กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ตะโละแมะนา


“ โครงการชุมชนก้าวไกลไปกับงานคุ้มครองผู้บริโภค ”

ตำบลตะโละแมะนา อำเภอทุ่งยางแดง จังหวัดปัตตานี

หัวหน้าโครงการ
นางเจ๊ะเสาะสาแม

ชื่อโครงการ โครงการชุมชนก้าวไกลไปกับงานคุ้มครองผู้บริโภค

ที่อยู่ ตำบลตะโละแมะนา อำเภอทุ่งยางแดง จังหวัดปัตตานี จังหวัด ปัตตานี

รหัสโครงการ 60-2986-08 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 พฤษภาคม 2560 ถึง 25 กันยายน 2560


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการชุมชนก้าวไกลไปกับงานคุ้มครองผู้บริโภค จังหวัดปัตตานี" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลตะโละแมะนา อำเภอทุ่งยางแดง จังหวัดปัตตานี

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ตะโละแมะนา ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการชุมชนก้าวไกลไปกับงานคุ้มครองผู้บริโภค



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการชุมชนก้าวไกลไปกับงานคุ้มครองผู้บริโภค " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลตะโละแมะนา อำเภอทุ่งยางแดง จังหวัดปัตตานี รหัสโครงการ 60-2986-08 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 พฤษภาคม 2560 - 25 กันยายน 2560 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 18,800.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ตะโละแมะนา เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

ในปัจจุบบันจากสถิติการป่วยและเสียชีวิตของคนไทยพบว่าป่วยด้วยโรคที่เกิดจากพฤติกรรมสุขภาพเป็นอันดับต้นๆ เช่น โรคมะเร็งทุกชนิด โรคหัวใจขาดเลือด โรคเส้นเลือดในสมองอุดตันเป็นต้น ซึ่งสาเหตุหนึ่งจากการบริโภคอาหารที่ไม่ปลอดภัย อาหารเป็นหนึ่งในปัจจัยที่จำเป้นต่อการดำรงชีวิต การบริโภคอาหารที่ไม่สะอาดเป็นสาเหตุสำคัญของการเกิดโรคภัยไข้เจ็บ โดยมีเชื้อโรคและสารปนเปื้อนหลายชนิดที่เป็นอันตรายถึงชีวิต หลักสำคัญในการเลือกอาหารนอกเหนือจากรสชาติอาหารแล้ว สิ่งที่ต้องคำนึงและพิจารณาควบคู่ไปด้วย คือ คุณค่าตามหลักโภชนาการ คุณภาพ ความสะอาดและปราศจากสารปนเปื้อน การคุ้มครองผู้บริโภคด้านสาธารณสุข เป็นงานที่เกี่ยวข้องโดยตรงกับประชาชน และต่อสภาวะเศรษฐกิจและสังคมของประเทศ มีความครอบคลุมในเรื่องของความปลอดภัย คุณภาพมาตรฐาน การปะกอบธุรกิจและการโฆษณาเกี่ยวกับผลิตภัณฑ์ต่างๆ โดยในปัจจุบันพบการปนเปื้อนของอาหารจากสารที่ก่อให้เกิดอันตรายแก่ผู้บริโภคในหลายพื้นที่ของประเทศ ซึ่งเป็นปัญหาสำหรับการคุ้มครองผู้บริโภค โดยสารปนเปื้อนในอาหารที่พบมากคือ สารบอแรกซ์ สารฟอกขาว และน้ำยาดองศพ ซึ่งปนเปื้อนกับอาหารที่ผู้บริโภคโดยส่วนใหญ่นิยมรับประทาน ทั้งนี้ผู้จำหน่ายบางรายอาจไม่ทราบถึงผลิตภัณฑ์ที่ตนเองจำหน่ายว่ามีการปนเปื้อนสารเหล่านี้อยู่ หรือบางรายอาจทราบแต่ยังไม่ตระหนักถึงความปลอดภัยของผู้บริโภค ซึ่งหากทราบถึงปัญหา จะได้มีการดำเนินการแก้ไขและทำการเฝ้าระวังผลิตภัณฑ์ที่เสี่ยงต่อการใส่สารดังกล่าวให้ผู้บริโภคได้รับความปลอดภัย ผู้ผลิตและผู้จำหน่ายมีความตระหนักถึงความปลอดภัยของผู้บริโภคให้มากขึ้น ตำบลตะโละแมะนา มีร้านอาหาร จำนวน 14 ร้าน ร้านขายของชำ จำนวน 23 ร้าน และแผงลอย จำนวน 12 แผง ซึ่งนับว่ามากพอสมควร ถ้าเราปล่อยปะละเลย ไม่ให้ความสำคัญ ไม่มีการควบคุมคุณภาพ ผู้บริโภคอาจได้รับอันตรายจากการบริโภคผลิตภัณฑ์จากร้านค้า ร้านอาหารเหล่านี้ได้ ชมรมอาสาสมัครสาธารณสุข เล็งเห็งถึงความสำคญในส่วนนี้ จึงได้จัดทำโครงการชุมชนก้าวไกลไปกับงานคุ้มครองผู้บริโภคอาหารปลอดภัยขึ้นในปี งบประมาณ 2560 เพื่อให้มีการทราบถึงปัญหาที่พบและเพื่อดำเนินการแก้ไขปัญหาให้สอดคล้องกับท้องถิ่น รวมถึงการประชาสัมพันธ์ให้ประชาชนได้ทราบถึงอันตรายที่เกิดจากการใส่สารปนเปื้อน ดังกล่าวต่อไปนี้

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. 1.1 เพื่อเพิ่มพูนองค์ความรู้และเพิ่มศักยภาพของผู้ประกอบการและผู้บริโภคให้ตระหนักและเฝ้าระวังตนเองจากการบริโภคอาหารที่ไม่เหมาะสม 1.2 เพื่อเป็นการเฝ้าระวังและตรวจสอบคุณภาพความปลอดภัยของอาหารและร้านจำหน่ายอาหารภายในชุมชน 1.3 เพื่อสร้างภาคีเครือข่ายและความเข้มแข็งให้กับผู้บริโภค

กิจกรรม/การดำเนินงาน

    กลุ่มเป้าหมาย

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
    กลุ่มวัยทำงาน
    กลุ่มผู้สูงอายุ
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 90
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

    ผลที่คาดว่าจะได้รับ

    ผู้บริโภคทั้งภายในตำบลตะโละแมะนาและภายนอกได้รับความปลอดภัย ส่งผลให้ประชาชนในตำบลตะโละแมะนาได้รับความคุ้มครองความปลอดภัยในการบริโภคอาหารอย่างครอบคลุมมากขึ้น


    ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

    วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
    ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
    กิจกรรมของโครงการ
    ผลผลิต*
    ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

    * ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
    ** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


    ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

    ผลการดำเนินโครงการ

    สรุปผลการดำเนินโครงการ

    ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
    บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
    บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
    ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

              - ประชาชนให้ความสนใจเข้าร่วมโครงการเกินเป้าหมายที่กำหนด โดยมีผู้เข้าร่วมโครงการตามกลุ่มเป้าหมาย ดังนี้               1. ผู้ประกอบการร้านอาหาร เข้าร่วม จำนวน 14 คน               2. ผุ้ประกอบการร้านขายของชำ จำนวน  23 คน               3. ผู้ประกอบการแผงลอย  จำนวน 40 คน
                  4. แกนนำสร้างสุขภาพ จำนวน 40 คน               5. ประชาชนที่สนใจ  จำนวนน  12 คน         - ผลการประเมินโครงการหลังการดำเนินงานโดยรวมเฉลี่ยทุกด้านอยู่ในระดับ มาก และมีคะแนนเฉลี่ยในแต่ละด้าน ดังนี้ คือ             1. การประชาสัมพันธ์กิจกรรม/โครงการ อยู่ในระดับ มาก             2. รูปแบบการจัดกิจกรรมมีความเหมาะสม อยู่ในระดับ มาก             3. สิ่งอำนวยความสะดวกมีความเหมาะสม อยู่ในระดับ ปานกลาง             4. เวลาที่ใช้ในการจัดกิจกรรมมีความเหมาะสม อยู่ในระดับ มาก
                5. สถานที่จัดมีความเหมาะสม อยู่ในระดับ ปานกลาง             6. อาหารและเครื่องดื่ม อยู่ในระดับ มาก             7. ผู้เข้าร่วมโครงการได้รับความรู้ อยู่ในระดับ มาก             8. ความพึงพอใจโดยรวมในการเข้าร่วมโครงการนี้ อยู่ในระดับ มาก                         ข้อเสนอแนะเพื่อการดำเนินงานในครั้งต่อไป                         - ควรมีการจัดเตรียมอาหารว่างและเครื่องดื่ม ไว้ให้มากกว่ากลุ่มดป้าหมาย เนื่องจากมีผู้เข้าร่วมที่สนใจมาอบรมเกินเป้าหมายที่วางไว้

    ผลผลิตโครงการ

    วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
    1 1.1 เพื่อเพิ่มพูนองค์ความรู้และเพิ่มศักยภาพของผู้ประกอบการและผู้บริโภคให้ตระหนักและเฝ้าระวังตนเองจากการบริโภคอาหารที่ไม่เหมาะสม 1.2 เพื่อเป็นการเฝ้าระวังและตรวจสอบคุณภาพความปลอดภัยของอาหารและร้านจำหน่ายอาหารภายในชุมชน 1.3 เพื่อสร้างภาคีเครือข่ายและความเข้มแข็งให้กับผู้บริโภค
    ตัวชี้วัด : 1. ผู้ประกอบการร้านค้า ร้านอาหารและแผงลอย เข้าร่วมกิจกรรม ร้อยละ 80 2. ผู้ประกอบการร้านค้า ร้านอาหารและแผงลอยมีความรู้เพิ่มขึ้น ร้อยละ 90 3. ร้านอาหารผ่านเกณฑ์มาตรฐาน ร้อยละ 100
    1.00

     

    ผู้เข้าร่วมโครงการ

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 90
    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
    กลุ่มวัยทำงาน -
    กลุ่มผู้สูงอายุ -
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 90
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

    บทคัดย่อ*

    โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1)    1.1 เพื่อเพิ่มพูนองค์ความรู้และเพิ่มศักยภาพของผู้ประกอบการและผู้บริโภคให้ตระหนักและเฝ้าระวังตนเองจากการบริโภคอาหารที่ไม่เหมาะสม    1.2 เพื่อเป็นการเฝ้าระวังและตรวจสอบคุณภาพความปลอดภัยของอาหารและร้านจำหน่ายอาหารภายในชุมชน  1.3 เพื่อสร้างภาคีเครือข่ายและความเข้มแข็งให้กับผู้บริโภค

    ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่

    ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

    หมายเหตุ *

    • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
    • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

    ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

    ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

     

     

     


    โครงการชุมชนก้าวไกลไปกับงานคุ้มครองผู้บริโภค จังหวัด ปัตตานี

    รหัสโครงการ 60-2986-08

    ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

    ................................
    ( นางเจ๊ะเสาะสาแม )
    ผู้รับผิดชอบโครงการ
    ......./............/.......

    vertical_align_topไปบนสุด