กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.สาวอ


“ โครงการหนูน้อยสุขภาพดี ”

ตำบลสาวอ อำเภอรือเสาะ จังหวัดนราธิวาส

หัวหน้าโครงการ
นางสุรียานามาหามะ

ชื่อโครงการ โครงการหนูน้อยสุขภาพดี

ที่อยู่ ตำบลสาวอ อำเภอรือเสาะ จังหวัดนราธิวาส จังหวัด นราธิวาส

รหัสโครงการ 60-L2516-1-04 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 มีนาคม 2560 ถึง 30 กันยายน 2560


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการหนูน้อยสุขภาพดี จังหวัดนราธิวาส" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลสาวอ อำเภอรือเสาะ จังหวัดนราธิวาส

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.สาวอ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการหนูน้อยสุขภาพดี



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการหนูน้อยสุขภาพดี " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลสาวอ อำเภอรือเสาะ จังหวัดนราธิวาส รหัสโครงการ 60-L2516-1-04 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 มีนาคม 2560 - 30 กันยายน 2560 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 21,500.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.สาวอ เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

การได้รับบริการสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรคเป็นสิทธิขั้นพื้นฐานของเด็ก เด็กทุกคนในประเทศไทยควรได้รับวัคซีนพื้นฐาน ครบทุกชนิดตามกำหนดของกระทรวงสาธารณสุข ซึ่งหากเด็กกลุ่มวัยดังกล่าวมีอัตราป่วยและตายด้วยโรคที่สามารถป้องกันได้ด้วยวัคซีนแล้ว หมู่บ้าน ชุมชนและประเทศชาติจะพัฒนาไปได้อย่างไรในอนาคต ฉะนั้นการเร่งรัดติดตามให้ประชากรกลุ่มเป้าหมายทุกคนได้รับการฉีดให้ครอบคลุมตามแผนที่วางไว้จึงเป็นสิ่งสำคัญที่จะต้องดำเนินการซึ่งการบริการสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรค จะต้องให้บริการประชาชนด้วยความสะดวก และปลอดภัย งานสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรค ต้องดำเนินการให้ครอบคลุมประชากรเป้าหมายในระดับสูงที่สุดและมีความต่อเนื่องเพื่อป้องกันประชาชนให้ห่างไกลจากโรคที่ป้องกันได้ด้วยวัคซีน จากการดำเนินงานสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรคของโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลสาวออำเภอรือเสาะ จังหวัดนราธิวาส ในรอบปีที่ผ่านมาปรากฏว่า ความครอบคลุมของเด็กอายุครบ 5 ปี ที่มารับบริการฉีดวัคซีน ร้อยละ 66.66 ซึ่งต่ำกว่ามาตรฐานที่กำหนดคือ ร้อยละ ๙๐.๐๐จึงจำเป็นต้องดำเนินการเร่งรัด ติดตาม ค้นหาเด็กตามกลุ่มเป้าหมายให้มารับการฉีดวัคซีนทุกคนเพื่อการป้องกันโรคที่อาจจะเกิดขึ้นกับประชากรกลุ่มเป้าหมายในอนาคตต่อไป

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. 1 เพื่อให้เด็กกลุ่มเป้าหมายได้รับวัคซีนครบชุดตามเกณฑ์ ร้อยละ 90
  2. 2 เพื่อไม่ให้เกิดโรคที่สามารถป้องกันได้ด้วยวัคซีน

กิจกรรม/การดำเนินงาน

    กลุ่มเป้าหมาย

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน 100
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
    กลุ่มวัยทำงาน
    กลุ่มผู้สูงอายุ
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

    ผลที่คาดว่าจะได้รับ

    1 ความครอบคลุมของการได้รับวัคซีนขั้นพื้นฐานในเด็ก 0-5 ปี ไม่น้อยกว่าร้อยละ 90 2 ผู้ปกครองมีความตระหนักในการพาเด็กมารับบริการฉีดวัคซีน 3 เพื่อให้หนูน้อยมีสุขภาพไม่เกิดโรคที่สามารถป้องกันด้วยวัคซีน


    ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

    วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
    ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
    กิจกรรมของโครงการ
    ผลผลิต*
    ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

    1. จัดประชุมอบรมให้ความรู้แก่ผู้ปกครองเด็กกลุ่มเป้าหมาย

    วันที่ 14 มิถุนายน 2560 เวลา 08:30 น.

    กิจกรรมที่ทำ

     

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    โครงการหนูน้อยสุขภาพดี ได้จัดขึ้นเมื่อวันที่ 14 - 17 มิถุนายน 2560 ณ ห้องประชุมโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลสาวอ เพื่อให้เด็กกลุ่มเป้าหมายได้รับวัคซีนครบชุดตามเกณฑ์ ร้อยละ 90 และเพื่อป้องกันเด็กอายุ 0-5 ปี ไม่ให้เกิดโรคที่สามารถป้องกันได้ด้วยวัคซีน

     

    50 50

    2. จัดทำป้ายประชาสัมพันธ์โครงการ

    วันที่ 14 มิถุนายน 2560 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

     

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    โครงการหนูน้อยสุขภาพดี ได้จัดขึ้นเมื่อวันที่ 14 - 17 มิถุนายน 2560 ณ ห้องประชุมโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลสาวอ เพื่อให้เด็กกลุ่มเป้าหมายได้รับวัคซีนครบชุดตามเกณฑ์ ร้อยละ 90 และเพื่อป้องกันเด็กอายุ 0-5 ปี ไม่ให้เกิดโรคที่สามารถป้องกันได้ด้วยวัคซีน

     

    0 0

    3. จัดประชุมให้ความรู้แก่ผู้นำศาสนา ผู้นำชุมชนและอาสาสมัครสาธารณสุข

    วันที่ 16 มิถุนายน 2560 เวลา 08:30 น.

    กิจกรรมที่ทำ

     

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    โครงการหนูน้อยสุขภาพดี ได้จัดขึ้นเมื่อวันที่ 14 - 17 มิถุนายน 2560 ณ ห้องประชุมโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลสาวอ เพื่อให้เด็กกลุ่มเป้าหมายได้รับวัคซีนครบชุดตามเกณฑ์ ร้อยละ 90 และเพื่อป้องกันเด็กอายุ 0-5 ปี ไม่ให้เกิดโรคที่สามารถป้องกันได้ด้วยวัคซีน

     

    50 50

    * ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
    ** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


    ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

    ผลการดำเนินโครงการ

    สรุปผลการดำเนินโครงการ

    ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
    บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
    บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
    ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

    โครงการหนูน้อยสุขภาพดี โครงการหนูน้อยสุขภาพดี  ดำเนินโครงการ/กิจกรรม โดยโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลสาวอ มีการจัดกิจกรรมร่วมกันเมื่อวันที่ ๑๔ – ๑๗ มิถุนายน ๒๕๖๐ ณ.ห้องประชุมโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลสาวอเพื่อให้เด็กกลุ่มเป้าหมายได้รับวัคซีนครบชุดตามเกณฑ์ ร้อยละ 90 และเพื่อป้องกันเด็กอายุ ๐ – ๕ ปี  ไม่ให้เกิดโรคที่สามารถป้องกันได้ด้วยวัคซีน สรุปผลการดำเนินโครงการโครงการหนูน้อยสุขภาพดี    ก่อนดำเนินโครงการ/กิจกรรมพบว่า ความครอบคลุมของเด็กอายุครบ 5 ปี ที่มารับบริการฉีดวัคซีนในปีงบประมาณ ๒๕๕๙ (ตุลาคม ๒๕๕๘ – กันยายน ๒๕๕๙) ร้อยละ 66.66 ซึ่งต่ำกว่ามาตรฐานที่กำหนดคือ ร้อยละ ๙๐.๐๐ เนื่องจากผู้ปกครองมีความตระหนักในการพาเด็กมารับบริการฉีดวัคซีนค่อนข้างน้อย ไม่สะดวกในการนำบุตรมาฉีดวัคซีนตามนัด ลูกไม่สบายจากการนำบุตรมาฉีดวัคซีน ฟังคำบอกเล่าต่อๆกันมาว่า วัคซีนไม่ฮาลาล        มีความคิดเห็นที่ไม่ตรงกันกับผู้ใหญ่ในครอบครัว ด้วยเหตุผลต่างๆมากมาย จึงไม่ยินยอมนำมาบุตรมาฉีดวัคซีน  ทำให้หนูน้อยขาดโอกาสที่สมควรจะได้รับ ช่วงดำเนินโครงการได้มีการประชุมชี้แจงเจ้าหน้าที่และอาสาสมัครสาธารณสุขสำรวจข้อมูลกลุ่มเป้าหมายและจัดทำทะเบียนในการติดตามฉีดวัคซีนตามนัด พร้อมนัดกลุ่มเป้าหมายผู้ปกครองเด็กอายุ ๐-๕ ปี ให้เข้ารับการอบรมและปรับความเข้าใจด้านข้อมูล ข่าวสาร เกี่ยวกับ วัคซีนในเด็ก หลังดำเนินโครงการ พบว่า มีผู้ปกครองที่ไม่ยินยอมนำบุตรมาฉีดวัคซีน ได้ทยอยนำเด็กมารับวัคซีนเพิ่มขึ้น จากผลการดำเนินงานพบว่า เด็กอายุครบ ๑ ปี ตั้งแต่ ตุลาคม ๒๕๕๙ ถึง มิถุนายน ๒๕๖๐ จำนวน ๒๓ คน มารับบริการฉีดวัคซีน จำนวน ๑๗ คน คิดเป็นร้อยละ ๗๓.๙๑ อายุครบ ๒ ปี ตั้งแต่ ตุลาคม ๒๕๕๙ ถึง มิถุนายน ๒๕๖๐ จำนวน ๑๙ คน มารับบริการฉีดวัคซีน จำนวน ๑๖ คน คิดเป็นร้อยละ ๘๔.๒๑ อายุครบ ๓ ปี ตั้งแต่ ตุลาคม ๒๕๕๙ ถึง มิถุนายน ๒๕๖๐ จำนวน ๒๔ คน มารับบริการฉีดวัคซีน จำนวน ๑๔ คน คิดเป็นร้อยละ ๕๘.๓๓ อายุครบ ๕ ปี ตั้งแต่ ตุลาคม ๒๕๕๙ ถึง มิถุนายน ๒๕๖๐ จำนวน ๑๘ คน มารับบริการฉีดวัคซีน จำนวน ๖ คน คิดเป็นร้อยละ ๓๓.๓๓ ความครอบคลุมของเด็กอายุครบ๐- ๕ ปี ตั้งแต่ ตุลาคม ๒๕๕๙ ถึง มิถุนายน ๒๕๖๐ จำนวน ๘๔ คน มารับบริการฉีดวัคซีน จำนวน ๕๓ คน คิดเป็นร้อยละ ๖๓.๐๙ ซึ่งความครอบคลุมของการได้รับวัคซีนมีแนวโน้มเพิ่มขึ้น จากข้อมูลจะเห็นได้ว่า อายุเด็กยิ่งเพิ่ม ร้อยละของการได้รับวัคซีนยิ่งลดลง  ภาคีเครือข่าย อาสาสมัครสาธารณสุข ผู้ปกครองเด็ก ๐- ๕ ปี ร่วมกับเจ้าหน้าที่สาธารณสุขควรร่วมมือกัน ในการติดตามการมารับวัคซีนในเด็ก ๐- ๕ ปี ในไตรมาสสุดท้าย คือกรกฎาคม ๒๕๖๐ – กันยายน ๒๕๖๐ ให้มีการดำเนินงานการติดตามและเร่งรัดความครอบคลุมของการฉีดวัคซีนให้ได้ตามเกณฑ์ ร้อยละ ๙๐
    ข้อเสนอแนะ การดำเนินงานความครอบคลุมการฉีดวัคซีน และการดูแลสุขภาพเด็กอายุ ๐- ๕ ปี เป็นหน้าที่และภาระงานของทุกภาคส่วน หนูน้อยจะมีสุขภาพร่างกายที่ดีได้ ขึ้นอยู่กับผู้ใหญ่ในวันนี้ ว่าจะสร้างภูมิคุ้มกันที่ดีให้แก่ลูกหลานในชุมชนของตนเองในรูปแบบใด ดังนั้นหากทุกคนตระหนักและหยิบยื่นโอกาสและสิ่งดีๆให้เด็กได้ย่อมส่งผลให้หนูน้อยมีสุขภาพกายและใจดี พร้อมที่จะพัฒนาประเทศชาติได้อย่างงดงามต่อไป
    โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลสาวอ ผู้รับผิดชอบโครงการ

    ผลผลิตโครงการ

    วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
    1 1 เพื่อให้เด็กกลุ่มเป้าหมายได้รับวัคซีนครบชุดตามเกณฑ์ ร้อยละ 90
    ตัวชี้วัด :

     

    2 2 เพื่อไม่ให้เกิดโรคที่สามารถป้องกันได้ด้วยวัคซีน
    ตัวชี้วัด :

     

    ผู้เข้าร่วมโครงการ

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 100
    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน 100
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
    กลุ่มวัยทำงาน -
    กลุ่มผู้สูงอายุ -
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

    บทคัดย่อ*

    โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1 เพื่อให้เด็กกลุ่มเป้าหมายได้รับวัคซีนครบชุดตามเกณฑ์ ร้อยละ 90 (2) 2 เพื่อไม่ให้เกิดโรคที่สามารถป้องกันได้ด้วยวัคซีน

    ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่

    ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

    หมายเหตุ *

    • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
    • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

    ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

    ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

     

     

     


    โครงการหนูน้อยสุขภาพดี จังหวัด นราธิวาส

    รหัสโครงการ 60-L2516-1-04

    ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

    ................................
    ( นางสุรียานามาหามะ )
    ผู้รับผิดชอบโครงการ
    ......./............/.......

    vertical_align_topไปบนสุด