โครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพกลุ่มเสี่ยงความดันโลหิตสูงและโรคเบาหวานและดูแลผู้ป่วยส่งกลับห่างไกลภาวะแทรกซ้อน
แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์
รายงานฉบับสมบูรณ์
โครงการ
“ โครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพกลุ่มเสี่ยงความดันโลหิตสูงและโรคเบาหวานและดูแลผู้ป่วยส่งกลับห่างไกลภาวะแทรกซ้อน ”
ตำบลบาเจาะ อำเภอบันนังสตา จังหวัดยะลา
หัวหน้าโครงการ
นายสันต์เดะุแอ
ได้รับการสนับสนุนโดย กองทุนสุขภาพตำบล อบต.บาเจาะ
กันยายน 2559
ชื่อโครงการ โครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพกลุ่มเสี่ยงความดันโลหิตสูงและโรคเบาหวานและดูแลผู้ป่วยส่งกลับห่างไกลภาวะแทรกซ้อน
ที่อยู่ ตำบลบาเจาะ อำเภอบันนังสตา จังหวัดยะลา จังหวัด ยะลา
รหัสโครงการ 59-L4127-1-06 เลขที่ข้อตกลง
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 ตุลาคม 2558 ถึง 30 กันยายน 2559
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพกลุ่มเสี่ยงความดันโลหิตสูงและโรคเบาหวานและดูแลผู้ป่วยส่งกลับห่างไกลภาวะแทรกซ้อน จังหวัดยะลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลบาเจาะ อำเภอบันนังสตา จังหวัดยะลา
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.บาเจาะ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพกลุ่มเสี่ยงความดันโลหิตสูงและโรคเบาหวานและดูแลผู้ป่วยส่งกลับห่างไกลภาวะแทรกซ้อน
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพกลุ่มเสี่ยงความดันโลหิตสูงและโรคเบาหวานและดูแลผู้ป่วยส่งกลับห่างไกลภาวะแทรกซ้อน " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลบาเจาะ อำเภอบันนังสตา จังหวัดยะลา รหัสโครงการ 59-L4127-1-06 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 ตุลาคม 2558 - 30 กันยายน 2559 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 34,250.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.บาเจาะ เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ »
บทคัดย่อ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล »
วัตถุประสงค์โครงการ »
กิจกรรม/การดำเนินงาน »
กลุ่มเป้าหมาย »
ผลลัพธ์ที่ได้ »
การประเมินผล »
ปัญหาและอุปสรรค »
ข้อเสนอแนะ »
เอกสารประกอบอื่นๆ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
ปัจจุบันเศรษฐกิจและสังคมของประเทศไทยมีการเปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็ว ส่งผลต่อการดำเนินชีวิตของประชาช ประชาชนมีการแข่งขันสร้างความมั่นคงให้แก่ครอบครัว นิยมวัฒนธรรมตะวันตกมากขึ้น จึงทำให้วิถีชีวิตมีการเปลี่ยนแปลง เช่่น การเร่งรีบกับการทำงาน บริโภคอาหารโดยไม่คำนึงถึงคุณค่าทางโภชนาการ ีการเคลื่อนไหวร่างกายน้อยลง ขาดการออกกำลังกาย เครียด ทำใหมีโอกาศเสี่ยงต่อการเจ็บปวยด้วยโรคเบาหวาน โรคความดันโลหิตสูง ซึ่งเป็นปัญหาสำคัญทางด้านสาธารณสุข เป็นกลุ่มโรคที่มีปัจจัยสาเหตุการนำสู่โรคจากปัจจัยเสี่ยงร่วม และเสียชวิตก่อนวัยอันควร ซึ่งโรคนี้สามารถป้องกันได้โดยการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม เช่น การรับประทานอาหารตามหลักโภชนาการ และมีกิจกรรมทางกายที่เหมาะสม
จากผลการการคัดกรองโรคความดันโลหิตสูงและเบาหวานของโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบาเจาะ ปี 2559 พบว่า มีกลุ่มเสี่ยงด้วยโรคความดันโลหิตสูง จำนวน 339 คน และกลุ่มเสี่ยงเบาหวาน จำนวน 172 คน นอกจากนี้กลุ่มป่วยที่รับยาที่ รพสต. ตั้งแต่ปี 2554 - 2559 จำนวนทั้งสิ้น 95 ราย สามารถแบ่งกลุ่มตามปิงปองจราจรชีวิต 7 สี ดังนี้ สีเขียวเข้ม 63 ราย สีเหลือง 21 ราย สีส้ม 9 ราย สีแดง 2 ราย มีผู้ป่วยที่ถูกส่งกลับไปยังโรงพยาบาลบันนังสตา เนื่องจากมีภาวะแทรกซ้อน จำนวน 2 ราย นอกจากนี้ จากการตรวจประเมินค่าความดันโลหิตและน้ำตาลในเลือดในผู้ป่วยแต่ละราย พบว่า ผู้ป่วยบางรายยังไม่สามารถควบคุมระดับน้ำตาลและความดันโลหิตให้อยู่ในเกณฑ์ปกติได้อย่างสมำ่เสมอ ซึ่งจะส่งผลกระทบนั่น คือ การเกิดภาวะแทรกซ้อนในอนาคตได้
ดังนั้น โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบาเจาะ ได้เล็งเห็นถึงความสำคัญดังกล่าว และตระหนักถึงภาวะสุขภาพของประชาชนในกลุ่มดังกล่าว จึงได้จัดทำโครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมขึ้น เพื่อให้ประชาชนได้รับความรู้ และสามารถปรับเปลี่ยนพฤติกรรม ลดการเกิดโรคเรื้อรังและป้องกันภาวะแทรกซ้อนที่อาจเกิดขึ้นได้ในอนาคตได้
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- เพื่อให้ประชาชนอายุ 35 ปีขึ้นไป ได้รับการตรวจคัดกรองโรคเบาหวานและความดันดลหิตสูง
- เพื่อให้กลุ่มเสี่ยงได้รับการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาภตามหลัก 3 อ. 2 ส.
- เพื่อให้กลุ่มป่วยได้รับการดูแลรักษาและได้รับการส่งต่อตามแนวทางปิงปองจราจรชีวิต 7 สี
- เพื่อลดอัตราการเกิดโรคแทรกซ้อนในผู้ป่วยโรคความดันดลหิตสูงและเบาหวาน
กิจกรรม/การดำเนินงาน
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
2,960
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
- ประชาชนอาใยุ 35 ปีขึ้นไป ได้รับการตรวจคัดกรองโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูงมาตรฐานตามเกณฑ์
- กลุ่มเสี่ยงได้รับการเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพตามหลัก 3 อ. 2 ส. และมีพฤติกรรมสุขภาพที่ถูกต้องเหมาะสมอย่างต่อเนื่อง
- อัตราการเกิดโรคแทรกซ้อนในผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูงและเบาหวานลดลง
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ ผลผลิต* ผลผลิตที่ตั้งไว้ ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
1.ผลการดำเนินงาน ดังนี้
กิจกรรม
(ตามแผน) ผลที่คาดว่าจะได้รับ
(ตามแผน) ผลการดาเนินงาน หมายเหตุ
กิจกรรมที่ 1
-ตรวจคัดกรองโรคความดัน โลหิตสูง และ โรคเบาหวาน แก่ ประชาชนอายุ35 ปีขึ้นไป โดย การมีส่วนร่วมของ รพ.สต.บาเจาะ และ อสม. และภาค ประชาชน
-จำแนก และจัดทาทะเบียน ประชาชนที่ได้รับการตรวจ โดย แยกกลุ่มดี/เสี่ยง/ป่วย
1. ประชากรกลุ่มเป้าหมายได้รับการคัดกรองความดัน เบาหวาน
2. มีการจาแนกประชาชนกลุ่ม ดี/เสี่ยง/ป่วย ด้วยโรคความดัน โลหิตสูงและเบาหวาน -ได้รับความร่วมมือใน การเข้ารับการคัดกรอง โรคเบาหวานและโรค ความดันโลหิตสูง จาก ประชากรเป้าหมายเป็น อย่างด และทุกภาคส่วนให้ การสนับสนุนและช่วยกัน รณรงค์ให้มีการมารับ บริการตรวจสุขภาพในทุก พื้นที่
-เกิดความร่วมมือระหว่าง หน่วยงานภาครัฐ องค์กรชุมชน และประชาชน ในการเฝ้าระวัง และป้องกันโรคที่อาจส่งผลต่อ ภาวะสุขภาพของประชาชน ใน พื้นที่ตำบลบาเจาะ
- ได้มีการจำแนกกลุ่ม ประชาชนหลังจากการคัด กรอง ดังนี้
โรคความดันโลหิตสูง
กลุ่มดี จำนวน 1,930 คน
กลุ่มเสี่ยง จำนวน 487 คน
กลุ่มป่วย จำนวน 7 คน
โรคเบาหวาน
กลุ่มดี จำนวน 2,195 คน
กลุ่มเสี่ยง จำนวน 226 คน
กลุ่มป่วย จำนวน 3 คน
กิจกรรม
(ตามแผน) ผลที่คาดว่าจะได้รับ
(ตามแผน) ผลการดาเนินงาน หมายเหต
กิจกรรมที่ 2
- ส่งต่อประชาชนกลุ่มป่วย เพื่อ รับการตรวจยืนยัน และรับการ รักษาไปยัง รพ.สต. และ รพช.
-กลุ่มเสี่ยงและกลุ่มป่วยได้รับการอบบรมปรับเปลี่ยนพฤติกรรม 3อ 2 ส
2. กลุ่มเป้าหมายมีความรู้ละทักษะในการสร้างเสริมสุขภาพอย่างเหมาะสม สามารถนำไปปฏิบัติได้อย่างถูกต้องในเรื่อง 3 อ 2 ส
3. กลุ่มเป้าหมายได้ตระหนักถึงการพัฒนาตนเอง ในการดูแลสุขภาพและเป็นแบบอย่างที่ดีแก่ครอบครัวและประชาชนทั่วไป
-ได้มีการจัดทำทะเบียน แยกกลุ่มเป้าหมาย และให้ การดูแลรักษากลุ่มผู้ป่วยที่ ต้องดูแลอย่างต่อเนื่อง
-กลุ่มป่วยได้รับการส่งต่อ รพ บันนังสตา เพื่อรับการรักษาที่ถูกต้องและต่อเนื่อง
-กลุ่มเสี่ยงได้รับการอบบรมให้ความรู้เพื่อปรับเปลี่ยนพฤติกรรมใส่ใจ 3อ 2ส
-ได้ค้นหาผู้ป่วยต้นแบบที่สามารถควบคุมระดับความดันโลหิตสูงจำนวน 10 คน
และผู้ป่วยที่สามารถควบคุมระดับน้ำตาลในเลือดได้จำนวน 5 คน
ปัญหา อุปสรรค
-การคัดกรองไม่สามารถคัดกรองได้ตามเป้าหมาย เนื่องจากประชาชนบางส่วนไม่ได้อาศัย อยู่ในพื้นที่อย่างถาวร อาจด้วยทำงานนอกพื้นที่ หรือ กำลังศึกษาอยู่ที่ต่างๆ และอื่นๆ
-กลุ่มป่วยไม่สามารถควบคุมโรคได้ เนื่องจากความลำบากในการมารับยา บางรายก็ขอรักษาด้วยหมอบ้าน
ทำให้เกิดภาวะความดันและน้ำตาลสูง บางรายมีภาวะแทรกซ้อนเกิดขึ้น
ข้อคิดเห็นและข้อเสนอแนะอื่น ๆ
โครงการตรวจปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพกลุ่มเสี่ยงความดันโลหิตสูงและโรคเบาหวาน และดูแลผู้ป่วยส่งกลับห่างไกลภาวะแทรกซ้อนทำให้ กลุ่มเสี่ยงมีความตระหนักในการดูแลสุขภาพของตนเอง เพื่อป้องกันไม่ให้เกิดโรคความดันเบาหวาน ส่วนกลุ่มป่วยทำให้มีความตระหนักที่จะดูแลตนเอง เพื่อป้องกันภาวะแทรกซ้อนที่จะเกิดขึ้น
บรรลุตามวัตถุประสุงค์
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์เพราะ..................................................................................................................
2.2 จำนวนผู้เข้าร่วมในแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม 30 คน
3. การเบิกจ่ายงบประมาณ
งบประมาณที่ได้รับการอนุมัติ . 34,250 บาท
งบประมาณเบิกจ่ายจริง 34,250 บาท คิดเป็นร้อยละ 100
งบประมาณเหลือส่งกองทุนฯ 0 บาท คิดเป็นร้อยละ 100
4. ปัญหา/อุปสรรคในการดำเนินงาน
มี
ปัญหา/อุปสรรค(ระบุ) 1.) การประชาสัมพันธ์โครงการไม่ทั่วถึงในพื้นที่
2.) หญิงตั้งครรภ์มารับฟังการอบรมไม่ได้ตามเป้าหมาย
แนวทางการแก้ไข(ระบุ)...............................................................................................................................
.................................................................................................................................................................
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ สถานการณ์ เป้าหมาย ผลผลิต อธิบาย
1
เพื่อให้ประชาชนอายุ 35 ปีขึ้นไป ได้รับการตรวจคัดกรองโรคเบาหวานและความดันดลหิตสูง
ตัวชี้วัด : ร้อยละของประชาชนอายุ 35 ปีขึ้นไป ได้รับการตรวจคัดกรองโรคเบาหวานและความดันดลหิตสูง
2
เพื่อให้กลุ่มเสี่ยงได้รับการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาภตามหลัก 3 อ. 2 ส.
ตัวชี้วัด : ร้อยละของกลุ่มเสี่ยงได้รับการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพตามหลัก 3 อ. 2 ส.
3
เพื่อให้กลุ่มป่วยได้รับการดูแลรักษาและได้รับการส่งต่อตามแนวทางปิงปองจราจรชีวิต 7 สี
ตัวชี้วัด : ร้อยละของกลุ่มป่วยได้รับการดูแลรักษาและได้รับการส่งต่อตามแนวทางปิงปองจราจรชีวิต 7 สี
4
เพื่อลดอัตราการเกิดโรคแทรกซ้อนในผู้ป่วยโรคความดันดลหิตสูงและเบาหวาน
ตัวชี้วัด : ร้อยละของการลดอัตราการเกิดโรคแทรกซ้อนในผู้ป่วยโรคความดันดลหิตสูงและเบาหวาน
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด
2960
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
-
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
-
กลุ่มวัยทำงาน
-
กลุ่มผู้สูงอายุ
-
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
-
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
2,960
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
-
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
-
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
-
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อให้ประชาชนอายุ 35 ปีขึ้นไป ได้รับการตรวจคัดกรองโรคเบาหวานและความดันดลหิตสูง (2) เพื่อให้กลุ่มเสี่ยงได้รับการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาภตามหลัก 3 อ. 2 ส. (3) เพื่อให้กลุ่มป่วยได้รับการดูแลรักษาและได้รับการส่งต่อตามแนวทางปิงปองจราจรชีวิต 7 สี (4) เพื่อลดอัตราการเกิดโรคแทรกซ้อนในผู้ป่วยโรคความดันดลหิตสูงและเบาหวาน
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *- บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
- หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค สาเหตุ ข้อเสนอแนะ
โครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพกลุ่มเสี่ยงความดันโลหิตสูงและโรคเบาหวานและดูแลผู้ป่วยส่งกลับห่างไกลภาวะแทรกซ้อน จังหวัด ยะลา
รหัสโครงการ 59-L4127-1-06
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
................................
( นายสันต์เดะุแอ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......
โครงการ
“ โครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพกลุ่มเสี่ยงความดันโลหิตสูงและโรคเบาหวานและดูแลผู้ป่วยส่งกลับห่างไกลภาวะแทรกซ้อน ”
ตำบลบาเจาะ อำเภอบันนังสตา จังหวัดยะลา
หัวหน้าโครงการ
นายสันต์เดะุแอ
กันยายน 2559
ที่อยู่ ตำบลบาเจาะ อำเภอบันนังสตา จังหวัดยะลา จังหวัด ยะลา
รหัสโครงการ 59-L4127-1-06 เลขที่ข้อตกลง
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 ตุลาคม 2558 ถึง 30 กันยายน 2559
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพกลุ่มเสี่ยงความดันโลหิตสูงและโรคเบาหวานและดูแลผู้ป่วยส่งกลับห่างไกลภาวะแทรกซ้อน จังหวัดยะลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลบาเจาะ อำเภอบันนังสตา จังหวัดยะลา
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.บาเจาะ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพกลุ่มเสี่ยงความดันโลหิตสูงและโรคเบาหวานและดูแลผู้ป่วยส่งกลับห่างไกลภาวะแทรกซ้อน
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพกลุ่มเสี่ยงความดันโลหิตสูงและโรคเบาหวานและดูแลผู้ป่วยส่งกลับห่างไกลภาวะแทรกซ้อน " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลบาเจาะ อำเภอบันนังสตา จังหวัดยะลา รหัสโครงการ 59-L4127-1-06 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 ตุลาคม 2558 - 30 กันยายน 2559 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 34,250.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.บาเจาะ เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ | » |
บทคัดย่อ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล | » |
วัตถุประสงค์โครงการ | » |
กิจกรรม/การดำเนินงาน | » |
กลุ่มเป้าหมาย | » |
ผลลัพธ์ที่ได้ | » |
การประเมินผล | » |
ปัญหาและอุปสรรค | » |
ข้อเสนอแนะ | » |
เอกสารประกอบอื่นๆ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
ปัจจุบันเศรษฐกิจและสังคมของประเทศไทยมีการเปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็ว ส่งผลต่อการดำเนินชีวิตของประชาช ประชาชนมีการแข่งขันสร้างความมั่นคงให้แก่ครอบครัว นิยมวัฒนธรรมตะวันตกมากขึ้น จึงทำให้วิถีชีวิตมีการเปลี่ยนแปลง เช่่น การเร่งรีบกับการทำงาน บริโภคอาหารโดยไม่คำนึงถึงคุณค่าทางโภชนาการ ีการเคลื่อนไหวร่างกายน้อยลง ขาดการออกกำลังกาย เครียด ทำใหมีโอกาศเสี่ยงต่อการเจ็บปวยด้วยโรคเบาหวาน โรคความดันโลหิตสูง ซึ่งเป็นปัญหาสำคัญทางด้านสาธารณสุข เป็นกลุ่มโรคที่มีปัจจัยสาเหตุการนำสู่โรคจากปัจจัยเสี่ยงร่วม และเสียชวิตก่อนวัยอันควร ซึ่งโรคนี้สามารถป้องกันได้โดยการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม เช่น การรับประทานอาหารตามหลักโภชนาการ และมีกิจกรรมทางกายที่เหมาะสม จากผลการการคัดกรองโรคความดันโลหิตสูงและเบาหวานของโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบาเจาะ ปี 2559 พบว่า มีกลุ่มเสี่ยงด้วยโรคความดันโลหิตสูง จำนวน 339 คน และกลุ่มเสี่ยงเบาหวาน จำนวน 172 คน นอกจากนี้กลุ่มป่วยที่รับยาที่ รพสต. ตั้งแต่ปี 2554 - 2559 จำนวนทั้งสิ้น 95 ราย สามารถแบ่งกลุ่มตามปิงปองจราจรชีวิต 7 สี ดังนี้ สีเขียวเข้ม 63 ราย สีเหลือง 21 ราย สีส้ม 9 ราย สีแดง 2 ราย มีผู้ป่วยที่ถูกส่งกลับไปยังโรงพยาบาลบันนังสตา เนื่องจากมีภาวะแทรกซ้อน จำนวน 2 ราย นอกจากนี้ จากการตรวจประเมินค่าความดันโลหิตและน้ำตาลในเลือดในผู้ป่วยแต่ละราย พบว่า ผู้ป่วยบางรายยังไม่สามารถควบคุมระดับน้ำตาลและความดันโลหิตให้อยู่ในเกณฑ์ปกติได้อย่างสมำ่เสมอ ซึ่งจะส่งผลกระทบนั่น คือ การเกิดภาวะแทรกซ้อนในอนาคตได้ ดังนั้น โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบาเจาะ ได้เล็งเห็นถึงความสำคัญดังกล่าว และตระหนักถึงภาวะสุขภาพของประชาชนในกลุ่มดังกล่าว จึงได้จัดทำโครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมขึ้น เพื่อให้ประชาชนได้รับความรู้ และสามารถปรับเปลี่ยนพฤติกรรม ลดการเกิดโรคเรื้อรังและป้องกันภาวะแทรกซ้อนที่อาจเกิดขึ้นได้ในอนาคตได้
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- เพื่อให้ประชาชนอายุ 35 ปีขึ้นไป ได้รับการตรวจคัดกรองโรคเบาหวานและความดันดลหิตสูง
- เพื่อให้กลุ่มเสี่ยงได้รับการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาภตามหลัก 3 อ. 2 ส.
- เพื่อให้กลุ่มป่วยได้รับการดูแลรักษาและได้รับการส่งต่อตามแนวทางปิงปองจราจรชีวิต 7 สี
- เพื่อลดอัตราการเกิดโรคแทรกซ้อนในผู้ป่วยโรคความดันดลหิตสูงและเบาหวาน
กิจกรรม/การดำเนินงาน
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้ | |
---|---|---|
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | ||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | ||
กลุ่มวัยทำงาน | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | ||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | 2,960 | |
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] |
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
- ประชาชนอาใยุ 35 ปีขึ้นไป ได้รับการตรวจคัดกรองโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูงมาตรฐานตามเกณฑ์
- กลุ่มเสี่ยงได้รับการเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพตามหลัก 3 อ. 2 ส. และมีพฤติกรรมสุขภาพที่ถูกต้องเหมาะสมอย่างต่อเนื่อง
- อัตราการเกิดโรคแทรกซ้อนในผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูงและเบาหวานลดลง
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์** กิจกรรมของโครงการ | ผลผลิต* | |
---|---|---|
ผลผลิตที่ตั้งไว้ | ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง |
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
1.ผลการดำเนินงาน ดังนี้
กิจกรรม
(ตามแผน) ผลที่คาดว่าจะได้รับ
(ตามแผน) ผลการดาเนินงาน หมายเหตุ
กิจกรรมที่ 1
-ตรวจคัดกรองโรคความดัน โลหิตสูง และ โรคเบาหวาน แก่ ประชาชนอายุ35 ปีขึ้นไป โดย การมีส่วนร่วมของ รพ.สต.บาเจาะ และ อสม. และภาค ประชาชน
-จำแนก และจัดทาทะเบียน ประชาชนที่ได้รับการตรวจ โดย แยกกลุ่มดี/เสี่ยง/ป่วย
1. ประชากรกลุ่มเป้าหมายได้รับการคัดกรองความดัน เบาหวาน
2. มีการจาแนกประชาชนกลุ่ม ดี/เสี่ยง/ป่วย ด้วยโรคความดัน โลหิตสูงและเบาหวาน -ได้รับความร่วมมือใน การเข้ารับการคัดกรอง โรคเบาหวานและโรค ความดันโลหิตสูง จาก ประชากรเป้าหมายเป็น อย่างด และทุกภาคส่วนให้ การสนับสนุนและช่วยกัน รณรงค์ให้มีการมารับ บริการตรวจสุขภาพในทุก พื้นที่
-เกิดความร่วมมือระหว่าง หน่วยงานภาครัฐ องค์กรชุมชน และประชาชน ในการเฝ้าระวัง และป้องกันโรคที่อาจส่งผลต่อ ภาวะสุขภาพของประชาชน ใน พื้นที่ตำบลบาเจาะ
- ได้มีการจำแนกกลุ่ม ประชาชนหลังจากการคัด กรอง ดังนี้
โรคความดันโลหิตสูง
กลุ่มดี จำนวน 1,930 คน
กลุ่มเสี่ยง จำนวน 487 คน
กลุ่มป่วย จำนวน 7 คน
โรคเบาหวาน
กลุ่มดี จำนวน 2,195 คน
กลุ่มเสี่ยง จำนวน 226 คน
กลุ่มป่วย จำนวน 3 คน
กิจกรรม
(ตามแผน) ผลที่คาดว่าจะได้รับ
(ตามแผน) ผลการดาเนินงาน หมายเหต
กิจกรรมที่ 2
- ส่งต่อประชาชนกลุ่มป่วย เพื่อ รับการตรวจยืนยัน และรับการ รักษาไปยัง รพ.สต. และ รพช.
-กลุ่มเสี่ยงและกลุ่มป่วยได้รับการอบบรมปรับเปลี่ยนพฤติกรรม 3อ 2 ส
2. กลุ่มเป้าหมายมีความรู้ละทักษะในการสร้างเสริมสุขภาพอย่างเหมาะสม สามารถนำไปปฏิบัติได้อย่างถูกต้องในเรื่อง 3 อ 2 ส
3. กลุ่มเป้าหมายได้ตระหนักถึงการพัฒนาตนเอง ในการดูแลสุขภาพและเป็นแบบอย่างที่ดีแก่ครอบครัวและประชาชนทั่วไป
-ได้มีการจัดทำทะเบียน แยกกลุ่มเป้าหมาย และให้ การดูแลรักษากลุ่มผู้ป่วยที่ ต้องดูแลอย่างต่อเนื่อง
-กลุ่มป่วยได้รับการส่งต่อ รพ บันนังสตา เพื่อรับการรักษาที่ถูกต้องและต่อเนื่อง
-กลุ่มเสี่ยงได้รับการอบบรมให้ความรู้เพื่อปรับเปลี่ยนพฤติกรรมใส่ใจ 3อ 2ส
-ได้ค้นหาผู้ป่วยต้นแบบที่สามารถควบคุมระดับความดันโลหิตสูงจำนวน 10 คน
และผู้ป่วยที่สามารถควบคุมระดับน้ำตาลในเลือดได้จำนวน 5 คน
ปัญหา อุปสรรค
-การคัดกรองไม่สามารถคัดกรองได้ตามเป้าหมาย เนื่องจากประชาชนบางส่วนไม่ได้อาศัย อยู่ในพื้นที่อย่างถาวร อาจด้วยทำงานนอกพื้นที่ หรือ กำลังศึกษาอยู่ที่ต่างๆ และอื่นๆ
-กลุ่มป่วยไม่สามารถควบคุมโรคได้ เนื่องจากความลำบากในการมารับยา บางรายก็ขอรักษาด้วยหมอบ้าน
ทำให้เกิดภาวะความดันและน้ำตาลสูง บางรายมีภาวะแทรกซ้อนเกิดขึ้น
ข้อคิดเห็นและข้อเสนอแนะอื่น ๆ
โครงการตรวจปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพกลุ่มเสี่ยงความดันโลหิตสูงและโรคเบาหวาน และดูแลผู้ป่วยส่งกลับห่างไกลภาวะแทรกซ้อนทำให้ กลุ่มเสี่ยงมีความตระหนักในการดูแลสุขภาพของตนเอง เพื่อป้องกันไม่ให้เกิดโรคความดันเบาหวาน ส่วนกลุ่มป่วยทำให้มีความตระหนักที่จะดูแลตนเอง เพื่อป้องกันภาวะแทรกซ้อนที่จะเกิดขึ้น
บรรลุตามวัตถุประสุงค์
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์เพราะ..................................................................................................................
2.2 จำนวนผู้เข้าร่วมในแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม 30 คน
3. การเบิกจ่ายงบประมาณ
งบประมาณที่ได้รับการอนุมัติ . 34,250 บาท
งบประมาณเบิกจ่ายจริง 34,250 บาท คิดเป็นร้อยละ 100
งบประมาณเหลือส่งกองทุนฯ 0 บาท คิดเป็นร้อยละ 100
4. ปัญหา/อุปสรรคในการดำเนินงาน
มี
ปัญหา/อุปสรรค(ระบุ) 1.) การประชาสัมพันธ์โครงการไม่ทั่วถึงในพื้นที่
2.) หญิงตั้งครรภ์มารับฟังการอบรมไม่ได้ตามเป้าหมาย
แนวทางการแก้ไข(ระบุ)...............................................................................................................................
.................................................................................................................................................................
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ | สถานการณ์ | เป้าหมาย | ผลผลิต | อธิบาย | |
---|---|---|---|---|---|
1 | เพื่อให้ประชาชนอายุ 35 ปีขึ้นไป ได้รับการตรวจคัดกรองโรคเบาหวานและความดันดลหิตสูง ตัวชี้วัด : ร้อยละของประชาชนอายุ 35 ปีขึ้นไป ได้รับการตรวจคัดกรองโรคเบาหวานและความดันดลหิตสูง |
|
|||
2 | เพื่อให้กลุ่มเสี่ยงได้รับการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาภตามหลัก 3 อ. 2 ส. ตัวชี้วัด : ร้อยละของกลุ่มเสี่ยงได้รับการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพตามหลัก 3 อ. 2 ส. |
|
|||
3 | เพื่อให้กลุ่มป่วยได้รับการดูแลรักษาและได้รับการส่งต่อตามแนวทางปิงปองจราจรชีวิต 7 สี ตัวชี้วัด : ร้อยละของกลุ่มป่วยได้รับการดูแลรักษาและได้รับการส่งต่อตามแนวทางปิงปองจราจรชีวิต 7 สี |
|
|||
4 | เพื่อลดอัตราการเกิดโรคแทรกซ้อนในผู้ป่วยโรคความดันดลหิตสูงและเบาหวาน ตัวชี้วัด : ร้อยละของการลดอัตราการเกิดโรคแทรกซ้อนในผู้ป่วยโรคความดันดลหิตสูงและเบาหวาน |
|
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
---|---|---|---|
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด | 2960 | ||
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | |||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | - | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | - | ||
กลุ่มวัยทำงาน | - | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | - | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | |||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | - | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | 2,960 | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | - | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | - | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] | - |
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อให้ประชาชนอายุ 35 ปีขึ้นไป ได้รับการตรวจคัดกรองโรคเบาหวานและความดันดลหิตสูง (2) เพื่อให้กลุ่มเสี่ยงได้รับการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาภตามหลัก 3 อ. 2 ส. (3) เพื่อให้กลุ่มป่วยได้รับการดูแลรักษาและได้รับการส่งต่อตามแนวทางปิงปองจราจรชีวิต 7 สี (4) เพื่อลดอัตราการเกิดโรคแทรกซ้อนในผู้ป่วยโรคความดันดลหิตสูงและเบาหวาน
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค | สาเหตุ | ข้อเสนอแนะ |
---|---|---|
|
|
|
โครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพกลุ่มเสี่ยงความดันโลหิตสูงและโรคเบาหวานและดูแลผู้ป่วยส่งกลับห่างไกลภาวะแทรกซ้อน จังหวัด ยะลา
รหัสโครงการ 59-L4127-1-06
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
( นายสันต์เดะุแอ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......