    บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
    บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
    ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

    การดำเนินโครงการชุมชนร่วมใจป้องกันภัยโรคไข้เลือดออกในพื้นที่ตำบลจะกว๊ะ จำนวนเป้าหมายทั้งหมด 630 คน มีผู้เข้าร่วมจำนวน 630 คน คิดเป็นร้อยละ 100 บรรลุเป้าหมายที่วางไว้

    ผลผลิตโครงการ

    วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
    1 1.เพื่อป้องกันและหยุดการระบาดของโรคไข้เลือดออกในช่วงฤดูกาลก่อนการระบาดของโรค ช่วงที่มีการระบาดและหลังการระบาดของโรคไข้เลือดออก 2.เพิ่มความครอบคลุมของการรณรงค์กำจัดลูกน้ำยุงลายในโรงเรียน ศาสนสถาน และชุมชน ลดความชุมชุมของลูกน้ำยุงลาย 3.เพื่อให้หน่วยงานที่เกี่ยวข้องทุกระดับทุกองค์กรในชุมชน และประชาชนทั่วไป ตระหนักถึงความสำคัญในการป้องกันและควบคุมโรคในชุมชน และให้ความร่วมมือสนับสนุนการดำเนินงานอย่างต่อเนื่องสม่ำเสมอ
    ตัวชี้วัด : ลดอัตราการป่วยด้วยโรคไข้เลือดออกของประชาชนชาวตำบลจะกว๊ะ
    1.00

     

    ผู้เข้าร่วมโครงการ

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 630
    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
    กลุ่มวัยทำงาน -
    กลุ่มผู้สูงอายุ -
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 630
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

    บทคัดย่อ*

    โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1.เพื่อป้องกันและหยุดการระบาดของโรคไข้เลือดออกในช่วงฤดูกาลก่อนการระบาดของโรค ช่วงที่มีการระบาดและหลังการระบาดของโรคไข้เลือดออก 2.เพิ่มความครอบคลุมของการรณรงค์กำจัดลูกน้ำยุงลายในโรงเรียน ศาสนสถาน และชุมชน ลดความชุมชุมของลูกน้ำยุงลาย 3.เพื่อให้หน่วยงานที่เกี่ยวข้องทุกระดับทุกองค์กรในชุมชน และประชาชนทั่วไป ตระหนักถึงความสำคัญในการป้องกันและควบคุมโรคในชุมชน และให้ความร่วมมือสนับสนุนการดำเนินงานอย่างต่อเนื่องสม่ำเสมอ

    ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่

    ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

    หมายเหตุ *

    • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
    • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

    ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

    ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

     

     

     


    โครงการชุมชนร่วมใจป้องกันภัยโรคไข้เลือดออก ตำบลจะกว๊ะ จังหวัด ยะลา

    รหัสโครงการ 62-L4157-2

    ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

    ................................
    ( นายแวยูโซะ หะตะมะ )
    ผู้รับผิดชอบโครงการ
    ......./............/.......

    vertical_align_topไปบนสุด