โครงการดูแลสุขภาพชาวสาวอห่างไกลโรคเรื้อรัง
แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์
รายงานฉบับสมบูรณ์
โครงการ
“ โครงการดูแลสุขภาพชาวสาวอห่างไกลโรคเรื้อรัง ”
ตำบลสาวอ อำเภอรือเสาะ จังหวัดนราธิวาส
หัวหน้าโครงการ
นางวารือดะห์กาเจ
ได้รับการสนับสนุนโดย กองทุนสุขภาพตำบล อบต.สาวอ
กันยายน 2560
ชื่อโครงการ โครงการดูแลสุขภาพชาวสาวอห่างไกลโรคเรื้อรัง
ที่อยู่ ตำบลสาวอ อำเภอรือเสาะ จังหวัดนราธิวาส จังหวัด นราธิวาส
รหัสโครงการ 60-L2516-1-06 เลขที่ข้อตกลง
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 มีนาคม 2560 ถึง 30 กันยายน 2560
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการดูแลสุขภาพชาวสาวอห่างไกลโรคเรื้อรัง จังหวัดนราธิวาส" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลสาวอ อำเภอรือเสาะ จังหวัดนราธิวาส
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.สาวอ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการดูแลสุขภาพชาวสาวอห่างไกลโรคเรื้อรัง
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการดูแลสุขภาพชาวสาวอห่างไกลโรคเรื้อรัง " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลสาวอ อำเภอรือเสาะ จังหวัดนราธิวาส รหัสโครงการ 60-L2516-1-06 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 มีนาคม 2560 - 30 กันยายน 2560 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 21,300.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.สาวอ เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ »
บทคัดย่อ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล »
วัตถุประสงค์โครงการ »
กิจกรรม/การดำเนินงาน »
กลุ่มเป้าหมาย »
ผลลัพธ์ที่ได้ »
การประเมินผล »
ปัญหาและอุปสรรค »
ข้อเสนอแนะ »
เอกสารประกอบอื่นๆ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
ปัจจุบันประเทศไทยได้เปลี่ยนแปลงไปอย่างรวดเร็ว ซึ่งมีผลกระทบมาจากกระแสการเปลี่ยนแปลงของสังคมโลกและการเปลี่ยนแปลงของประเทศไทยทั้งทางด้านการเมือง เศรษฐกิจ การแข่งขันทางการตลาด การสื่อสารและการคมนาคม รวมถึงการใช้เทคโนโลยีมากขึ้น ซึ่งการเปลี่ยนแปลงดังกล่าวมีผลกระทบต่อวิถีชีวิตและสุขภาพของประชาชนไทยเป็นอย่างมาก จะเห็นได้จากในอดีตปัญหาสุขภาพของประชาชนส่วนใหญ่เจ็บป่วยด้วยโรคติดเชื้อ แต่ในปัจจุบัน และในอนาคต ปัญหาสุขภาพจะมีผลกระทบมาจากสังคม สิ่งแวดล้อม และพฤติกรรมมากขึ้นตามลำดับ จะเห็นได้จากพฤติกรรมที่เป็นปัญหา เช่น พฤติกรรมการบริโภค พฤติกรรมการออกกำลังกาย พฤติกรรมความปลอดภัย การใช้ยาและสารเสพติด ปัญหาสุขภาพจิต เป็นต้น ดังนั้น การดำเนินการในการแก้ไขปัญหาสาธารณสุขของประเทศ จำเป็นจะต้องพัฒนาประชาชนให้มีองค์ความรู้ และทักษะที่จำเป็น และพัฒนาพฤติกรรมสุขภาพให้เหมาะสม ทั้งระดับบุคคลครอบครัว และชุมชนครอบคลุม กลุ่มประชากรเป้าหมาย เพื่อให้ประชาชนสามารถส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคให้แก่ตนเอง ครอบครัว และชุมชนได้ ซึ่งการดำเนินงานดังกล่าวจำเป็นจะต้องส่งเสริมพัฒนาพฤติกรรมสุขภาพที่สำคัญๆ ที่ก่อให้เกิดปัญหาสาธารณสุขของประเทศ นโยบายสร้างหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้า ช่วยคนไทยห่างไกลโรค มีเป้าหมายที่สำคัญ คือ การสร้างสุขภาพที่ดีให้กับประชาชน และลดปัญหาค่าใช้จ่ายด้านสุขภาพในระยะยาว โดยใช้กระบวนการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรค ซึ่งเป็นหัวใจสำคัญของการขับเคลื่อนให้การดำเนินงานช่วยคนไทยห่างไกลโรคให้บรรลุผลสำเร็จ โดยการส่งเสริมให้มีความรู้ และทักษะในการดูแลตนเอง และการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ โดยใช้หลัก ๓อ.๒ส. เป็นหลัก เพื่อให้มีสุขภาวะในทุกด้าน หลังการตรวจคัดกรองความเสี่ยงเพื่อ ค้นหาโรคในระยะเริ่มต้น
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- ๑. อาสาสมัครสาธารณสุขมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับการตรวจคัดกรองความดัน/เบาหวานสามารถค้นหาและคัดกรองกลุ่มเสี่ยงในเขตรับผิดชอบของตนเองได้ ร้อยละ ๙๐
- ๒. อาสาสมัครสาธารณสุขสามารถดูแล ติดตามกลุ่มปกติ กลุ่มเสี่ยงและกลุ่มผู้ป่วยและรายงานผลให้เจ้าหน้าที่รับผิดชอบงาน ได้ร้อยละ ๙๐
- 3. เพื่อให้กลุ่มเสี่ยงได้รับการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพที่ถูกต้อง
- 4. เพื่อให้กลุ่มผู้ป่วยได้รับการดูแลที่ถูกต้องและไม่มีภาวะแทรกซ้อน
กิจกรรม/การดำเนินงาน
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
128
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
๑.ประชาชนอายุ ๓๕ ปีขึ้นไปได้รับการตรวจคัดกรองโรคความดันโลหิตสูงและโรคเบาหวานมากกว่า
ร้อยละ ๙๐.๐๐
๒.ผู้ที่มีภาวะเสี่ยงต่อโรคความดันโลหิตสูงป่วยเป็นโรคไม่เกินร้อยละ ๑๐
๓.ผู้ที่มีภาวะเสี่ยงต่อโรคเบาหวานป่วยเป็นโรคไม่เกินร้อยละ ๕
๔.อัตราการเกิดโรคความดันโลหิตสูงรายใหม่ไม่เกิน ร้อยละ ๘
๕.อัตราการเกิดโรคเบาหวานรายใหม่ไม่เกิน ร้อยละ ๔
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ ผลผลิต* ผลผลิตที่ตั้งไว้ ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง
1. จัดประชุมอบรมให้ควมรู้ อสม. , กลุ่มเสี่ยงโรคความดันโลหิตสูงและโรคเบาหวาน , กลุ่มผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูงและโรคเบาหวาน
วันที่ 18 มิถุนายน 2560 เวลา 08:30 น.กิจกรรมที่ทำ
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
หลังจากได้มีการประชุมอาสาสมัครสาธารณสุขเกี่ยวกับวิธีการตรวจสอบ ค้นหากลุ่มเสี่ยง ทำให้ประชาชนในพื้นที่ที่กลุ่มอายุ 35 ปี ขึ้นไป จำนวน 650 คน ได้รับการคัดกรองโรคความดันโลหิตสูง จำนวน 641 คิดเป็นร้อยละ 98.51 ประชาชนในพื้นที่หันมาให้ความสนใจกับโรคเรื้อรังมากขึ้น
128
38
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
โครงบทสรุป
โครงการดูแลสุขภาพชาวสาวอห่างจากโรคเรื้อรัง
โครงการดูแลสุขภาพชาวสาวอห่างจากโรคเรื้อรัง ดำเนินโครงการ/กิจกรรม โดยโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลสาวอ มีการจัดกิจกรรมร่วมกันเมื่อวันที่ ๑๘ – ๒๓ มิถุนายน ๒๕๖๐ ณ.ห้องประชุมโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลสาวอ เพื่อให้อาสาสมัครสาธารณสุขมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับการตรวจคัดกรองความดัน/เบาหวาน สามารถค้นหาและคัดกรองกลุ่มเสี่ยง กลุ่มปกติ กลุ่มผู้ป่วยได้ ร้อยละ ๙๐ และเพื่อให้กลุ่มเสี่ยงได้รับการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ ป้องกันตนเองให้ห่างไกลจากโรคเรื้อรัง กลุ่มผู้ป่วยได้รับการดูแลที่ถูกต้องและป้องกันตนเองไม่ให้มีภาวะแทรกซ้อนจากโรคอื่นๆ และได้รับการส่งต่อผู้ป่วยร้อยละ ๑๐๐
สรุปผลการดำเนินโครงการดูแลสุขภาพชาวสาวอห่างจากโรคเรื้อรัง ก่อนดำเนินโครงการพบว่า ประชาชนอายุ ๓๕ ปีขึ้นไป เข้าถึงบริการสาธารณสุข ไม่ครอบคลุม ด้วยอัตรากำลังเจ้าหน้าที่ไม่เพียงพอกับภาระงาน ประกอบกับการประชาสัมพันธ์เกี่ยวกับการดูแลโรคเรื้อรังไม่ทั่วถึงทำให้ประชาชนได้รับในการดูแลคัดกรองโรคเรื้อรังไม่ครอบคลุมร้อยละ ๙๐ ประกอบกับเศรษฐกิจและสังคมของชุมชนมีการเปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็ว มีการแข่งขันสร้างความมั่นคงให้แก่ครอบครัว การเร่งรีบกับการทำงาน บริโภคอาหารโดยไม่ได้คำนึงถึงคุณค่าทางโภชนาการ มีการเคลื่อนไหวร่างกายน้อยลง ภาวะเครียด ทำให้มีโอกาสเสี่ยงต่อการเจ็บป่วยด้วยโรคเรื้อรังเพิ่มขึ้น ซึ่งในพื้นที่พบผู้ป่วยเบาหวาน ถูกตัดขาจากการดูแลบาดแผลไม่ถูกวิธี ทำให้ผู้ป่วยสูญเสียโอกาสและกระทบต่อสุขภาพจิตใจและความเป็นอยู่ ซึ่งเป็นปัญหาสำคัญทางด้านสาธารณสุข ก่อนดำเนินงาน ประชาชนอายุ ๓๕ ปีขึ้นไป จำนวน ๖๕๐ คน ได้รับการคัดกรองโรคความดันโลหิตสูง จำนวน ๕๗๕ คิดเป็นร้อยละ ๘๘.๔๖ พบกลุ่มปกติ ๓๔๗ คน คิดเป็นร้อยละ ๖๐.๓๔ กลุ่มเสี่ยง ๒๐๑ คน ร้อยละ ๓๔.๙๕ กลุ่มป่วย ๒๗ คน ร้อยละ ๔.๖๙ และจำนวนประชาชนอายุ ๓๕ ปีขึ้นไป จำนวน ๖๕๐ ได้รับการคัดกรองโรคเบาหวาน จำนวน ๕๗๕ คน ร้อยละ ๘๘.๔๖ พบกลุ่มปกติ ๕๐๒ ร้อยละ ๘๗.๓๐ กลุ่มเสี่ยง จำนวน ๗๐ คน ร้อยละ ๑๒.๖๙ ช่วงดำเนินโครงการได้มีการจัดประชุมเชิงปฏิบัติการโดยฟื้นฟูความรู้และฝึกทักษะการตรวจวัดความดันโลหิตสูง และวิธีการเจาะเลือดที่ปลายนิ้วเพื่อคัดกรองโรคเบาหวานให้แก่ อสม.และแยกกลุ่มเป้าหมายอายุ ๓๕ ปีขึ้นไป แยกรายหมู่บ้านจำนวน ๔ หมู่บ้าน เพื่อติดตามคัดกรองโรคความดันโลหิตสูงและโรคเบาหวานจนค้นหากลุ่มเสี่ยง กลุ่มป่วย และส่งต่อหน่วยบริการได้เร็วขึ้น มีการประชาประชาสัมพันธ์โครงการได้มากขึ้น ทำให้ประชาชนให้ความสนใจสุขภาพและปรับเปลี่ยนพฤติกรรมของตนเองและครอบครัว คือประชาชนอายุ๓๕ ปีขึ้นไป จำนวน ๖๕๐ คน ได้รับการคัดกรองโรคความดันโลหิตสูง จำนวน ๖๔๑ คิดเป็นร้อยละ ๙๘.๕๑ พบกลุ่มปกติเพิ่มขึ้น ๔๗๖ คน คิดเป็นร้อยละ ๗๓.๒๓ กลุ่มเสี่ยง ๑๔๖ คน ร้อยละ ๒๒.๔๖ กลุ่มป่วย ๑๘ คน ร้อยละ ๒.๗๖ และจำนวนประชาชนอายุ ๓๕ ปีขึ้นไป จำนวน ๖๕๐ ได้รับการคัดกรองโรคเบาหวาน จำนวน ๖๔๑ คน ร้อยละ ๙๘.๕๑ พบกลุ่มปกติ ๖๓๙ ร้อยละ ๙๙.๖๘ กลุ่มเสี่ยง จำนวน ๒ คน ร้อยละ ๐.๓๒ จะเห็นว่ามีการคัดกรองโรคเรื้อรังเพิ่มขึ้น การควบคุมผู้ป่วยที่มีภาวะเสี่ยงต่อโรคความดันโลหิตสูง/ป่วยเป็นโรค ยังเกินร้อยละ ๑๐ ซึ่งยังไม่ผ่านเกณฑ์ที่กำหนด จากการจัดทำโครงการมีผู้ป่วยรายใหม่ที่ยังไม่ได้ขึ้นทะเบียนในเขตรับผิดชอบ ที่รับยาจากสถานบริการอื่นๆ เช่น คลินิก รพ.เอกชน ผู้ป่วยไม่ได้รับการคืนข้อมูลจำนวน ๘ คน ซึ่งเป็นปัญหาที่ทางโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลสาวอร่วมกับแม่ข่าย ต้องร่วมค้นหาผู้ป่วยในพื้นที่เพื่อการดูแลและติดตามผู้ป่วยให้ได้รับการรักษาอย่างต่อเนื่อง
ข้อเสนอแนะ ในการทำโครงการครั้งต่อไปควรมีการจัดกิจกรรมคัดกรองและประชาสัมพันธ์โรคเรื้อรังในพื้นที่อย่างต่อเนื่อง โดยทำงานร่วมกับภาคีเครือข่ายและผู้นำชุมชนอย่างจริงจัง เพื่อลดภาวะเสี่ยงที่จะเกิดผลกระทบกับคนในพื้นที่ ก่อนที่โรคภัยจะคุกคามจนทำให้คนในพื้นที่สูญเสียกำลังสำคัญของชาติและคนในชุมชนต่อไป
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลสาวอ
ผู้รับผิดชอบโครงการ
การดูแลสุขภาพชาวสาวอห่างไกลจากโรคเรื้อรัง
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ สถานการณ์ เป้าหมาย ผลผลิต อธิบาย
1
๑. อาสาสมัครสาธารณสุขมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับการตรวจคัดกรองความดัน/เบาหวานสามารถค้นหาและคัดกรองกลุ่มเสี่ยงในเขตรับผิดชอบของตนเองได้ ร้อยละ ๙๐
ตัวชี้วัด :
2
๒. อาสาสมัครสาธารณสุขสามารถดูแล ติดตามกลุ่มปกติ กลุ่มเสี่ยงและกลุ่มผู้ป่วยและรายงานผลให้เจ้าหน้าที่รับผิดชอบงาน ได้ร้อยละ ๙๐
ตัวชี้วัด :
3
3. เพื่อให้กลุ่มเสี่ยงได้รับการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพที่ถูกต้อง
ตัวชี้วัด :
4
4. เพื่อให้กลุ่มผู้ป่วยได้รับการดูแลที่ถูกต้องและไม่มีภาวะแทรกซ้อน
ตัวชี้วัด :
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด
128
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
-
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
-
กลุ่มวัยทำงาน
-
กลุ่มผู้สูงอายุ
-
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
-
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
-
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
-
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
128
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
-
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ๑. อาสาสมัครสาธารณสุขมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับการตรวจคัดกรองความดัน/เบาหวานสามารถค้นหาและคัดกรองกลุ่มเสี่ยงในเขตรับผิดชอบของตนเองได้ ร้อยละ ๙๐ (2) ๒. อาสาสมัครสาธารณสุขสามารถดูแล ติดตามกลุ่มปกติ กลุ่มเสี่ยงและกลุ่มผู้ป่วยและรายงานผลให้เจ้าหน้าที่รับผิดชอบงาน ได้ร้อยละ ๙๐ (3) 3. เพื่อให้กลุ่มเสี่ยงได้รับการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพที่ถูกต้อง (4) 4. เพื่อให้กลุ่มผู้ป่วยได้รับการดูแลที่ถูกต้องและไม่มีภาวะแทรกซ้อน
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *- บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
- หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค สาเหตุ ข้อเสนอแนะ
โครงการดูแลสุขภาพชาวสาวอห่างไกลโรคเรื้อรัง จังหวัด นราธิวาส
รหัสโครงการ 60-L2516-1-06
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
................................
( นางวารือดะห์กาเจ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......
โครงการ
“ โครงการดูแลสุขภาพชาวสาวอห่างไกลโรคเรื้อรัง ”
ตำบลสาวอ อำเภอรือเสาะ จังหวัดนราธิวาส
หัวหน้าโครงการ
นางวารือดะห์กาเจ
กันยายน 2560
ที่อยู่ ตำบลสาวอ อำเภอรือเสาะ จังหวัดนราธิวาส จังหวัด นราธิวาส
รหัสโครงการ 60-L2516-1-06 เลขที่ข้อตกลง
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 มีนาคม 2560 ถึง 30 กันยายน 2560
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการดูแลสุขภาพชาวสาวอห่างไกลโรคเรื้อรัง จังหวัดนราธิวาส" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลสาวอ อำเภอรือเสาะ จังหวัดนราธิวาส
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.สาวอ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการดูแลสุขภาพชาวสาวอห่างไกลโรคเรื้อรัง
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการดูแลสุขภาพชาวสาวอห่างไกลโรคเรื้อรัง " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลสาวอ อำเภอรือเสาะ จังหวัดนราธิวาส รหัสโครงการ 60-L2516-1-06 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 มีนาคม 2560 - 30 กันยายน 2560 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 21,300.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.สาวอ เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ | » |
บทคัดย่อ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล | » |
วัตถุประสงค์โครงการ | » |
กิจกรรม/การดำเนินงาน | » |
กลุ่มเป้าหมาย | » |
ผลลัพธ์ที่ได้ | » |
การประเมินผล | » |
ปัญหาและอุปสรรค | » |
ข้อเสนอแนะ | » |
เอกสารประกอบอื่นๆ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
ปัจจุบันประเทศไทยได้เปลี่ยนแปลงไปอย่างรวดเร็ว ซึ่งมีผลกระทบมาจากกระแสการเปลี่ยนแปลงของสังคมโลกและการเปลี่ยนแปลงของประเทศไทยทั้งทางด้านการเมือง เศรษฐกิจ การแข่งขันทางการตลาด การสื่อสารและการคมนาคม รวมถึงการใช้เทคโนโลยีมากขึ้น ซึ่งการเปลี่ยนแปลงดังกล่าวมีผลกระทบต่อวิถีชีวิตและสุขภาพของประชาชนไทยเป็นอย่างมาก จะเห็นได้จากในอดีตปัญหาสุขภาพของประชาชนส่วนใหญ่เจ็บป่วยด้วยโรคติดเชื้อ แต่ในปัจจุบัน และในอนาคต ปัญหาสุขภาพจะมีผลกระทบมาจากสังคม สิ่งแวดล้อม และพฤติกรรมมากขึ้นตามลำดับ จะเห็นได้จากพฤติกรรมที่เป็นปัญหา เช่น พฤติกรรมการบริโภค พฤติกรรมการออกกำลังกาย พฤติกรรมความปลอดภัย การใช้ยาและสารเสพติด ปัญหาสุขภาพจิต เป็นต้น ดังนั้น การดำเนินการในการแก้ไขปัญหาสาธารณสุขของประเทศ จำเป็นจะต้องพัฒนาประชาชนให้มีองค์ความรู้ และทักษะที่จำเป็น และพัฒนาพฤติกรรมสุขภาพให้เหมาะสม ทั้งระดับบุคคลครอบครัว และชุมชนครอบคลุม กลุ่มประชากรเป้าหมาย เพื่อให้ประชาชนสามารถส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคให้แก่ตนเอง ครอบครัว และชุมชนได้ ซึ่งการดำเนินงานดังกล่าวจำเป็นจะต้องส่งเสริมพัฒนาพฤติกรรมสุขภาพที่สำคัญๆ ที่ก่อให้เกิดปัญหาสาธารณสุขของประเทศ นโยบายสร้างหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้า ช่วยคนไทยห่างไกลโรค มีเป้าหมายที่สำคัญ คือ การสร้างสุขภาพที่ดีให้กับประชาชน และลดปัญหาค่าใช้จ่ายด้านสุขภาพในระยะยาว โดยใช้กระบวนการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรค ซึ่งเป็นหัวใจสำคัญของการขับเคลื่อนให้การดำเนินงานช่วยคนไทยห่างไกลโรคให้บรรลุผลสำเร็จ โดยการส่งเสริมให้มีความรู้ และทักษะในการดูแลตนเอง และการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ โดยใช้หลัก ๓อ.๒ส. เป็นหลัก เพื่อให้มีสุขภาวะในทุกด้าน หลังการตรวจคัดกรองความเสี่ยงเพื่อ ค้นหาโรคในระยะเริ่มต้น
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- ๑. อาสาสมัครสาธารณสุขมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับการตรวจคัดกรองความดัน/เบาหวานสามารถค้นหาและคัดกรองกลุ่มเสี่ยงในเขตรับผิดชอบของตนเองได้ ร้อยละ ๙๐
- ๒. อาสาสมัครสาธารณสุขสามารถดูแล ติดตามกลุ่มปกติ กลุ่มเสี่ยงและกลุ่มผู้ป่วยและรายงานผลให้เจ้าหน้าที่รับผิดชอบงาน ได้ร้อยละ ๙๐
- 3. เพื่อให้กลุ่มเสี่ยงได้รับการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพที่ถูกต้อง
- 4. เพื่อให้กลุ่มผู้ป่วยได้รับการดูแลที่ถูกต้องและไม่มีภาวะแทรกซ้อน
กิจกรรม/การดำเนินงาน
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้ | |
---|---|---|
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | ||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | ||
กลุ่มวัยทำงาน | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | ||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | 128 | |
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] |
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
๑.ประชาชนอายุ ๓๕ ปีขึ้นไปได้รับการตรวจคัดกรองโรคความดันโลหิตสูงและโรคเบาหวานมากกว่า
ร้อยละ ๙๐.๐๐
๒.ผู้ที่มีภาวะเสี่ยงต่อโรคความดันโลหิตสูงป่วยเป็นโรคไม่เกินร้อยละ ๑๐
๓.ผู้ที่มีภาวะเสี่ยงต่อโรคเบาหวานป่วยเป็นโรคไม่เกินร้อยละ ๕
๔.อัตราการเกิดโรคความดันโลหิตสูงรายใหม่ไม่เกิน ร้อยละ ๘
๕.อัตราการเกิดโรคเบาหวานรายใหม่ไม่เกิน ร้อยละ ๔
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์** กิจกรรมของโครงการ | ผลผลิต* | |
---|---|---|
ผลผลิตที่ตั้งไว้ | ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง | |
1. จัดประชุมอบรมให้ควมรู้ อสม. , กลุ่มเสี่ยงโรคความดันโลหิตสูงและโรคเบาหวาน , กลุ่มผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูงและโรคเบาหวาน |
||
วันที่ 18 มิถุนายน 2560 เวลา 08:30 น.กิจกรรมที่ทำ
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นหลังจากได้มีการประชุมอาสาสมัครสาธารณสุขเกี่ยวกับวิธีการตรวจสอบ ค้นหากลุ่มเสี่ยง ทำให้ประชาชนในพื้นที่ที่กลุ่มอายุ 35 ปี ขึ้นไป จำนวน 650 คน ได้รับการคัดกรองโรคความดันโลหิตสูง จำนวน 641 คิดเป็นร้อยละ 98.51 ประชาชนในพื้นที่หันมาให้ความสนใจกับโรคเรื้อรังมากขึ้น
|
128 | 38 |
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
โครงบทสรุป
โครงการดูแลสุขภาพชาวสาวอห่างจากโรคเรื้อรัง
โครงการดูแลสุขภาพชาวสาวอห่างจากโรคเรื้อรัง ดำเนินโครงการ/กิจกรรม โดยโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลสาวอ มีการจัดกิจกรรมร่วมกันเมื่อวันที่ ๑๘ – ๒๓ มิถุนายน ๒๕๖๐ ณ.ห้องประชุมโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลสาวอ เพื่อให้อาสาสมัครสาธารณสุขมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับการตรวจคัดกรองความดัน/เบาหวาน สามารถค้นหาและคัดกรองกลุ่มเสี่ยง กลุ่มปกติ กลุ่มผู้ป่วยได้ ร้อยละ ๙๐ และเพื่อให้กลุ่มเสี่ยงได้รับการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ ป้องกันตนเองให้ห่างไกลจากโรคเรื้อรัง กลุ่มผู้ป่วยได้รับการดูแลที่ถูกต้องและป้องกันตนเองไม่ให้มีภาวะแทรกซ้อนจากโรคอื่นๆ และได้รับการส่งต่อผู้ป่วยร้อยละ ๑๐๐
สรุปผลการดำเนินโครงการดูแลสุขภาพชาวสาวอห่างจากโรคเรื้อรัง ก่อนดำเนินโครงการพบว่า ประชาชนอายุ ๓๕ ปีขึ้นไป เข้าถึงบริการสาธารณสุข ไม่ครอบคลุม ด้วยอัตรากำลังเจ้าหน้าที่ไม่เพียงพอกับภาระงาน ประกอบกับการประชาสัมพันธ์เกี่ยวกับการดูแลโรคเรื้อรังไม่ทั่วถึงทำให้ประชาชนได้รับในการดูแลคัดกรองโรคเรื้อรังไม่ครอบคลุมร้อยละ ๙๐ ประกอบกับเศรษฐกิจและสังคมของชุมชนมีการเปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็ว มีการแข่งขันสร้างความมั่นคงให้แก่ครอบครัว การเร่งรีบกับการทำงาน บริโภคอาหารโดยไม่ได้คำนึงถึงคุณค่าทางโภชนาการ มีการเคลื่อนไหวร่างกายน้อยลง ภาวะเครียด ทำให้มีโอกาสเสี่ยงต่อการเจ็บป่วยด้วยโรคเรื้อรังเพิ่มขึ้น ซึ่งในพื้นที่พบผู้ป่วยเบาหวาน ถูกตัดขาจากการดูแลบาดแผลไม่ถูกวิธี ทำให้ผู้ป่วยสูญเสียโอกาสและกระทบต่อสุขภาพจิตใจและความเป็นอยู่ ซึ่งเป็นปัญหาสำคัญทางด้านสาธารณสุข ก่อนดำเนินงาน ประชาชนอายุ ๓๕ ปีขึ้นไป จำนวน ๖๕๐ คน ได้รับการคัดกรองโรคความดันโลหิตสูง จำนวน ๕๗๕ คิดเป็นร้อยละ ๘๘.๔๖ พบกลุ่มปกติ ๓๔๗ คน คิดเป็นร้อยละ ๖๐.๓๔ กลุ่มเสี่ยง ๒๐๑ คน ร้อยละ ๓๔.๙๕ กลุ่มป่วย ๒๗ คน ร้อยละ ๔.๖๙ และจำนวนประชาชนอายุ ๓๕ ปีขึ้นไป จำนวน ๖๕๐ ได้รับการคัดกรองโรคเบาหวาน จำนวน ๕๗๕ คน ร้อยละ ๘๘.๔๖ พบกลุ่มปกติ ๕๐๒ ร้อยละ ๘๗.๓๐ กลุ่มเสี่ยง จำนวน ๗๐ คน ร้อยละ ๑๒.๖๙ ช่วงดำเนินโครงการได้มีการจัดประชุมเชิงปฏิบัติการโดยฟื้นฟูความรู้และฝึกทักษะการตรวจวัดความดันโลหิตสูง และวิธีการเจาะเลือดที่ปลายนิ้วเพื่อคัดกรองโรคเบาหวานให้แก่ อสม.และแยกกลุ่มเป้าหมายอายุ ๓๕ ปีขึ้นไป แยกรายหมู่บ้านจำนวน ๔ หมู่บ้าน เพื่อติดตามคัดกรองโรคความดันโลหิตสูงและโรคเบาหวานจนค้นหากลุ่มเสี่ยง กลุ่มป่วย และส่งต่อหน่วยบริการได้เร็วขึ้น มีการประชาประชาสัมพันธ์โครงการได้มากขึ้น ทำให้ประชาชนให้ความสนใจสุขภาพและปรับเปลี่ยนพฤติกรรมของตนเองและครอบครัว คือประชาชนอายุ๓๕ ปีขึ้นไป จำนวน ๖๕๐ คน ได้รับการคัดกรองโรคความดันโลหิตสูง จำนวน ๖๔๑ คิดเป็นร้อยละ ๙๘.๕๑ พบกลุ่มปกติเพิ่มขึ้น ๔๗๖ คน คิดเป็นร้อยละ ๗๓.๒๓ กลุ่มเสี่ยง ๑๔๖ คน ร้อยละ ๒๒.๔๖ กลุ่มป่วย ๑๘ คน ร้อยละ ๒.๗๖ และจำนวนประชาชนอายุ ๓๕ ปีขึ้นไป จำนวน ๖๕๐ ได้รับการคัดกรองโรคเบาหวาน จำนวน ๖๔๑ คน ร้อยละ ๙๘.๕๑ พบกลุ่มปกติ ๖๓๙ ร้อยละ ๙๙.๖๘ กลุ่มเสี่ยง จำนวน ๒ คน ร้อยละ ๐.๓๒ จะเห็นว่ามีการคัดกรองโรคเรื้อรังเพิ่มขึ้น การควบคุมผู้ป่วยที่มีภาวะเสี่ยงต่อโรคความดันโลหิตสูง/ป่วยเป็นโรค ยังเกินร้อยละ ๑๐ ซึ่งยังไม่ผ่านเกณฑ์ที่กำหนด จากการจัดทำโครงการมีผู้ป่วยรายใหม่ที่ยังไม่ได้ขึ้นทะเบียนในเขตรับผิดชอบ ที่รับยาจากสถานบริการอื่นๆ เช่น คลินิก รพ.เอกชน ผู้ป่วยไม่ได้รับการคืนข้อมูลจำนวน ๘ คน ซึ่งเป็นปัญหาที่ทางโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลสาวอร่วมกับแม่ข่าย ต้องร่วมค้นหาผู้ป่วยในพื้นที่เพื่อการดูแลและติดตามผู้ป่วยให้ได้รับการรักษาอย่างต่อเนื่อง
ข้อเสนอแนะ ในการทำโครงการครั้งต่อไปควรมีการจัดกิจกรรมคัดกรองและประชาสัมพันธ์โรคเรื้อรังในพื้นที่อย่างต่อเนื่อง โดยทำงานร่วมกับภาคีเครือข่ายและผู้นำชุมชนอย่างจริงจัง เพื่อลดภาวะเสี่ยงที่จะเกิดผลกระทบกับคนในพื้นที่ ก่อนที่โรคภัยจะคุกคามจนทำให้คนในพื้นที่สูญเสียกำลังสำคัญของชาติและคนในชุมชนต่อไป
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลสาวอ
ผู้รับผิดชอบโครงการ
การดูแลสุขภาพชาวสาวอห่างไกลจากโรคเรื้อรัง
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ | สถานการณ์ | เป้าหมาย | ผลผลิต | อธิบาย | |
---|---|---|---|---|---|
1 | ๑. อาสาสมัครสาธารณสุขมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับการตรวจคัดกรองความดัน/เบาหวานสามารถค้นหาและคัดกรองกลุ่มเสี่ยงในเขตรับผิดชอบของตนเองได้ ร้อยละ ๙๐ ตัวชี้วัด : |
|
|||
2 | ๒. อาสาสมัครสาธารณสุขสามารถดูแล ติดตามกลุ่มปกติ กลุ่มเสี่ยงและกลุ่มผู้ป่วยและรายงานผลให้เจ้าหน้าที่รับผิดชอบงาน ได้ร้อยละ ๙๐ ตัวชี้วัด : |
|
|||
3 | 3. เพื่อให้กลุ่มเสี่ยงได้รับการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพที่ถูกต้อง ตัวชี้วัด : |
|
|||
4 | 4. เพื่อให้กลุ่มผู้ป่วยได้รับการดูแลที่ถูกต้องและไม่มีภาวะแทรกซ้อน ตัวชี้วัด : |
|
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
---|---|---|---|
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด | 128 | ||
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | |||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | - | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | - | ||
กลุ่มวัยทำงาน | - | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | - | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | |||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | - | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | - | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | - | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | 128 | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] | - |
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ๑. อาสาสมัครสาธารณสุขมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับการตรวจคัดกรองความดัน/เบาหวานสามารถค้นหาและคัดกรองกลุ่มเสี่ยงในเขตรับผิดชอบของตนเองได้ ร้อยละ ๙๐ (2) ๒. อาสาสมัครสาธารณสุขสามารถดูแล ติดตามกลุ่มปกติ กลุ่มเสี่ยงและกลุ่มผู้ป่วยและรายงานผลให้เจ้าหน้าที่รับผิดชอบงาน ได้ร้อยละ ๙๐ (3) 3. เพื่อให้กลุ่มเสี่ยงได้รับการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพที่ถูกต้อง (4) 4. เพื่อให้กลุ่มผู้ป่วยได้รับการดูแลที่ถูกต้องและไม่มีภาวะแทรกซ้อน
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค | สาเหตุ | ข้อเสนอแนะ |
---|---|---|
|
|
|
โครงการดูแลสุขภาพชาวสาวอห่างไกลโรคเรื้อรัง จังหวัด นราธิวาส
รหัสโครงการ 60-L2516-1-06
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
( นางวารือดะห์กาเจ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......