โครงการกาย จิต สัมพันธ์ สร้างพลังต้านภัยโรค
แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์
รายงานฉบับสมบูรณ์
โครงการ
“ โครงการกาย จิต สัมพันธ์ สร้างพลังต้านภัยโรค ”
ตำบลฉลุง อำเภอเมืองสตูล จังหวัดสตูล
หัวหน้าโครงการ
นายจเรรัตน์ โต๊ะหวันหลง
ได้รับการสนับสนุนโดย กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลฉลุง
เมษายน 2562
ชื่อโครงการ โครงการกาย จิต สัมพันธ์ สร้างพลังต้านภัยโรค
ที่อยู่ ตำบลฉลุง อำเภอเมืองสตูล จังหวัดสตูล จังหวัด สตูล
รหัสโครงการ 62-L7580-3-01 เลขที่ข้อตกลง
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 27 ธันวาคม 2561 ถึง 30 เมษายน 2562
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการกาย จิต สัมพันธ์ สร้างพลังต้านภัยโรค จังหวัดสตูล" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลฉลุง อำเภอเมืองสตูล จังหวัดสตูล
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลฉลุง ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการกาย จิต สัมพันธ์ สร้างพลังต้านภัยโรค
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการกาย จิต สัมพันธ์ สร้างพลังต้านภัยโรค " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลฉลุง อำเภอเมืองสตูล จังหวัดสตูล รหัสโครงการ 62-L7580-3-01 ระยะเวลาการดำเนินงาน 27 ธันวาคม 2561 - 30 เมษายน 2562 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 95,690.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลฉลุง เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ »
บทคัดย่อ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล »
วัตถุประสงค์โครงการ »
กิจกรรม/การดำเนินงาน »
กลุ่มเป้าหมาย »
ผลลัพธ์ที่ได้ »
การประเมินผล »
ปัญหาและอุปสรรค »
ข้อเสนอแนะ »
เอกสารประกอบอื่นๆ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
ปัจจุบันสถานการณ์ประชากรทั้งหมดของประเทศไทยปี 2560 ที่ผ่านมา พบว่ามีจำนวนประชากรทั้งสิ้น 67.6 ล้านคน และมีประชากรอายุ 60 ปีขึ้นไปจำนวน 11.3 ล้านคน หรือ 16.7% ของจำนวนประชากรทั้งหมด วัยทำงานอายุ 15-59 ปี จำนวน 44.60 ล้านคน วัยเด็กอายุต่ำกว่า 15 ปี จำนวน 11.60 ล้านคน โดยวัย ผู้สูงอายุยังคงทำงานอยู่ราว 3.9 ล้านคน จากการคาดการณ์ว่าประเทศไทยจะเข้าสู่สังคมผู้สูงอายุอย่างสมบูรณ์ในปี 2564 จะมีประชากรอายุ 60 ปีขึ้นไป สัดส่วนสูงถึง 20% และในปี 2574 ประเทศไทยจะมีประชากรอายุ 60 ปีขึ้นไปสูงถึง 28% ทั้งในปัจจุบันสัดส่วนวัยทำงานดังกล่าวยังสามารถดูแลผู้สูงอายุได้ 1 ต่อ 4 คน แต่ในปี 2574 สัดส่วนการดูแลผู้สูงอายุจะเฉลี่ยที่ 1 : 1 (สำนักงานสถิติแห่งชาติ (สสช.) สำหรับปัญหาสุขภาพซึ่งเป็นเรื่องที่มีความสำคัญยิ่งกับผู้สูงอายุพบว่าผู้สูงอายุอยู่ในสภาวะติดเตียง ร้อยละ 2 ไม่สามารถช่วยเหลือตนเองได้ร้อยละ 19 และยังพบว่าผู้สูงอายุเป็นโรคความดันโลหิตสูงร้อยละ 41 เป็นโรคเบาหวานร้อยละ 18 และเป็นโรคหัวใจและหลอดเลือด โรคมะเร็ง ลดหลั่นลงมา ซึ่งโรคเหล่านี้หากไม่ได้รับการรักษาดูแลอย่างถูกต้องและต่อเนื่อง จะก่อให้เกิดภาวะแทรกซ้อนในหลายระบบของร่างกาย ทั้งภาวะแทรกซ้อนแบบเฉียบพลันและแบบเรื้อรัง ทำให้เกิดความพิการและตายก่อนวัยอันควร โดยปัจจัยที่มีผลต่อการเกิดโรคไม่ติดต่อเรื้อรังแบ่งเป็น ปัจจัยที่ไม่สามารถเปลี่ยนแปลงได้ เช่น อายุ เพศ และพันธุกรรม และปัจจัยที่เปลี่ยนแปลงได้ เช่น การสูบบุหรี่ การรับประทานอาหารที่ไม่เหมาะสม การขาดการออกกำลังกาย และการดื่มแอลกอฮอล์ ปัจจัยเหล่านี้ทำให้เกิดภาวะน้ำหนักเกินและโรคอ้วน ความดันโลหิตสูง น้ำตาลในเลือดสูง และภาวะไขมันในเลือดผิดปกติ และนอกจากโรคเรื้อรังดังกล่าวยังพบอีกว่าผู้สูงอายุมีโรคข้อเข่าที่เกิดจากความเสื่อมของระบบการทำงานของร่างกาย โดยเฉพาะระบบกล้ามเนื้อและการไหลเวียนเลือด ไม่สามารถประกอบกิจวัตรประจำวันได้ตามปกติ และจะมีความรุนแรงมากน้อยต่างกันไป ทำให้คุณภาพชีวิตของผู้สูงอายุลดน้อยลงขาดความสุขในการดำรงชีวิตประจำวัน สถานการณ์เหล่านี้ส่งผลต่อภาวะสุขภาพจิตในผู้สูงอายุ ซึ่งพบผู้สูงอายุผู้หญิงเป็นโรคซึมเศร้าอยู่ใน 5 อันดับแรกของการสูญเสียปีสุขภาวะ รองจากโรคเรื้อรัง ซึ่งสุขภาพจิตที่พบได้บ่อยในผู้สูงอายุ คือ ความวิตกกังวล ซึมเศร้านอนไม่หลับ ภาวะสมองเสื่อม ปัญหาเรื่องเพศ นอกจากนี้การสำรวจสุขภาพจิตผู้สูงอายุโดยสำนักงานสถิติแห่งชาติด้วยแบบคัดกรองความสุข 15 ข้อ พบว่าคะแนนเฉลี่ยต่ำกว่าคนทั่วไปโดยประมาณ 1 ใน 3 ของผู้สูงอายุ เป็นผู้ที่มีความเปราะบางทางจิตใจ และมีสาเหตุมาจากโรคเรื้อรัง ความรู้สึกที่มีคุณค่าในตัวเองลดลง เขตเทศบาลตำบลฉลุง เป็นพื้นที่หนึ่งที่ประสบกับปัญหาดังกล่าวข้างต้นเช่นเดียวกัน ผลจากการดำเนินงานของอาสาสมัครสาธารณสุขพบว่า ผู้สูงอายุในเขตพื้นที่มีจำนวน 261 คน คิดเป็นร้อยละ 11.08 ของประชากรทั้งหมด 2,355 คน เจ็บป่วยด้วยโรคเรื้อรังและมีภาวะเสี่ยง จำนวน 214 คน คิดเป็นร้อยละ 82 เจ็บป่วยด้วยโรคข้อเท้า จำนวน 153 คน คิดเป็นร้อยละ 70.83 อาจส่งผลให้ผู้สูงอายุดังกล่าวขาดความมั่นใจความสุขในการดำรงชีวิตประจำวัน ศูนย์พัฒนาคุณภาพชีวิตและส่งเสริมอาชีพผู้สูงอายุ เทศบาลตำบลฉลุง ได้เล็งเห็นถึงผลกระทบจากปัญหาดังกล่าวข้างต้น จึงจัดทำโครงการ กาย จิต สัมพันธ์ สร้างพลังต้านภัยโรค ขึ้น โดยใช้กลยุทธ์หลักการ จิตเป็นนาย กายเป็นบ่าว สร้างความสุขให้ผู้สูงอายุ ประกอบกระบวนการให้ความรู้และทักษะในการดูแล ป้องกัน และฟื้นฟูสุขภาพจากการเจ็บป่วย แก่ผู้สูงอายุ ผู้ดูแลผู้สูงอายุ ผู้ที่เตรียมความพร้อมเข้าสู่วัยสูงอายุ อนึ่งการดำเนินงานดังกล่าว จะส่งผลให้ผู้สูงอายุมีคุณภาพชีวิตที่ดี มีความสุขในการดำรงชีวิตประจำวัน มีภูมิคุ้มกันรู้เท่าทันโรคต่อไป
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- ข้อที่ 1.เพื่อให้ผู้สูงอายุมีความรู้และทักษะในการดูแล ป้องกัน และฟื้นฟูสุขภาพจากการเจ็บป่วยโรคเรื้อรัง และข้อเท้า ข้อเข่า
- ข้อที่ 2.เพื่อให้ผู้สูงอายุมีสุขภาพจิตที่ดี มีความสุขในการเข้าร่วมกิจกรรมทางสังคม
- ข้อที่ 3.เพื่อให้ผู้สูงอายุได้รับการบำบัดฟื้นฟูข้อเท้าและข้อเข่า ด้วยระบบวารีบำบัด
กิจกรรม/การดำเนินงาน
- กิจกรรมอบรมให้ความรู้และทักษะในการ ดูแล ป้องกัน และฟื้นฟูสุขภาพจากการเจ็บป่วย ควบคู่การสร้างบรรยากาศความสุข
- กิจกรรมนันทนาการ บริหารจิต (สร้างความสุขและรอยยิ้ม ให้ผู้สูงอายุ)
- กิจกรรมบำบัด ข้อเท้า ข้อเข่า โดยวิธีแช่น้ำเย็น (ลงสระ) (ครั้งที่1)
- กิจกรรมบำบัด ข้อเท้า ข้อเข่า โดยวิธีแช่น้ำเย็น (ลงสระ) (ครั้งที่2)
- กิจกรรมบำบัด ข้อเท้า ข้อเข่า โดยวิธีแช่น้ำร้อน (บ่อน้ำร้อน) (ครั้งที่1)
- กิจกรรมบำบัด ข้อเท้า ข้อเข่า โดยวิธีแช่น้ำร้อน (บ่อน้ำร้อน) (ครั้งที่2)
- กิจกรรมบำบัด ข้อเท้า ข้อเข่า โดยวิธีแช่น้ำเย็น (ลงสระ) (ครั้งที่3)
- กิจกรรมบำบัด ข้อเท้า ข้อเข่า โดยวิธีแช่น้ำเย็น (ลงสระ) (ครั้งที่4)
- กิจกรรมบำบัด ข้อเท้า ข้อเข่า โดยวิธีแช่น้ำร้อน (บ่อน้ำร้อน) (ครั้งที่3)
- กิจกรรมบำบัด ข้อเท้า ข้อเข่า โดยวิธีแช่น้ำร้อน (บ่อน้ำร้อน) (ครั้งที่4)
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
10
กลุ่มผู้สูงอายุ
60
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
- ผู้สูงอายุมีความรู้และทักษะในการดูแล ป้องกัน และฟื้นฟูสุขภาพจากการเจ็บป่วย
- ผู้สูงอายุมีสุขภาพจิตที่ดี มีความสุขในการเข้าร่วมกิจกรรมทางสังคม
- ผู้สูงอายุมีสุขภาพข้อเท้า ข้อเข่า ดีขึ้นจากการได้รับการบำบัดฟื้นฟูข้อเท้าและข้อเข่า ด้วยระบบวารีบำบัด
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ ผลผลิต* ผลผลิตที่ตั้งไว้ ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง
1. กิจกรรมอบรมให้ความรู้และทักษะในการ ดูแล ป้องกัน และฟื้นฟูสุขภาพจากการเจ็บป่วย ควบคู่การสร้างบรรยากาศความสุข
วันที่ 27 ธันวาคม 2561กิจกรรมที่ทำ
กิจกรรมอบรมให้ความรู้และทักษะในการ ดูแล ป้องกัน และฟื้นฟูสุขภาพจากการเจ็บป่วย ควบคู่การสร้างบรรยากาศความสุข
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
ผู้สูงอายุได้ความรู้และความเข้าใจ และทักษะในการดูแลป้องกัน และฟื้นฟูสุขภาพจากการเจ็บป่วยโรคเรื้อรัง ข้อเท้า ข้อเข่า มากขึ้นร้อยละ 80 และสามารถนำไปประยุกต์ใช้ในชีวิตประจำวันของตนเองได้(บรรลุตามวัตถุประสงค์)
70
0
2. กิจกรรมนันทนาการ บริหารจิต (สร้างความสุขและรอยยิ้ม ให้ผู้สูงอายุ)
วันที่ 27 ธันวาคม 2561กิจกรรมที่ทำ
กิจกรรมนันทนาการ บริหารจิต (สร้างความสุขและรอยยิ้ม ให้ผู้สูงอายุ)
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
ผู้สูงอายุที่เข้าร่วมกิจกรรมมีสุขภาพจิตที่ดี มีความสุขในการเข้าร่วมกิจกรรมทางสังคมมากขึ้น ร้อยละ 80 (สามารถบรรลุตามวัตถุประสงค์) ผู้สูงอายุให้ความร่วมมือในการเข้าร่วมกิจกรรมเป็นอย่างดี กล้าแสดงออกและกล้าแสดงความคิดเห็นโดยร่วมตอบคำถามในการทำกิจกรรมร่วมกัน
70
0
3. กิจกรรมบำบัด ข้อเท้า ข้อเข่า โดยวิธีแช่น้ำเย็น (ลงสระ) (ครั้งที่1)
วันที่ 7 กุมภาพันธ์ 2562กิจกรรมที่ทำ
กิจกรรมวารีบำบัด ข้อเท้า ข้อเข่า โดยวิธีแช่น้ำเย็น (ลงสระว่ายน้ำ)
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
ผู้สูงอายุได้รับการบำบัดฟื้นฟูข้อเท้าและข้อเข่า ด้วยระบบวารีบำบัด
จากการทำกิจกรรมบำบัด ข้อเท้า ข่อเข่า โดยวิธีแช่น้ำเย็น (ลงสระ) (จำนวน 4 ครั้ง) และกิจกรรมวารีบำบัด ข้อเท้า ข่อเข่า โดยวิธีแช่น้ำร้อน (บ่อน้ำร้อน) (จำนวน 4 ครั้ง ) พบว่าผู้สูงอายุส่วนใหญ่สามารถลดอาการเจ็บป่วยด้วยโรคที่เกิดจาก ข้อเท้า และข้อเข่า และสามารถฟื้นฟูให้หายจากอาการเจ็บป่วยด้วยระบบวารีบำบัดได้ทั้งโดยวธีแช่น้ำเย็นและโดยวิธีแช่น้ำร้อน คิดเป็นร้อยละ 80 ซึ่งการที่จะไปแช่น้ำร้อนนั้นต้องตรวจดูสภาพอากาศด้วย ถ้าจะให้ผลได้ดีควรไปในช่วงเวลาตอนเช้า(สามารถบรรลุตามวัตถุประสงค์ ข้อที่ 3)
40
0
4. กิจกรรมบำบัด ข้อเท้า ข้อเข่า โดยวิธีแช่น้ำเย็น (ลงสระ) (ครั้งที่2)
วันที่ 14 กุมภาพันธ์ 2562กิจกรรมที่ทำ
กิจกรรมวารีบำบัด ข้อเท้า ข้อเข่า โดยวิธีแช่น้ำเย็น (ลงสระว่ายน้ำ)
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
วัตถุประสงค์ข้อที่ 3 เพื่อให้ จากการทำกิจกรรมบำบัด ข้อเท้า ข่อเข่า โดยวิธีแช่น้ำเย็น (ลงสระ) (จำนวน 4 ครั้ง) และกิจกรรมวารีบำบัด ข้อเท้า ข่อเข่า โดยวิธีแช่น้ำร้อน (บ่อน้ำร้อน) (จำนวน 4 ครั้ง ) พบว่าผู้สูงอายุส่วนใหญ่สามารถลดอาการเจ็บป่วยด้วยโรคที่เกิดจาก ข้อเท้า และข้อเข่า และสามารถฟื้นฟูให้หายจากอาการเจ็บป่วยด้วยระบบวารีบำบัดได้ทั้งโดยวธีแช่น้ำเย็นและโดยวิธีแช่น้ำร้อน คิดเป็นร้อยละ 80 ซึ่งการที่จะไปแช่น้ำร้อนนั้นต้องตรวจดูสภาพอากาศด้วย ถ้าจะให้ผลได้ดีควรไปในช่วงเวลาตอนเช้า(สามารถบรรลุตามวัตถุประสงค์ ข้อที่ 3)
40
0
5. กิจกรรมบำบัด ข้อเท้า ข้อเข่า โดยวิธีแช่น้ำร้อน (บ่อน้ำร้อน) (ครั้งที่1)
วันที่ 20 กุมภาพันธ์ 2562กิจกรรมที่ทำ
กิจกรรมวารีบำบัด ข้อเท้า ข้อเข่า โดยวิธีแช่น้ำร้อน
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
ผู้สูงอายุได้รับการบำบัดฟื้นฟูข้อเท้าและข้อเข่า ด้วยระบบวารีบำบัด
จากการทำกิจกรรมบำบัด ข้อเท้า ข่อเข่า โดยวิธีแช่น้ำเย็น (ลงสระ) (จำนวน 4 ครั้ง) และกิจกรรมวารีบำบัด ข้อเท้า ข่อเข่า โดยวิธีแช่น้ำร้อน (บ่อน้ำร้อน) (จำนวน 4 ครั้ง ) พบว่าผู้สูงอายุส่วนใหญ่สามารถลดอาการเจ็บป่วยด้วยโรคที่เกิดจาก ข้อเท้า และข้อเข่า และสามารถฟื้นฟูให้หายจากอาการเจ็บป่วยด้วยระบบวารีบำบัดได้ทั้งโดยวธีแช่น้ำเย็นและโดยวิธีแช่น้ำร้อน คิดเป็นร้อยละ 80 ซึ่งการที่จะไปแช่น้ำร้อนนั้นต้องตรวจดูสภาพอากาศด้วย ถ้าจะให้ผลได้ดีควรไปในช่วงเวลาตอนเช้า(สามารถบรรลุตามวัตถุประสงค์ ข้อที่ 3)
40
0
6. กิจกรรมบำบัด ข้อเท้า ข้อเข่า โดยวิธีแช่น้ำร้อน (บ่อน้ำร้อน) (ครั้งที่2)
วันที่ 28 กุมภาพันธ์ 2562กิจกรรมที่ทำ
กิจกรรมวารีบำบัด ข้อเท้า ข้อเข่า โดยวิธีแช่น้ำร้อน
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
ผู้สูงอายุได้รับการบำบัดฟื้นฟูข้อเท้าและข้อเข่า ด้วยระบบวารีบำบัด
จากการทำกิจกรรมบำบัด ข้อเท้า ข่อเข่า โดยวิธีแช่น้ำเย็น (ลงสระ) (จำนวน 4 ครั้ง) และกิจกรรมวารีบำบัด ข้อเท้า ข่อเข่า โดยวิธีแช่น้ำร้อน (บ่อน้ำร้อน) (จำนวน 4 ครั้ง ) พบว่าผู้สูงอายุส่วนใหญ่สามารถลดอาการเจ็บป่วยด้วยโรคที่เกิดจาก ข้อเท้า และข้อเข่า และสามารถฟื้นฟูให้หายจากอาการเจ็บป่วยด้วยระบบวารีบำบัดได้ทั้งโดยวธีแช่น้ำเย็นและโดยวิธีแช่น้ำร้อน คิดเป็นร้อยละ 80 ซึ่งการที่จะไปแช่น้ำร้อนนั้นต้องตรวจดูสภาพอากาศด้วย ถ้าจะให้ผลได้ดีควรไปในช่วงเวลาตอนเช้า(สามารถบรรลุตามวัตถุประสงค์ ข้อที่ 3)
40
0
7. กิจกรรมบำบัด ข้อเท้า ข้อเข่า โดยวิธีแช่น้ำเย็น (ลงสระ) (ครั้งที่3)
วันที่ 7 มีนาคม 2562กิจกรรมที่ทำ
กิจกรรมวารีบำบัด ข้อเท้า ข้อเข่า โดยวิธีแช่น้ำเย็นลงสระว่ายน้ำ
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
ผู้สูงอายุได้รับการบำบัดฟื้นฟูข้อเท้าและข้อเข่า ด้วยระบบวารีบำบัด
จากการทำกิจกรรมบำบัด ข้อเท้า ข่อเข่า โดยวิธีแช่น้ำเย็น (ลงสระ) และกิจกรรมวารีบำบัด ข้อเท้า ข่อเข่า โดยวิธีแช่น้ำร้อน (บ่อน้ำร้อน) พบว่าผู้สูงอายุส่วนใหญ่สามารถลดอาการเจ็บป่วยด้วยโรคที่เกิดจาก ข้อเท้า และข้อเข่า และสามารถฟื้นฟูให้หายจากอาการเจ็บป่วยด้วยระบบวารีบำบัดได้ทั้งโดยวธีแช่น้ำเย็นและโดยวิธีแช่น้ำร้อน คิดเป็นร้อยละ 80 ซึ่งการที่จะไปแช่น้ำร้อนนั้นต้องตรวจดูสภาพอากาศด้วย ถ้าจะให้ผลได้ดีควรไปในช่วงเวลาตอนเช้า(สามารถบรรลุตามวัตถุประสงค์ ข้อที่ 3)
40
0
8. กิจกรรมบำบัด ข้อเท้า ข้อเข่า โดยวิธีแช่น้ำเย็น (ลงสระ) (ครั้งที่4)
วันที่ 13 มีนาคม 2562กิจกรรมที่ทำ
กิจกรรมวารีบำบัด ข้อเท้า ข้อเข่า โดยวิธีแช่น้ำเย็น
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
ผู้สูงอายุได้รับการบำบัดฟื้นฟูข้อเท้าและข้อเข่า ด้วยระบบวารีบำบัด
จากการทำกิจกรรมบำบัด ข้อเท้า ข่อเข่า โดยวิธีแช่น้ำเย็น (ลงสระ) (จำนวน 4 ครั้ง) และกิจกรรมวารีบำบัด ข้อเท้า ข่อเข่า โดยวิธีแช่น้ำร้อน (บ่อน้ำร้อน) (จำนวน 4 ครั้ง ) พบว่าผู้สูงอายุส่วนใหญ่สามารถลดอาการเจ็บป่วยด้วยโรคที่เกิดจาก ข้อเท้า และข้อเข่า และสามารถฟื้นฟูให้หายจากอาการเจ็บป่วยด้วยระบบวารีบำบัดได้ทั้งโดยวธีแช่น้ำเย็นและโดยวิธีแช่น้ำร้อน คิดเป็นร้อยละ 80 ซึ่งการที่จะไปแช่น้ำร้อนนั้นต้องตรวจดูสภาพอากาศด้วย ถ้าจะให้ผลได้ดีควรไปในช่วงเวลาตอนเช้า(สามารถบรรลุตามวัตถุประสงค์ ข้อที่ 3)
40
0
9. กิจกรรมบำบัด ข้อเท้า ข้อเข่า โดยวิธีแช่น้ำร้อน (บ่อน้ำร้อน) (ครั้งที่3)
วันที่ 21 มีนาคม 2562กิจกรรมที่ทำ
กิจกรรมวารีบำบัด ข้อเท้าข้อเข่า โดยวิธีแช้น้ำร้อน
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
ผู้สูงอายุได้รับการบำบัดฟื้นฟูข้อเท้าและข้อเข่า ด้วยระบบวารีบำบัด
จากการทำกิจกรรมบำบัด ข้อเท้า ข่อเข่า โดยวิธีแช่น้ำเย็น (ลงสระ) (จำนวน 4 ครั้ง) และกิจกรรมวารีบำบัด ข้อเท้า ข่อเข่า โดยวิธีแช่น้ำร้อน (บ่อน้ำร้อน) (จำนวน 4 ครั้ง ) พบว่าผู้สูงอายุส่วนใหญ่สามารถลดอาการเจ็บป่วยด้วยโรคที่เกิดจาก ข้อเท้า และข้อเข่า และสามารถฟื้นฟูให้หายจากอาการเจ็บป่วยด้วยระบบวารีบำบัดได้ทั้งโดยวธีแช่น้ำเย็นและโดยวิธีแช่น้ำร้อน คิดเป็นร้อยละ 80 ซึ่งการที่จะไปแช่น้ำร้อนนั้นต้องตรวจดูสภาพอากาศด้วย ถ้าจะให้ผลได้ดีควรไปในช่วงเวลาตอนเช้า(สามารถบรรลุตามวัตถุประสงค์ ข้อที่ 3)
40
0
10. กิจกรรมบำบัด ข้อเท้า ข้อเข่า โดยวิธีแช่น้ำร้อน (บ่อน้ำร้อน) (ครั้งที่4)
วันที่ 28 มีนาคม 2562กิจกรรมที่ทำ
กิจกรรมวารีบำบัด ข้อเท้า ข้อเข่า โดยวิธีแช่น้ำร้อน
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
วัตถุประสงค์ข้อที่ 3 เพื่อให้ผู้สูงอายุได้รับการบำบัดฟื้นฟูข้อเท้าและข้อเข่า ด้วยระบบวารีบำบัด
จากการทำกิจกรรมบำบัด ข้อเท้า ข่อเข่า โดยวิธีแช่น้ำเย็น (ลงสระ) (จำนวน 4 ครั้ง) และกิจกรรมวารีบำบัด ข้อเท้า ข่อเข่า โดยวิธีแช่น้ำร้อน (บ่อน้ำร้อน) (จำนวน 4 ครั้ง ) พบว่าผู้สูงอายุส่วนใหญ่สามารถลดอาการเจ็บป่วยด้วยโรคที่เกิดจาก ข้อเท้า และข้อเข่า และสามารถฟื้นฟูให้หายจากอาการเจ็บป่วยด้วยระบบวารีบำบัดได้ทั้งโดยวธีแช่น้ำเย็นและโดยวิธีแช่น้ำร้อน คิดเป็นร้อยละ 80 ซึ่งการที่จะไปแช่น้ำร้อนนั้นต้องตรวจดูสภาพอากาศด้วย ถ้าจะให้ผลได้ดีควรไปในช่วงเวลาตอนเช้า(สามารถบรรลุตามวัตถุประสงค์ ข้อที่ 3)
40
0
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ในการจัดทำโครงการดังกล่าว ได้กำหนดกลุ่มเป้าหมาย จำนวน 70 คน มีผู้เข้าร่วมโครงการ จำนวน79 คน คิดเป็นร้อยละ 112.86
1.1 ผู้จัดโครงการได้ใช้กิจกรมให้ความรู้และทักษะในการดูแลป้องกันและฟื้นฟูสุขภาพจากการเจ็บป่วย ควบคู่กับการสร้างบรรยากาศความสุข เพื่อให้กลุ่มเป้าหมายมีความสุขในการเรียนรู้เพิ่มมากขึ้น โดยได้ใช้กลยุทธ์ในการเล่นเกมส์แบ่งกลุ่มสะสมเงินรางวัล ลุ้นดวง เสี่ยงโชค วัดใจ ซึ่งจากการสังเกต พบว่า ผู้เข้ารับการอบรม มีความสามัคคีกัน มีการแบ่งหน้าที่ มีความกระตือรือล้นที่จะทำหน้าที่จะเรียนรู้ทำความเข้าใจและฝึกปฏิบัติอย่างดีมาก สามารถตอบคำถามก่อนการอบรมได้อย่างถูกต้องแม่นยำ สามารถฝึกปฏิบัติและออกมาสาธิตหน้าห้องได้อย่างถูกต้องและมีความคล่องแคล่ว บรรยากาศแข่งขันเล่นเกมส์มีความสนุกสนาน ผู้เข้าร่วมกิจกรรมหัวเราะยิ้มแย้มอย่างมีความสุข จากการประเมินผลความพึงพอใจของผู้เข้าร่วมโครงการ พบว่าผู้เข้าร่วมการอบรมมีความพึงพอใจในการเข้าร่วมการอบรมในภาพรวมคิดเป็นร้อยละ 100
จากกิจกรรมดังกล่าวสามารถสรุปผลตามวัตถุประสงค์ได้ดังนี้
-ผู้สูงอายุมีความรู้และทักษะในการป้องกันและฟื้นฟูสุขภาพจากการเจ็บป่วยโรคเรื้อรัง และ
ข้อเท้า ข้อเข่ามากขึ้น ร้อยละ 80 (สามารถบรรลุตามวัตถุประสงค์ ข้อที่ 1)
-ผู้สูงอายุที่เข้าร่วมกิจกรรมมีสุขภาพจิตที่ดี มีความสุขในการเข้าร่วมกิจกรรมทางสังคมมากขึ้น ร้อยละ 80 (สามารถบรรลุตามวัตถุประสงค์ ข้อที่ 2)
1.2 วัตถุประสงค์ข้อที่ 3 เพื่อให้ผู้สูงอายุได้รับการบำบัดฟื้นฟูข้อเท้าและข้อเข่า ด้วยระบบวารีบำบัด
จากการทำกิจกรรมบำบัด ข้อเท้า ข่อเข่า โดยวิธีแช่น้ำเย็น (ลงสระ) (จำนวน 4 ครั้ง) และกิจกรรมวารีบำบัด ข้อเท้า ข่อเข่า โดยวิธีแช่น้ำร้อน (บ่อน้ำร้อน) (จำนวน 4 ครั้ง ) พบว่าผู้สูงอายุส่วนใหญ่สามารถลดอาการเจ็บป่วยด้วยโรคที่เกิดจาก ข้อเท้า และข้อเข่า และสามารถฟื้นฟูให้หายจากอาการเจ็บป่วยด้วยระบบวารีบำบัดได้ทั้งโดยวธีแช่น้ำเย็นและโดยวิธีแช่น้ำร้อน คิดเป็นร้อยละ 80 ซึ่งการที่จะไปแช่น้ำร้อนนั้นต้องตรวจดูสภาพอากาศด้วย ถ้าจะให้ผลได้ดีควรไปในช่วงเวลาตอนเช้า(สามารถบรรลุตามวัตถุประสงค์ ข้อที่ 3) โดยมีเนื้อหาในการอบรม ดังนี้
ธาราบำบัด (Aquatic Therapy) คือการนำคุณสมบัติของน้ำมาใช้ในการบำบัดรักษาโรคหรืออาการผิดปกติต่างๆ โดยน้ำจะมีแรงลอยตัว ช่วนลดแรงกดดันข้อต่อ และการเคลื่อนไหวช้าๆในทิศทางต่างๆ น้ำจะเป็นเสมือนแรงพยุงช่วยให้เคลื่อนไหวได้ง่ายขึ้น ในขณะที่การเคลื่อนไหวในน้ำเร็วๆแรงๆนั้น ส่งผลให้น้ำกลายเป็นแรงต้านเพิ่มความแข็งแรงของกล้ามเนื้อนั้นเอง เมื่อเราประสบปัญหาปวดเข่า หรือได้รับบาดเจ็บทางเข่า เราก็ควรออกกำลังกายที่ไม่ใช้เข่า ซึ่งการออกกำลังกายภายในน้ำนอกจากจะมีการว่ายน้ำ การเดินหรือการวิ่งในน้ำ การเต้น Aerobic ในน้ำ ยังมีการออกกำลังกายชนิดหนึ่งที่กำลังเป็นที่สนใจในขณะนี้นั้นคือ ธาราบำบัด ซึ่งเหมาะสำหรับคนที่ ปวดเข่า หรือมีปัญหาทางเข่า
ธาราบำบัดในสระว่ายน้ำ
1. ปฏิบัติตามกฎของสระว่ายน้ำที่ให้บริการ(เปลี่ยนชุดเตรียมพร้อมการลงสระ อาบน้ำก่อนลงสระ)
2. นั่งขอบสระเพื่อใช้น้ำในสระถูกตัวเพื่อปรับอุณหภูมิน้ำร่างกายตั้งแต่มือถึงไหล่เท้าถึงสะเอว
3. ให้ทุกคนลงยืดกล้ามเนื้อด้วยตั้งแต่เท้าจนถึงศรีษะ
4. เดินรอบสระช้าๆใช้เวลา 6 นาที เดินเร็ว 4 นาที วิ่ง 2 นาที พัก 2 นาที
5. ให้ทุกคนยืนหันหลังเข้าขอบสระเข่าตั้งฉากข้างละ 10 ครั้ง
6. ให้ทุกคนยืนหันหลังเข้าขอบสระเข่าตั้งฉากพร้อมกับดันเท้าไปข้างหน้าข้างละ 10 ครั้ง
7. ให้ทุกคนยืนหันหลังเข้าขอบสระเข่าตั้งฉากพร้อมกับกางเข่าไปด้านข้างๆละ 10 ครั้ง
8. ให้ทุกคนยืนตะแครงข้างมือจับขอบสระกางขาด้านนอกขึ้นช้าๆ 10 ครั้ง แล้วสลับอีกข้างทำเหมือนเดิม 10 ครั้ง
9. ให้ทุกคนยืนตรงมือจับขอบสระดันส้นเท้าขึ้นลงช้าๆ 10 ครั้ง
10. ใช้อุปกรณ์ฮูล่าฮูปในการหมุนตัว วิธีการจับฮูล่าฮูปยืดแขนตรงและหมุนตัวไปด้านซ้ายและขวาอย่างช้าๆ 10 ครั้ง
11. ใช้อุปกรร์ดัมเบลในการยกด้วยแขน วิธีการให้จับดัมเบลแขนยืดไปด้านข้างขึ้นลงถึงสะโพกข้าละ 10 ครั้ง
12. ใช้ท่าสควอชในการขึ้นในน้ำ ให้ทุกคนยืนกางขาเท่ากับไหล่เหยียดมือตรงไปข้างหน้าเท่ากับไหล่แล้วย่อเข่าให้สะโพกตั้งฉากขึ้นลง 12 ครั้ง
13. ใช้ท่าสควอชในการขึ้นในน้ำ ให้ทุกคนยืนกางขาเท่ากับไหล่เหยียดมือขึ้นตรงเหนือศรีษะแล้วย่อเข่าให้สะโพกตั้งฉากขึ้นลง 12 ครั้ง
14. กิจกรรมเข้าจังหวะเต้นบาสโลบ
15. ยืดกล้ามเนื้อด้วยท่า Chicken Dance และท่ามณีเวช
16. ขึ้นจากสระอาบน้ำล้างตัว
น้ำพุร้อน(Onsen) น้ำแร่เป็นน้ำธรรมชาติที่เกิดจากการที่น้ำซึมผ่านชั้นของดินและหิน โดยจะมีแร่ธาตุต่างๆสะสมอยู่ซึ่งเป็นแร่ธาตุที่เป็นประโยชน์ต่อร่างกาย เช่น โซเดี่ยม แคลเซี่ยม ฟลูออไรด์
โปแตสเซี่ยม น้ำแร่แบ่งเป็นทั้งชิดเย็น(Coold)มีอุณหภูมิต่ำกว่า 20 c° ชนิดร้อนและชนิดร้อนจัด(Hyper Thermal) ซึ่งอุณหภูมิมากกว่า 42 c° ขึ้นไป น้ำแร่ชนิดร้อนนั้นเรียกว่า “น้ำพุร้อน” (Natural Hot Springs) ซึ่งเป็นปรากกการณ์ธรรมชาติที่มีน้ำร้อนไหลขึ้นมาจากชั้นใต้ดินของโลกที่ยังคงมีความร้อนอยู่ ประเทศไทยพบแหล่งน้ำพุร้อนกระจายอยู่ในภาคเหนือ ภาคตะวันตก ภาคกลาง และภาคใต้ ซึ่งมีอุณหภูมิน้ำร้อนที่ผิวดินอยู่ในช่วง 40-100 c° น้ำแร่นั้นสามารถนำมาใช้ดื่มและอาบได้ การอาบน้ำแร่/น้ำพุร้อน มนุษย์หลายเชื้อชาติในโลกมีความเชื่อมานานแล้วว่า การอาบน้ำแร่ร้อนจากน้ำพุร้อนจะทำให้สุขภาพดีขึ้นสามารถรักาและบรรเทาอาการบางอย่างที่เป็นสาเหตุของโรคต่างๆได้ โดยเฉพาะประเทศญี่ปุ่นนั้นมีสถานที่อาบน้ำแร่ร้อนหรือOnsen มากถึง 25,00 แห่ง ดังนั้นการอาบน้ำแร่น้ำพุร้อน จึงมีประโยชน์ต่อทุกคน คือ
1. บรรเทาอาการปวดกระดูก ปวดกล้ามเนื้อ
2. ช่วยให้โลหิตในร่างกายหมุนเวียนได้ดีขึ้นและช่วยลดความเครียดทั้งร่างกายและจิตใจ
3. ช่วยขยายหลอดเลือดทำให้ระบบเผาผลาญในร่างกายดีขึ้น
4. ช่วยขับสิ่งอุดตันใต้ผิวหนังและรูขุมขนทำให้ผิวหนังสะอาดบำรุงผิวพรรณให้สดใส
5. ช่วยในการดูดซึมแลกเปลี่ยนออกซิเจนและกลูโคสระหว่างเส้นเลือดฝอยและเนื้อเยื่อในส่วยต่างๆของร่างกาย
วิธีการแช่น้ำพุร้อน
1. ล้างร่างกายของคุณให้สะอาดก่อนที่คุณจะลงบ่อน้ำพุร้อน หรืออ่างอาบน้ำรวม คุณต้องล้างสิ่งสกปรกออกจากร่างกายให้หมดก่อนและล้างฟองสบู่ออกให้เรียบร้อยก่อนลงบ่อ
2. การใช้น้ำอุ่นราดตัว ราดน้ำจากบริเวณขาไปบริเวณเอว จากบริเวณนิ้วมือไปจนถึงหัวไหล่ คือการราดน้ำจากบริเวณไกลมาใกล้โดยเราเรียกวิธีนี้ว่า(คาเคยุ)เพื่อให้น้ำอุ่นปรับสภาพร่างกายของเราสุดท้ายให้ราดน้ำจากหัวเราซึ่งจะทำให้ไม่วิงเวียนศรีษะ
3. แช่น้ำร้อนครึ่งตัวให้คุ้นเคยค่อยๆหย่อนตัวลงไปในบ่อน้ำร้อน โดยในตอนแรกให้เข้าไปเพียงแค่ครึ่งตัว คือประมาช่วงท้อง เพื่อให้ร่างกายได้คุ้นเคยกับน้ำร้อนไม่เกิดปัญหาร่างกายปรับสภาพไม่ทันเพราะอุณหภูมิของน้ำร้อนและแรงดันน้ำพอร่างกายเริ่มอุ่นขึ้น เราควรที่จะขยับแขนขาให้คุ้นเคย
4. ข้อควรระวัง อย่าแช่ในอ่างอาบน้ำนานเกินไป คุณควรจะออกจากบ่อน้ำร้อนเมื่อหน้าผากและจมูกของคุณเริ่มมีเหงื่อไหล คุณไม่ควรที่จะแช่น้ำนานเกินไปจนเหงื่อหล่นจนใจเต้น
5. ไม่ควรอาบน้ำหลังจากขึ้นจากบ่อน้ำร้อน เพราะคุรได้รับส่วนผสมที่เป็นยาจากบ่อน้ำร้อนและไม่ควรที่จะล้างออกเพราะจะทำให้ประสิทธิผลของน้ำร้อนน้อยลงตาหากคุณมีผิวที่แพ้ง่ายจนอาจทำให้ผิวหนังอักเสบ จึงควรล้างออกด้วยน้ำสะอาด
6. เช็ดตัวให้เรียบร้อยก่อนออกจากห้องอาบน้ำ
7. ดื่มน้ำเยอะๆ ร่างกายของคุณได้เสียน้ำจำนวนมากจากการเสียเหงื่อ
8. พักผ่อนให้เพียงพอ คุณจะเสียพลังงานจำนวนมากจากการอาบน้ำความดันของคุณก็จะปลี่ยนเช่นกัน คุณควรจะทำการพัก 30 นาที เพื่อปรับสภาพร่างกายให้คงที่
มารยาทในการใช้บ่อน้ำพุร้อน
- ห้ามใส่ชุดว่ายน้ำเข้าไป
- กรุณาล้างตัวที่จุดอาบน้ำ ห้ามใช้น้ำร้อนจากบ่อล้างตัว
- ล้างสบู่ออกให้เรียบร้อยก่อนลงบ่อน้ำพุร้อน
- ไม่ควรนำผ้าเช็ดตัวไปช่ในบ่อน้ำพุร้อน
- ถ้าคุณมีผมยาวให้รวบผมของคุณ
- หากน้ำร้อนเกิดไป กรุราอย่าเพิ่มน้ำเอง
- ใช้ผ้าเช็ดตัวเย็นๆ วางไว้บนหัวของคุณกันอาการหน้ามืด
- กินน้ำและพักผ่อนให้เพียงพอหลังแช่บ่อน้ำพุร้อน
- ตามระเบียบแล้วเราจะไม่ให้คนที่เป็นรอยสักใช้บริการห้องอาบน้ำ
- เมื่อขึ้นจากบ่อน้ำพุร้อนแล้วให้เช็ดตัวของคุณให้เรียบร้อยก่อนเข้าห้องแต่งตัว
- ไม่ควรเข้าห้องน้ำทันทีหลังทานข้าวหรือดื่มแอลกอฮอล์
- ควรแช่บ่อน้ำพุร้อนสูงสุด 3 ครั้ง ใน 1 วันเพื่อไม่ให้ส่งผลเสียกับร่างกาย
- ห้ามซักผ้าในบริเวณที่อาบน้ำ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ สถานการณ์ เป้าหมาย ผลผลิต อธิบาย
1
ข้อที่ 1.เพื่อให้ผู้สูงอายุมีความรู้และทักษะในการดูแล ป้องกัน และฟื้นฟูสุขภาพจากการเจ็บป่วยโรคเรื้อรัง และข้อเท้า ข้อเข่า
ตัวชี้วัด : ตัวชี้วัดความสำเร็จ
ผู้ผู้สูงอายุมีความรู้และทักษะในการดูแล ป้องกัน และฟื้นฟูสุขภาพจากการเจ็บป่วยโรคเรื้อรัง และข้อเท้า ข้อเข่า มากขึ้น ร้อยละ 80
80.00
2
ข้อที่ 2.เพื่อให้ผู้สูงอายุมีสุขภาพจิตที่ดี มีความสุขในการเข้าร่วมกิจกรรมทางสังคม
ตัวชี้วัด : ร้อยละ 80 ผู้สูงอายุที่เข้าร่วมกิจกรรมมีสุขภาพจิตที่ดี มีความสุขในการเข้าร่วมกิจกรรมทางสังคม
80.00
3
ข้อที่ 3.เพื่อให้ผู้สูงอายุได้รับการบำบัดฟื้นฟูข้อเท้าและข้อเข่า ด้วยระบบวารีบำบัด
ตัวชี้วัด : ร้อยละ 80 ผู้สูงอายุที่เข้าร่วมกิจกรรมได้รับการบำบัดฟื้นฟูข้อเท้าและข้อเข่า ด้วยระบบวารีบำบัด
80.00
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด
70
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
-
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
-
กลุ่มวัยทำงาน
10
กลุ่มผู้สูงอายุ
60
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
-
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
-
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
-
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
-
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
-
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ข้อที่ 1.เพื่อให้ผู้สูงอายุมีความรู้และทักษะในการดูแล ป้องกัน และฟื้นฟูสุขภาพจากการเจ็บป่วยโรคเรื้อรัง และข้อเท้า ข้อเข่า (2) ข้อที่ 2.เพื่อให้ผู้สูงอายุมีสุขภาพจิตที่ดี มีความสุขในการเข้าร่วมกิจกรรมทางสังคม (3) ข้อที่ 3.เพื่อให้ผู้สูงอายุได้รับการบำบัดฟื้นฟูข้อเท้าและข้อเข่า ด้วยระบบวารีบำบัด
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) กิจกรรมอบรมให้ความรู้และทักษะในการ ดูแล ป้องกัน และฟื้นฟูสุขภาพจากการเจ็บป่วย ควบคู่การสร้างบรรยากาศความสุข (2) กิจกรรมนันทนาการ บริหารจิต (สร้างความสุขและรอยยิ้ม ให้ผู้สูงอายุ) (3) กิจกรรมบำบัด ข้อเท้า ข้อเข่า โดยวิธีแช่น้ำเย็น (ลงสระ) (ครั้งที่1) (4) กิจกรรมบำบัด ข้อเท้า ข้อเข่า โดยวิธีแช่น้ำเย็น (ลงสระ) (ครั้งที่2) (5) กิจกรรมบำบัด ข้อเท้า ข้อเข่า โดยวิธีแช่น้ำร้อน (บ่อน้ำร้อน) (ครั้งที่1) (6) กิจกรรมบำบัด ข้อเท้า ข้อเข่า โดยวิธีแช่น้ำร้อน (บ่อน้ำร้อน) (ครั้งที่2) (7) กิจกรรมบำบัด ข้อเท้า ข้อเข่า โดยวิธีแช่น้ำเย็น (ลงสระ) (ครั้งที่3) (8) กิจกรรมบำบัด ข้อเท้า ข้อเข่า โดยวิธีแช่น้ำเย็น (ลงสระ) (ครั้งที่4) (9) กิจกรรมบำบัด ข้อเท้า ข้อเข่า โดยวิธีแช่น้ำร้อน (บ่อน้ำร้อน) (ครั้งที่3) (10) กิจกรรมบำบัด ข้อเท้า ข้อเข่า โดยวิธีแช่น้ำร้อน (บ่อน้ำร้อน) (ครั้งที่4)
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *- บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
- หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค สาเหตุ ข้อเสนอแนะ
ส่วนที่ 3 ประเมินคุณค่าโครงการ
แบบประเมินคุณค่าของโครงการที่เกี่ยวข้องกับการสร้างเสริมสุขภาพ
ชื่อโครงการ โครงการกาย จิต สัมพันธ์ สร้างพลังต้านภัยโรค
รหัสโครงการ 62-L7580-3-01 ระยะเวลาโครงการ 27 ธันวาคม 2561 - 30 เมษายน 2562
แบบประเมินคุณค่าของโครงการที่เกี่ยวข้องกับการสร้างเสริมสุขภาพ เป็นการคุณค่าที่เกิดจากโครงการในมิติต่อไปนี้
- ความรู้ด้านการสร้างเสริมสุขภาพและนวัตกรรมเชิงระบบสุขภาพชุมชน
- การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่มีผลต่อสุขภาวะ
- การปรับเปลี่ยนสิ่งแวดล้อมที่เอื้อต่อสุขภาวะ
- ผลกระทบเชิงบวกและนโยบายสาธารณะที่เอื้อต่อการสร้างสุขภาวะชุมชน
- กระบวนการชุมชน
- มิติสุขภาวะปัญญา / สุขภาวะทางจิตวิญญาณ
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
1. เกิดความรู้ หรือ นวัตกรรมชุมชน
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
1. ความรู้ใหม่ / องค์ความรู้ใหม่
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
2. สิ่งประดิษฐ์ / ผลผลิตใหม่
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
3. กระบวนการใหม่
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
4. วิธีการทำงาน / การจัดการใหม่
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
5. การเกิดกลุ่ม / โครงสร้างในชุมชนใหม่
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
6. แหล่งเรียนรู้ใหม่
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
99. อื่นๆ
2. เกิดการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่เอื้อต่อสุขภาพ
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
1. การดูแลสุขอนามัยส่วนบุคคล
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
2. การบริโภค
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
3. การออกกำลังกาย
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
4. การลด ละ เลิก อบายมุข เช่น การพนัน เหล้า บุหรี่
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
5. การลดพฤติกรรมเสี่ยง เช่น พฤติกรรมเสี่ยงทางเพศ การขับรถโดยประมาท
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
6. การจัดการอารมณ์ / ความเครียด
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
7. การดำรงชีวิต / วิถีชีวิต เช่น การใช้ภูมิปัญญาท้องถิ่น / สมุนไพรในการดูแลสุขภาพตนเอง
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
8. พฤติกรรมการจัดการตนเอง ครอบครัว ชุมชน
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
9. อื่นๆ
3. การสร้างสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อสุขภาพ (กายภาพ สังคม และเศรษฐกิจ)
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
1. กายภาพ เช่น มีการจัดการขยะ ป่า น้ำ การใช้สารเคมีเกษตร และการสร้างสิ่งแวดล้อมในครัวเรือนที่ถูกสุขลักษณะ
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
2. สังคม เช่น มีความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สิน ลดการเกิดอุบัติเหตุ ครอบครัวอบอุ่น การจัดสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อเด็ก เยาวชน และกลุ่มวัยต่าง ๆ มีพื้นที่สาธารณะ/พื้นที่ทางสังคม เพื่อเอื้อต่อการส่งเสริมสุขภาพของคนในชุมชน มีการใช้ศาสนา/วัฒนธรรมเป็นฐานการพัฒนา
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
3. เศรษฐกิจสร้างสรรค์สังคม /สร้างอาชีพ / เพิ่มรายได้
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
4. มีการบริการสุขภาพทางเลือก และมีช่องทางการเข้าถึงระบบบริการสุขภาพ
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
5. อื่นๆ
4. การพัฒนานโยบายสาธารณะที่เอื้อต่อสุขภาวะ
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
1. มีกฎ / กติกา ของกลุ่ม ชุมชน
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
2. มีมาตรการทางสังคมของกลุ่ม ชุมชน
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
3. มีธรรมนูญของชุมชน
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
4. อื่นๆ เช่น ออกเป็นข้อบัญญัติท้องถิ่น ฯลฯ
5. เกิดกระบวนการชุมชน
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
1. เกิดการเชื่อมโยงประสานงานระหว่างกลุ่ม / เครือข่าย (ใน และหรือนอกชุมชน)
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
2. การเรียนรู้การแก้ปัญหาชุมชน (การประเมินปัญหา การวางแผน การปฏิบัติการ และการประเมิน)
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
3. การใช้ประโยชน์จากทุนในชุมชน เช่น การระดมทุน การใช้ทรัพยากรบุคคลในชุมชน
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
4. มีการขับเคลื่อนการดำเนินงานของกลุ่มและชุมชนที่เกิดจากโครงการอย่างต่อเนื่อง
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
5. เกิดกระบวนการจัดการความรู้ในชุมชน
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
6. เกิดทักษะในการจัดการโครงการ เช่น การใช้ข้อมูลในการตัดสินใจ การทำแผนปฏิบัติการ
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
7. อื่นๆ
6. มิติสุขภาวะปัญญา / สุขภาวะทางจิตวิญญาณ
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
1. ความรู้สึกภาคภูมิใจในตัวเอง / กลุ่ม / ชุมชน
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
2. การเห็นประโยชน์ส่วนรวมและส่วนตนอย่างสมดุล
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
3. การใช้ชีวิตอย่างเรียบง่าย และพอเพียง
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
4. ชุมชนมีความเอื้ออาทร
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
5. มีการตัดสินใจโดยใช้ฐานปัญญา
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
6. อื่นๆ
โครงการกาย จิต สัมพันธ์ สร้างพลังต้านภัยโรค จังหวัด สตูล
รหัสโครงการ 62-L7580-3-01
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
................................
( นายจเรรัตน์ โต๊ะหวันหลง )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......
โครงการ
“ โครงการกาย จิต สัมพันธ์ สร้างพลังต้านภัยโรค ”
ตำบลฉลุง อำเภอเมืองสตูล จังหวัดสตูล
หัวหน้าโครงการ
นายจเรรัตน์ โต๊ะหวันหลง
เมษายน 2562
ที่อยู่ ตำบลฉลุง อำเภอเมืองสตูล จังหวัดสตูล จังหวัด สตูล
รหัสโครงการ 62-L7580-3-01 เลขที่ข้อตกลง
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 27 ธันวาคม 2561 ถึง 30 เมษายน 2562
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการกาย จิต สัมพันธ์ สร้างพลังต้านภัยโรค จังหวัดสตูล" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลฉลุง อำเภอเมืองสตูล จังหวัดสตูล
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลฉลุง ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการกาย จิต สัมพันธ์ สร้างพลังต้านภัยโรค
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการกาย จิต สัมพันธ์ สร้างพลังต้านภัยโรค " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลฉลุง อำเภอเมืองสตูล จังหวัดสตูล รหัสโครงการ 62-L7580-3-01 ระยะเวลาการดำเนินงาน 27 ธันวาคม 2561 - 30 เมษายน 2562 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 95,690.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลฉลุง เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ | » |
บทคัดย่อ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล | » |
วัตถุประสงค์โครงการ | » |
กิจกรรม/การดำเนินงาน | » |
กลุ่มเป้าหมาย | » |
ผลลัพธ์ที่ได้ | » |
การประเมินผล | » |
ปัญหาและอุปสรรค | » |
ข้อเสนอแนะ | » |
เอกสารประกอบอื่นๆ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
ปัจจุบันสถานการณ์ประชากรทั้งหมดของประเทศไทยปี 2560 ที่ผ่านมา พบว่ามีจำนวนประชากรทั้งสิ้น 67.6 ล้านคน และมีประชากรอายุ 60 ปีขึ้นไปจำนวน 11.3 ล้านคน หรือ 16.7% ของจำนวนประชากรทั้งหมด วัยทำงานอายุ 15-59 ปี จำนวน 44.60 ล้านคน วัยเด็กอายุต่ำกว่า 15 ปี จำนวน 11.60 ล้านคน โดยวัย ผู้สูงอายุยังคงทำงานอยู่ราว 3.9 ล้านคน จากการคาดการณ์ว่าประเทศไทยจะเข้าสู่สังคมผู้สูงอายุอย่างสมบูรณ์ในปี 2564 จะมีประชากรอายุ 60 ปีขึ้นไป สัดส่วนสูงถึง 20% และในปี 2574 ประเทศไทยจะมีประชากรอายุ 60 ปีขึ้นไปสูงถึง 28% ทั้งในปัจจุบันสัดส่วนวัยทำงานดังกล่าวยังสามารถดูแลผู้สูงอายุได้ 1 ต่อ 4 คน แต่ในปี 2574 สัดส่วนการดูแลผู้สูงอายุจะเฉลี่ยที่ 1 : 1 (สำนักงานสถิติแห่งชาติ (สสช.) สำหรับปัญหาสุขภาพซึ่งเป็นเรื่องที่มีความสำคัญยิ่งกับผู้สูงอายุพบว่าผู้สูงอายุอยู่ในสภาวะติดเตียง ร้อยละ 2 ไม่สามารถช่วยเหลือตนเองได้ร้อยละ 19 และยังพบว่าผู้สูงอายุเป็นโรคความดันโลหิตสูงร้อยละ 41 เป็นโรคเบาหวานร้อยละ 18 และเป็นโรคหัวใจและหลอดเลือด โรคมะเร็ง ลดหลั่นลงมา ซึ่งโรคเหล่านี้หากไม่ได้รับการรักษาดูแลอย่างถูกต้องและต่อเนื่อง จะก่อให้เกิดภาวะแทรกซ้อนในหลายระบบของร่างกาย ทั้งภาวะแทรกซ้อนแบบเฉียบพลันและแบบเรื้อรัง ทำให้เกิดความพิการและตายก่อนวัยอันควร โดยปัจจัยที่มีผลต่อการเกิดโรคไม่ติดต่อเรื้อรังแบ่งเป็น ปัจจัยที่ไม่สามารถเปลี่ยนแปลงได้ เช่น อายุ เพศ และพันธุกรรม และปัจจัยที่เปลี่ยนแปลงได้ เช่น การสูบบุหรี่ การรับประทานอาหารที่ไม่เหมาะสม การขาดการออกกำลังกาย และการดื่มแอลกอฮอล์ ปัจจัยเหล่านี้ทำให้เกิดภาวะน้ำหนักเกินและโรคอ้วน ความดันโลหิตสูง น้ำตาลในเลือดสูง และภาวะไขมันในเลือดผิดปกติ และนอกจากโรคเรื้อรังดังกล่าวยังพบอีกว่าผู้สูงอายุมีโรคข้อเข่าที่เกิดจากความเสื่อมของระบบการทำงานของร่างกาย โดยเฉพาะระบบกล้ามเนื้อและการไหลเวียนเลือด ไม่สามารถประกอบกิจวัตรประจำวันได้ตามปกติ และจะมีความรุนแรงมากน้อยต่างกันไป ทำให้คุณภาพชีวิตของผู้สูงอายุลดน้อยลงขาดความสุขในการดำรงชีวิตประจำวัน สถานการณ์เหล่านี้ส่งผลต่อภาวะสุขภาพจิตในผู้สูงอายุ ซึ่งพบผู้สูงอายุผู้หญิงเป็นโรคซึมเศร้าอยู่ใน 5 อันดับแรกของการสูญเสียปีสุขภาวะ รองจากโรคเรื้อรัง ซึ่งสุขภาพจิตที่พบได้บ่อยในผู้สูงอายุ คือ ความวิตกกังวล ซึมเศร้านอนไม่หลับ ภาวะสมองเสื่อม ปัญหาเรื่องเพศ นอกจากนี้การสำรวจสุขภาพจิตผู้สูงอายุโดยสำนักงานสถิติแห่งชาติด้วยแบบคัดกรองความสุข 15 ข้อ พบว่าคะแนนเฉลี่ยต่ำกว่าคนทั่วไปโดยประมาณ 1 ใน 3 ของผู้สูงอายุ เป็นผู้ที่มีความเปราะบางทางจิตใจ และมีสาเหตุมาจากโรคเรื้อรัง ความรู้สึกที่มีคุณค่าในตัวเองลดลง เขตเทศบาลตำบลฉลุง เป็นพื้นที่หนึ่งที่ประสบกับปัญหาดังกล่าวข้างต้นเช่นเดียวกัน ผลจากการดำเนินงานของอาสาสมัครสาธารณสุขพบว่า ผู้สูงอายุในเขตพื้นที่มีจำนวน 261 คน คิดเป็นร้อยละ 11.08 ของประชากรทั้งหมด 2,355 คน เจ็บป่วยด้วยโรคเรื้อรังและมีภาวะเสี่ยง จำนวน 214 คน คิดเป็นร้อยละ 82 เจ็บป่วยด้วยโรคข้อเท้า จำนวน 153 คน คิดเป็นร้อยละ 70.83 อาจส่งผลให้ผู้สูงอายุดังกล่าวขาดความมั่นใจความสุขในการดำรงชีวิตประจำวัน ศูนย์พัฒนาคุณภาพชีวิตและส่งเสริมอาชีพผู้สูงอายุ เทศบาลตำบลฉลุง ได้เล็งเห็นถึงผลกระทบจากปัญหาดังกล่าวข้างต้น จึงจัดทำโครงการ กาย จิต สัมพันธ์ สร้างพลังต้านภัยโรค ขึ้น โดยใช้กลยุทธ์หลักการ จิตเป็นนาย กายเป็นบ่าว สร้างความสุขให้ผู้สูงอายุ ประกอบกระบวนการให้ความรู้และทักษะในการดูแล ป้องกัน และฟื้นฟูสุขภาพจากการเจ็บป่วย แก่ผู้สูงอายุ ผู้ดูแลผู้สูงอายุ ผู้ที่เตรียมความพร้อมเข้าสู่วัยสูงอายุ อนึ่งการดำเนินงานดังกล่าว จะส่งผลให้ผู้สูงอายุมีคุณภาพชีวิตที่ดี มีความสุขในการดำรงชีวิตประจำวัน มีภูมิคุ้มกันรู้เท่าทันโรคต่อไป
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- ข้อที่ 1.เพื่อให้ผู้สูงอายุมีความรู้และทักษะในการดูแล ป้องกัน และฟื้นฟูสุขภาพจากการเจ็บป่วยโรคเรื้อรัง และข้อเท้า ข้อเข่า
- ข้อที่ 2.เพื่อให้ผู้สูงอายุมีสุขภาพจิตที่ดี มีความสุขในการเข้าร่วมกิจกรรมทางสังคม
- ข้อที่ 3.เพื่อให้ผู้สูงอายุได้รับการบำบัดฟื้นฟูข้อเท้าและข้อเข่า ด้วยระบบวารีบำบัด
กิจกรรม/การดำเนินงาน
- กิจกรรมอบรมให้ความรู้และทักษะในการ ดูแล ป้องกัน และฟื้นฟูสุขภาพจากการเจ็บป่วย ควบคู่การสร้างบรรยากาศความสุข
- กิจกรรมนันทนาการ บริหารจิต (สร้างความสุขและรอยยิ้ม ให้ผู้สูงอายุ)
- กิจกรรมบำบัด ข้อเท้า ข้อเข่า โดยวิธีแช่น้ำเย็น (ลงสระ) (ครั้งที่1)
- กิจกรรมบำบัด ข้อเท้า ข้อเข่า โดยวิธีแช่น้ำเย็น (ลงสระ) (ครั้งที่2)
- กิจกรรมบำบัด ข้อเท้า ข้อเข่า โดยวิธีแช่น้ำร้อน (บ่อน้ำร้อน) (ครั้งที่1)
- กิจกรรมบำบัด ข้อเท้า ข้อเข่า โดยวิธีแช่น้ำร้อน (บ่อน้ำร้อน) (ครั้งที่2)
- กิจกรรมบำบัด ข้อเท้า ข้อเข่า โดยวิธีแช่น้ำเย็น (ลงสระ) (ครั้งที่3)
- กิจกรรมบำบัด ข้อเท้า ข้อเข่า โดยวิธีแช่น้ำเย็น (ลงสระ) (ครั้งที่4)
- กิจกรรมบำบัด ข้อเท้า ข้อเข่า โดยวิธีแช่น้ำร้อน (บ่อน้ำร้อน) (ครั้งที่3)
- กิจกรรมบำบัด ข้อเท้า ข้อเข่า โดยวิธีแช่น้ำร้อน (บ่อน้ำร้อน) (ครั้งที่4)
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้ | |
---|---|---|
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | ||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | ||
กลุ่มวัยทำงาน | 10 | |
กลุ่มผู้สูงอายุ | 60 | |
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | ||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] |
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
- ผู้สูงอายุมีความรู้และทักษะในการดูแล ป้องกัน และฟื้นฟูสุขภาพจากการเจ็บป่วย
- ผู้สูงอายุมีสุขภาพจิตที่ดี มีความสุขในการเข้าร่วมกิจกรรมทางสังคม
- ผู้สูงอายุมีสุขภาพข้อเท้า ข้อเข่า ดีขึ้นจากการได้รับการบำบัดฟื้นฟูข้อเท้าและข้อเข่า ด้วยระบบวารีบำบัด
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์** กิจกรรมของโครงการ | ผลผลิต* | |
---|---|---|
ผลผลิตที่ตั้งไว้ | ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง | |
1. กิจกรรมอบรมให้ความรู้และทักษะในการ ดูแล ป้องกัน และฟื้นฟูสุขภาพจากการเจ็บป่วย ควบคู่การสร้างบรรยากาศความสุข |
||
วันที่ 27 ธันวาคม 2561กิจกรรมที่ทำกิจกรรมอบรมให้ความรู้และทักษะในการ ดูแล ป้องกัน และฟื้นฟูสุขภาพจากการเจ็บป่วย ควบคู่การสร้างบรรยากาศความสุข ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นผู้สูงอายุได้ความรู้และความเข้าใจ และทักษะในการดูแลป้องกัน และฟื้นฟูสุขภาพจากการเจ็บป่วยโรคเรื้อรัง ข้อเท้า ข้อเข่า มากขึ้นร้อยละ 80 และสามารถนำไปประยุกต์ใช้ในชีวิตประจำวันของตนเองได้(บรรลุตามวัตถุประสงค์)
|
70 | 0 |
2. กิจกรรมนันทนาการ บริหารจิต (สร้างความสุขและรอยยิ้ม ให้ผู้สูงอายุ) |
||
วันที่ 27 ธันวาคม 2561กิจกรรมที่ทำกิจกรรมนันทนาการ บริหารจิต (สร้างความสุขและรอยยิ้ม ให้ผู้สูงอายุ) ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นผู้สูงอายุที่เข้าร่วมกิจกรรมมีสุขภาพจิตที่ดี มีความสุขในการเข้าร่วมกิจกรรมทางสังคมมากขึ้น ร้อยละ 80 (สามารถบรรลุตามวัตถุประสงค์) ผู้สูงอายุให้ความร่วมมือในการเข้าร่วมกิจกรรมเป็นอย่างดี กล้าแสดงออกและกล้าแสดงความคิดเห็นโดยร่วมตอบคำถามในการทำกิจกรรมร่วมกัน
|
70 | 0 |
3. กิจกรรมบำบัด ข้อเท้า ข้อเข่า โดยวิธีแช่น้ำเย็น (ลงสระ) (ครั้งที่1) |
||
วันที่ 7 กุมภาพันธ์ 2562กิจกรรมที่ทำกิจกรรมวารีบำบัด ข้อเท้า ข้อเข่า โดยวิธีแช่น้ำเย็น (ลงสระว่ายน้ำ) ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นผู้สูงอายุได้รับการบำบัดฟื้นฟูข้อเท้าและข้อเข่า ด้วยระบบวารีบำบัด
|
40 | 0 |
4. กิจกรรมบำบัด ข้อเท้า ข้อเข่า โดยวิธีแช่น้ำเย็น (ลงสระ) (ครั้งที่2) |
||
วันที่ 14 กุมภาพันธ์ 2562กิจกรรมที่ทำกิจกรรมวารีบำบัด ข้อเท้า ข้อเข่า โดยวิธีแช่น้ำเย็น (ลงสระว่ายน้ำ) ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นวัตถุประสงค์ข้อที่ 3 เพื่อให้ จากการทำกิจกรรมบำบัด ข้อเท้า ข่อเข่า โดยวิธีแช่น้ำเย็น (ลงสระ) (จำนวน 4 ครั้ง) และกิจกรรมวารีบำบัด ข้อเท้า ข่อเข่า โดยวิธีแช่น้ำร้อน (บ่อน้ำร้อน) (จำนวน 4 ครั้ง ) พบว่าผู้สูงอายุส่วนใหญ่สามารถลดอาการเจ็บป่วยด้วยโรคที่เกิดจาก ข้อเท้า และข้อเข่า และสามารถฟื้นฟูให้หายจากอาการเจ็บป่วยด้วยระบบวารีบำบัดได้ทั้งโดยวธีแช่น้ำเย็นและโดยวิธีแช่น้ำร้อน คิดเป็นร้อยละ 80 ซึ่งการที่จะไปแช่น้ำร้อนนั้นต้องตรวจดูสภาพอากาศด้วย ถ้าจะให้ผลได้ดีควรไปในช่วงเวลาตอนเช้า(สามารถบรรลุตามวัตถุประสงค์ ข้อที่ 3)
|
40 | 0 |
5. กิจกรรมบำบัด ข้อเท้า ข้อเข่า โดยวิธีแช่น้ำร้อน (บ่อน้ำร้อน) (ครั้งที่1) |
||
วันที่ 20 กุมภาพันธ์ 2562กิจกรรมที่ทำกิจกรรมวารีบำบัด ข้อเท้า ข้อเข่า โดยวิธีแช่น้ำร้อน ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นผู้สูงอายุได้รับการบำบัดฟื้นฟูข้อเท้าและข้อเข่า ด้วยระบบวารีบำบัด
|
40 | 0 |
6. กิจกรรมบำบัด ข้อเท้า ข้อเข่า โดยวิธีแช่น้ำร้อน (บ่อน้ำร้อน) (ครั้งที่2) |
||
วันที่ 28 กุมภาพันธ์ 2562กิจกรรมที่ทำกิจกรรมวารีบำบัด ข้อเท้า ข้อเข่า โดยวิธีแช่น้ำร้อน ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นผู้สูงอายุได้รับการบำบัดฟื้นฟูข้อเท้าและข้อเข่า ด้วยระบบวารีบำบัด
|
40 | 0 |
7. กิจกรรมบำบัด ข้อเท้า ข้อเข่า โดยวิธีแช่น้ำเย็น (ลงสระ) (ครั้งที่3) |
||
วันที่ 7 มีนาคม 2562กิจกรรมที่ทำกิจกรรมวารีบำบัด ข้อเท้า ข้อเข่า โดยวิธีแช่น้ำเย็นลงสระว่ายน้ำ ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นผู้สูงอายุได้รับการบำบัดฟื้นฟูข้อเท้าและข้อเข่า ด้วยระบบวารีบำบัด
|
40 | 0 |
8. กิจกรรมบำบัด ข้อเท้า ข้อเข่า โดยวิธีแช่น้ำเย็น (ลงสระ) (ครั้งที่4) |
||
วันที่ 13 มีนาคม 2562กิจกรรมที่ทำกิจกรรมวารีบำบัด ข้อเท้า ข้อเข่า โดยวิธีแช่น้ำเย็น ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นผู้สูงอายุได้รับการบำบัดฟื้นฟูข้อเท้าและข้อเข่า ด้วยระบบวารีบำบัด
|
40 | 0 |
9. กิจกรรมบำบัด ข้อเท้า ข้อเข่า โดยวิธีแช่น้ำร้อน (บ่อน้ำร้อน) (ครั้งที่3) |
||
วันที่ 21 มีนาคม 2562กิจกรรมที่ทำกิจกรรมวารีบำบัด ข้อเท้าข้อเข่า โดยวิธีแช้น้ำร้อน ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นผู้สูงอายุได้รับการบำบัดฟื้นฟูข้อเท้าและข้อเข่า ด้วยระบบวารีบำบัด
|
40 | 0 |
10. กิจกรรมบำบัด ข้อเท้า ข้อเข่า โดยวิธีแช่น้ำร้อน (บ่อน้ำร้อน) (ครั้งที่4) |
||
วันที่ 28 มีนาคม 2562กิจกรรมที่ทำกิจกรรมวารีบำบัด ข้อเท้า ข้อเข่า โดยวิธีแช่น้ำร้อน ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นวัตถุประสงค์ข้อที่ 3 เพื่อให้ผู้สูงอายุได้รับการบำบัดฟื้นฟูข้อเท้าและข้อเข่า ด้วยระบบวารีบำบัด
|
40 | 0 |
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ในการจัดทำโครงการดังกล่าว ได้กำหนดกลุ่มเป้าหมาย จำนวน 70 คน มีผู้เข้าร่วมโครงการ จำนวน79 คน คิดเป็นร้อยละ 112.86
1.1 ผู้จัดโครงการได้ใช้กิจกรมให้ความรู้และทักษะในการดูแลป้องกันและฟื้นฟูสุขภาพจากการเจ็บป่วย ควบคู่กับการสร้างบรรยากาศความสุข เพื่อให้กลุ่มเป้าหมายมีความสุขในการเรียนรู้เพิ่มมากขึ้น โดยได้ใช้กลยุทธ์ในการเล่นเกมส์แบ่งกลุ่มสะสมเงินรางวัล ลุ้นดวง เสี่ยงโชค วัดใจ ซึ่งจากการสังเกต พบว่า ผู้เข้ารับการอบรม มีความสามัคคีกัน มีการแบ่งหน้าที่ มีความกระตือรือล้นที่จะทำหน้าที่จะเรียนรู้ทำความเข้าใจและฝึกปฏิบัติอย่างดีมาก สามารถตอบคำถามก่อนการอบรมได้อย่างถูกต้องแม่นยำ สามารถฝึกปฏิบัติและออกมาสาธิตหน้าห้องได้อย่างถูกต้องและมีความคล่องแคล่ว บรรยากาศแข่งขันเล่นเกมส์มีความสนุกสนาน ผู้เข้าร่วมกิจกรรมหัวเราะยิ้มแย้มอย่างมีความสุข จากการประเมินผลความพึงพอใจของผู้เข้าร่วมโครงการ พบว่าผู้เข้าร่วมการอบรมมีความพึงพอใจในการเข้าร่วมการอบรมในภาพรวมคิดเป็นร้อยละ 100
จากกิจกรรมดังกล่าวสามารถสรุปผลตามวัตถุประสงค์ได้ดังนี้
-ผู้สูงอายุมีความรู้และทักษะในการป้องกันและฟื้นฟูสุขภาพจากการเจ็บป่วยโรคเรื้อรัง และ
ข้อเท้า ข้อเข่ามากขึ้น ร้อยละ 80 (สามารถบรรลุตามวัตถุประสงค์ ข้อที่ 1)
-ผู้สูงอายุที่เข้าร่วมกิจกรรมมีสุขภาพจิตที่ดี มีความสุขในการเข้าร่วมกิจกรรมทางสังคมมากขึ้น ร้อยละ 80 (สามารถบรรลุตามวัตถุประสงค์ ข้อที่ 2)
1.2 วัตถุประสงค์ข้อที่ 3 เพื่อให้ผู้สูงอายุได้รับการบำบัดฟื้นฟูข้อเท้าและข้อเข่า ด้วยระบบวารีบำบัด
จากการทำกิจกรรมบำบัด ข้อเท้า ข่อเข่า โดยวิธีแช่น้ำเย็น (ลงสระ) (จำนวน 4 ครั้ง) และกิจกรรมวารีบำบัด ข้อเท้า ข่อเข่า โดยวิธีแช่น้ำร้อน (บ่อน้ำร้อน) (จำนวน 4 ครั้ง ) พบว่าผู้สูงอายุส่วนใหญ่สามารถลดอาการเจ็บป่วยด้วยโรคที่เกิดจาก ข้อเท้า และข้อเข่า และสามารถฟื้นฟูให้หายจากอาการเจ็บป่วยด้วยระบบวารีบำบัดได้ทั้งโดยวธีแช่น้ำเย็นและโดยวิธีแช่น้ำร้อน คิดเป็นร้อยละ 80 ซึ่งการที่จะไปแช่น้ำร้อนนั้นต้องตรวจดูสภาพอากาศด้วย ถ้าจะให้ผลได้ดีควรไปในช่วงเวลาตอนเช้า(สามารถบรรลุตามวัตถุประสงค์ ข้อที่ 3) โดยมีเนื้อหาในการอบรม ดังนี้
ธาราบำบัด (Aquatic Therapy) คือการนำคุณสมบัติของน้ำมาใช้ในการบำบัดรักษาโรคหรืออาการผิดปกติต่างๆ โดยน้ำจะมีแรงลอยตัว ช่วนลดแรงกดดันข้อต่อ และการเคลื่อนไหวช้าๆในทิศทางต่างๆ น้ำจะเป็นเสมือนแรงพยุงช่วยให้เคลื่อนไหวได้ง่ายขึ้น ในขณะที่การเคลื่อนไหวในน้ำเร็วๆแรงๆนั้น ส่งผลให้น้ำกลายเป็นแรงต้านเพิ่มความแข็งแรงของกล้ามเนื้อนั้นเอง เมื่อเราประสบปัญหาปวดเข่า หรือได้รับบาดเจ็บทางเข่า เราก็ควรออกกำลังกายที่ไม่ใช้เข่า ซึ่งการออกกำลังกายภายในน้ำนอกจากจะมีการว่ายน้ำ การเดินหรือการวิ่งในน้ำ การเต้น Aerobic ในน้ำ ยังมีการออกกำลังกายชนิดหนึ่งที่กำลังเป็นที่สนใจในขณะนี้นั้นคือ ธาราบำบัด ซึ่งเหมาะสำหรับคนที่ ปวดเข่า หรือมีปัญหาทางเข่า
ธาราบำบัดในสระว่ายน้ำ
1. ปฏิบัติตามกฎของสระว่ายน้ำที่ให้บริการ(เปลี่ยนชุดเตรียมพร้อมการลงสระ อาบน้ำก่อนลงสระ)
2. นั่งขอบสระเพื่อใช้น้ำในสระถูกตัวเพื่อปรับอุณหภูมิน้ำร่างกายตั้งแต่มือถึงไหล่เท้าถึงสะเอว
3. ให้ทุกคนลงยืดกล้ามเนื้อด้วยตั้งแต่เท้าจนถึงศรีษะ
4. เดินรอบสระช้าๆใช้เวลา 6 นาที เดินเร็ว 4 นาที วิ่ง 2 นาที พัก 2 นาที
5. ให้ทุกคนยืนหันหลังเข้าขอบสระเข่าตั้งฉากข้างละ 10 ครั้ง
6. ให้ทุกคนยืนหันหลังเข้าขอบสระเข่าตั้งฉากพร้อมกับดันเท้าไปข้างหน้าข้างละ 10 ครั้ง
7. ให้ทุกคนยืนหันหลังเข้าขอบสระเข่าตั้งฉากพร้อมกับกางเข่าไปด้านข้างๆละ 10 ครั้ง
8. ให้ทุกคนยืนตะแครงข้างมือจับขอบสระกางขาด้านนอกขึ้นช้าๆ 10 ครั้ง แล้วสลับอีกข้างทำเหมือนเดิม 10 ครั้ง
9. ให้ทุกคนยืนตรงมือจับขอบสระดันส้นเท้าขึ้นลงช้าๆ 10 ครั้ง
10. ใช้อุปกรณ์ฮูล่าฮูปในการหมุนตัว วิธีการจับฮูล่าฮูปยืดแขนตรงและหมุนตัวไปด้านซ้ายและขวาอย่างช้าๆ 10 ครั้ง
11. ใช้อุปกรร์ดัมเบลในการยกด้วยแขน วิธีการให้จับดัมเบลแขนยืดไปด้านข้างขึ้นลงถึงสะโพกข้าละ 10 ครั้ง
12. ใช้ท่าสควอชในการขึ้นในน้ำ ให้ทุกคนยืนกางขาเท่ากับไหล่เหยียดมือตรงไปข้างหน้าเท่ากับไหล่แล้วย่อเข่าให้สะโพกตั้งฉากขึ้นลง 12 ครั้ง
13. ใช้ท่าสควอชในการขึ้นในน้ำ ให้ทุกคนยืนกางขาเท่ากับไหล่เหยียดมือขึ้นตรงเหนือศรีษะแล้วย่อเข่าให้สะโพกตั้งฉากขึ้นลง 12 ครั้ง
14. กิจกรรมเข้าจังหวะเต้นบาสโลบ
15. ยืดกล้ามเนื้อด้วยท่า Chicken Dance และท่ามณีเวช
16. ขึ้นจากสระอาบน้ำล้างตัว
น้ำพุร้อน(Onsen) น้ำแร่เป็นน้ำธรรมชาติที่เกิดจากการที่น้ำซึมผ่านชั้นของดินและหิน โดยจะมีแร่ธาตุต่างๆสะสมอยู่ซึ่งเป็นแร่ธาตุที่เป็นประโยชน์ต่อร่างกาย เช่น โซเดี่ยม แคลเซี่ยม ฟลูออไรด์
โปแตสเซี่ยม น้ำแร่แบ่งเป็นทั้งชิดเย็น(Coold)มีอุณหภูมิต่ำกว่า 20 c° ชนิดร้อนและชนิดร้อนจัด(Hyper Thermal) ซึ่งอุณหภูมิมากกว่า 42 c° ขึ้นไป น้ำแร่ชนิดร้อนนั้นเรียกว่า “น้ำพุร้อน” (Natural Hot Springs) ซึ่งเป็นปรากกการณ์ธรรมชาติที่มีน้ำร้อนไหลขึ้นมาจากชั้นใต้ดินของโลกที่ยังคงมีความร้อนอยู่ ประเทศไทยพบแหล่งน้ำพุร้อนกระจายอยู่ในภาคเหนือ ภาคตะวันตก ภาคกลาง และภาคใต้ ซึ่งมีอุณหภูมิน้ำร้อนที่ผิวดินอยู่ในช่วง 40-100 c° น้ำแร่นั้นสามารถนำมาใช้ดื่มและอาบได้ การอาบน้ำแร่/น้ำพุร้อน มนุษย์หลายเชื้อชาติในโลกมีความเชื่อมานานแล้วว่า การอาบน้ำแร่ร้อนจากน้ำพุร้อนจะทำให้สุขภาพดีขึ้นสามารถรักาและบรรเทาอาการบางอย่างที่เป็นสาเหตุของโรคต่างๆได้ โดยเฉพาะประเทศญี่ปุ่นนั้นมีสถานที่อาบน้ำแร่ร้อนหรือOnsen มากถึง 25,00 แห่ง ดังนั้นการอาบน้ำแร่น้ำพุร้อน จึงมีประโยชน์ต่อทุกคน คือ
1. บรรเทาอาการปวดกระดูก ปวดกล้ามเนื้อ
2. ช่วยให้โลหิตในร่างกายหมุนเวียนได้ดีขึ้นและช่วยลดความเครียดทั้งร่างกายและจิตใจ
3. ช่วยขยายหลอดเลือดทำให้ระบบเผาผลาญในร่างกายดีขึ้น
4. ช่วยขับสิ่งอุดตันใต้ผิวหนังและรูขุมขนทำให้ผิวหนังสะอาดบำรุงผิวพรรณให้สดใส
5. ช่วยในการดูดซึมแลกเปลี่ยนออกซิเจนและกลูโคสระหว่างเส้นเลือดฝอยและเนื้อเยื่อในส่วยต่างๆของร่างกาย
วิธีการแช่น้ำพุร้อน
1. ล้างร่างกายของคุณให้สะอาดก่อนที่คุณจะลงบ่อน้ำพุร้อน หรืออ่างอาบน้ำรวม คุณต้องล้างสิ่งสกปรกออกจากร่างกายให้หมดก่อนและล้างฟองสบู่ออกให้เรียบร้อยก่อนลงบ่อ
2. การใช้น้ำอุ่นราดตัว ราดน้ำจากบริเวณขาไปบริเวณเอว จากบริเวณนิ้วมือไปจนถึงหัวไหล่ คือการราดน้ำจากบริเวณไกลมาใกล้โดยเราเรียกวิธีนี้ว่า(คาเคยุ)เพื่อให้น้ำอุ่นปรับสภาพร่างกายของเราสุดท้ายให้ราดน้ำจากหัวเราซึ่งจะทำให้ไม่วิงเวียนศรีษะ
3. แช่น้ำร้อนครึ่งตัวให้คุ้นเคยค่อยๆหย่อนตัวลงไปในบ่อน้ำร้อน โดยในตอนแรกให้เข้าไปเพียงแค่ครึ่งตัว คือประมาช่วงท้อง เพื่อให้ร่างกายได้คุ้นเคยกับน้ำร้อนไม่เกิดปัญหาร่างกายปรับสภาพไม่ทันเพราะอุณหภูมิของน้ำร้อนและแรงดันน้ำพอร่างกายเริ่มอุ่นขึ้น เราควรที่จะขยับแขนขาให้คุ้นเคย
4. ข้อควรระวัง อย่าแช่ในอ่างอาบน้ำนานเกินไป คุณควรจะออกจากบ่อน้ำร้อนเมื่อหน้าผากและจมูกของคุณเริ่มมีเหงื่อไหล คุณไม่ควรที่จะแช่น้ำนานเกินไปจนเหงื่อหล่นจนใจเต้น
5. ไม่ควรอาบน้ำหลังจากขึ้นจากบ่อน้ำร้อน เพราะคุรได้รับส่วนผสมที่เป็นยาจากบ่อน้ำร้อนและไม่ควรที่จะล้างออกเพราะจะทำให้ประสิทธิผลของน้ำร้อนน้อยลงตาหากคุณมีผิวที่แพ้ง่ายจนอาจทำให้ผิวหนังอักเสบ จึงควรล้างออกด้วยน้ำสะอาด
6. เช็ดตัวให้เรียบร้อยก่อนออกจากห้องอาบน้ำ
7. ดื่มน้ำเยอะๆ ร่างกายของคุณได้เสียน้ำจำนวนมากจากการเสียเหงื่อ
8. พักผ่อนให้เพียงพอ คุณจะเสียพลังงานจำนวนมากจากการอาบน้ำความดันของคุณก็จะปลี่ยนเช่นกัน คุณควรจะทำการพัก 30 นาที เพื่อปรับสภาพร่างกายให้คงที่
มารยาทในการใช้บ่อน้ำพุร้อน
- ห้ามใส่ชุดว่ายน้ำเข้าไป
- กรุณาล้างตัวที่จุดอาบน้ำ ห้ามใช้น้ำร้อนจากบ่อล้างตัว
- ล้างสบู่ออกให้เรียบร้อยก่อนลงบ่อน้ำพุร้อน
- ไม่ควรนำผ้าเช็ดตัวไปช่ในบ่อน้ำพุร้อน
- ถ้าคุณมีผมยาวให้รวบผมของคุณ
- หากน้ำร้อนเกิดไป กรุราอย่าเพิ่มน้ำเอง
- ใช้ผ้าเช็ดตัวเย็นๆ วางไว้บนหัวของคุณกันอาการหน้ามืด
- กินน้ำและพักผ่อนให้เพียงพอหลังแช่บ่อน้ำพุร้อน
- ตามระเบียบแล้วเราจะไม่ให้คนที่เป็นรอยสักใช้บริการห้องอาบน้ำ
- เมื่อขึ้นจากบ่อน้ำพุร้อนแล้วให้เช็ดตัวของคุณให้เรียบร้อยก่อนเข้าห้องแต่งตัว
- ไม่ควรเข้าห้องน้ำทันทีหลังทานข้าวหรือดื่มแอลกอฮอล์
- ควรแช่บ่อน้ำพุร้อนสูงสุด 3 ครั้ง ใน 1 วันเพื่อไม่ให้ส่งผลเสียกับร่างกาย
- ห้ามซักผ้าในบริเวณที่อาบน้ำ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ | สถานการณ์ | เป้าหมาย | ผลผลิต | อธิบาย | |
---|---|---|---|---|---|
1 | ข้อที่ 1.เพื่อให้ผู้สูงอายุมีความรู้และทักษะในการดูแล ป้องกัน และฟื้นฟูสุขภาพจากการเจ็บป่วยโรคเรื้อรัง และข้อเท้า ข้อเข่า ตัวชี้วัด : ตัวชี้วัดความสำเร็จ ผู้ผู้สูงอายุมีความรู้และทักษะในการดูแล ป้องกัน และฟื้นฟูสุขภาพจากการเจ็บป่วยโรคเรื้อรัง และข้อเท้า ข้อเข่า มากขึ้น ร้อยละ 80 |
80.00 |
|
||
2 | ข้อที่ 2.เพื่อให้ผู้สูงอายุมีสุขภาพจิตที่ดี มีความสุขในการเข้าร่วมกิจกรรมทางสังคม ตัวชี้วัด : ร้อยละ 80 ผู้สูงอายุที่เข้าร่วมกิจกรรมมีสุขภาพจิตที่ดี มีความสุขในการเข้าร่วมกิจกรรมทางสังคม |
80.00 |
|
||
3 | ข้อที่ 3.เพื่อให้ผู้สูงอายุได้รับการบำบัดฟื้นฟูข้อเท้าและข้อเข่า ด้วยระบบวารีบำบัด ตัวชี้วัด : ร้อยละ 80 ผู้สูงอายุที่เข้าร่วมกิจกรรมได้รับการบำบัดฟื้นฟูข้อเท้าและข้อเข่า ด้วยระบบวารีบำบัด |
80.00 |
|
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
---|---|---|---|
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด | 70 | ||
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | |||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | - | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | - | ||
กลุ่มวัยทำงาน | 10 | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | 60 | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | |||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | - | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | - | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | - | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | - | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] | - |
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ข้อที่ 1.เพื่อให้ผู้สูงอายุมีความรู้และทักษะในการดูแล ป้องกัน และฟื้นฟูสุขภาพจากการเจ็บป่วยโรคเรื้อรัง และข้อเท้า ข้อเข่า (2) ข้อที่ 2.เพื่อให้ผู้สูงอายุมีสุขภาพจิตที่ดี มีความสุขในการเข้าร่วมกิจกรรมทางสังคม (3) ข้อที่ 3.เพื่อให้ผู้สูงอายุได้รับการบำบัดฟื้นฟูข้อเท้าและข้อเข่า ด้วยระบบวารีบำบัด
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) กิจกรรมอบรมให้ความรู้และทักษะในการ ดูแล ป้องกัน และฟื้นฟูสุขภาพจากการเจ็บป่วย ควบคู่การสร้างบรรยากาศความสุข (2) กิจกรรมนันทนาการ บริหารจิต (สร้างความสุขและรอยยิ้ม ให้ผู้สูงอายุ) (3) กิจกรรมบำบัด ข้อเท้า ข้อเข่า โดยวิธีแช่น้ำเย็น (ลงสระ) (ครั้งที่1) (4) กิจกรรมบำบัด ข้อเท้า ข้อเข่า โดยวิธีแช่น้ำเย็น (ลงสระ) (ครั้งที่2) (5) กิจกรรมบำบัด ข้อเท้า ข้อเข่า โดยวิธีแช่น้ำร้อน (บ่อน้ำร้อน) (ครั้งที่1) (6) กิจกรรมบำบัด ข้อเท้า ข้อเข่า โดยวิธีแช่น้ำร้อน (บ่อน้ำร้อน) (ครั้งที่2) (7) กิจกรรมบำบัด ข้อเท้า ข้อเข่า โดยวิธีแช่น้ำเย็น (ลงสระ) (ครั้งที่3) (8) กิจกรรมบำบัด ข้อเท้า ข้อเข่า โดยวิธีแช่น้ำเย็น (ลงสระ) (ครั้งที่4) (9) กิจกรรมบำบัด ข้อเท้า ข้อเข่า โดยวิธีแช่น้ำร้อน (บ่อน้ำร้อน) (ครั้งที่3) (10) กิจกรรมบำบัด ข้อเท้า ข้อเข่า โดยวิธีแช่น้ำร้อน (บ่อน้ำร้อน) (ครั้งที่4)
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค | สาเหตุ | ข้อเสนอแนะ |
---|---|---|
|
|
|
ส่วนที่ 3 ประเมินคุณค่าโครงการ
แบบประเมินคุณค่าของโครงการที่เกี่ยวข้องกับการสร้างเสริมสุขภาพ
ชื่อโครงการ โครงการกาย จิต สัมพันธ์ สร้างพลังต้านภัยโรค
รหัสโครงการ 62-L7580-3-01 ระยะเวลาโครงการ 27 ธันวาคม 2561 - 30 เมษายน 2562
แบบประเมินคุณค่าของโครงการที่เกี่ยวข้องกับการสร้างเสริมสุขภาพ เป็นการคุณค่าที่เกิดจากโครงการในมิติต่อไปนี้
- ความรู้ด้านการสร้างเสริมสุขภาพและนวัตกรรมเชิงระบบสุขภาพชุมชน
- การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่มีผลต่อสุขภาวะ
- การปรับเปลี่ยนสิ่งแวดล้อมที่เอื้อต่อสุขภาวะ
- ผลกระทบเชิงบวกและนโยบายสาธารณะที่เอื้อต่อการสร้างสุขภาวะชุมชน
- กระบวนการชุมชน
- มิติสุขภาวะปัญญา / สุขภาวะทางจิตวิญญาณ
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
1. เกิดความรู้ หรือ นวัตกรรมชุมชน
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
1. ความรู้ใหม่ / องค์ความรู้ใหม่
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
2. สิ่งประดิษฐ์ / ผลผลิตใหม่
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
3. กระบวนการใหม่
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
4. วิธีการทำงาน / การจัดการใหม่
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
5. การเกิดกลุ่ม / โครงสร้างในชุมชนใหม่
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
6. แหล่งเรียนรู้ใหม่
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
99. อื่นๆ
2. เกิดการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่เอื้อต่อสุขภาพ
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
1. การดูแลสุขอนามัยส่วนบุคคล
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
2. การบริโภค
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
3. การออกกำลังกาย
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
4. การลด ละ เลิก อบายมุข เช่น การพนัน เหล้า บุหรี่
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
5. การลดพฤติกรรมเสี่ยง เช่น พฤติกรรมเสี่ยงทางเพศ การขับรถโดยประมาท
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
6. การจัดการอารมณ์ / ความเครียด
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
7. การดำรงชีวิต / วิถีชีวิต เช่น การใช้ภูมิปัญญาท้องถิ่น / สมุนไพรในการดูแลสุขภาพตนเอง
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
8. พฤติกรรมการจัดการตนเอง ครอบครัว ชุมชน
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
9. อื่นๆ
3. การสร้างสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อสุขภาพ (กายภาพ สังคม และเศรษฐกิจ)
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
1. กายภาพ เช่น มีการจัดการขยะ ป่า น้ำ การใช้สารเคมีเกษตร และการสร้างสิ่งแวดล้อมในครัวเรือนที่ถูกสุขลักษณะ
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
2. สังคม เช่น มีความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สิน ลดการเกิดอุบัติเหตุ ครอบครัวอบอุ่น การจัดสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อเด็ก เยาวชน และกลุ่มวัยต่าง ๆ มีพื้นที่สาธารณะ/พื้นที่ทางสังคม เพื่อเอื้อต่อการส่งเสริมสุขภาพของคนในชุมชน มีการใช้ศาสนา/วัฒนธรรมเป็นฐานการพัฒนา
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
3. เศรษฐกิจสร้างสรรค์สังคม /สร้างอาชีพ / เพิ่มรายได้
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
4. มีการบริการสุขภาพทางเลือก และมีช่องทางการเข้าถึงระบบบริการสุขภาพ
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
5. อื่นๆ
4. การพัฒนานโยบายสาธารณะที่เอื้อต่อสุขภาวะ
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
1. มีกฎ / กติกา ของกลุ่ม ชุมชน
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
2. มีมาตรการทางสังคมของกลุ่ม ชุมชน
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
3. มีธรรมนูญของชุมชน
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
4. อื่นๆ เช่น ออกเป็นข้อบัญญัติท้องถิ่น ฯลฯ
5. เกิดกระบวนการชุมชน
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
1. เกิดการเชื่อมโยงประสานงานระหว่างกลุ่ม / เครือข่าย (ใน และหรือนอกชุมชน)
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
2. การเรียนรู้การแก้ปัญหาชุมชน (การประเมินปัญหา การวางแผน การปฏิบัติการ และการประเมิน)
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
3. การใช้ประโยชน์จากทุนในชุมชน เช่น การระดมทุน การใช้ทรัพยากรบุคคลในชุมชน
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
4. มีการขับเคลื่อนการดำเนินงานของกลุ่มและชุมชนที่เกิดจากโครงการอย่างต่อเนื่อง
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
5. เกิดกระบวนการจัดการความรู้ในชุมชน
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
6. เกิดทักษะในการจัดการโครงการ เช่น การใช้ข้อมูลในการตัดสินใจ การทำแผนปฏิบัติการ
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
7. อื่นๆ
6. มิติสุขภาวะปัญญา / สุขภาวะทางจิตวิญญาณ
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
1. ความรู้สึกภาคภูมิใจในตัวเอง / กลุ่ม / ชุมชน
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
2. การเห็นประโยชน์ส่วนรวมและส่วนตนอย่างสมดุล
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
3. การใช้ชีวิตอย่างเรียบง่าย และพอเพียง
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
4. ชุมชนมีความเอื้ออาทร
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
5. มีการตัดสินใจโดยใช้ฐานปัญญา
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
6. อื่นๆ
ชื่อโครงการ โครงการกาย จิต สัมพันธ์ สร้างพลังต้านภัยโรค
รหัสโครงการ 62-L7580-3-01 ระยะเวลาโครงการ 27 ธันวาคม 2561 - 30 เมษายน 2562
แบบประเมินคุณค่าของโครงการที่เกี่ยวข้องกับการสร้างเสริมสุขภาพ เป็นการคุณค่าที่เกิดจากโครงการในมิติต่อไปนี้
- ความรู้ด้านการสร้างเสริมสุขภาพและนวัตกรรมเชิงระบบสุขภาพชุมชน
- การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่มีผลต่อสุขภาวะ
- การปรับเปลี่ยนสิ่งแวดล้อมที่เอื้อต่อสุขภาวะ
- ผลกระทบเชิงบวกและนโยบายสาธารณะที่เอื้อต่อการสร้างสุขภาวะชุมชน
- กระบวนการชุมชน
- มิติสุขภาวะปัญญา / สุขภาวะทางจิตวิญญาณ
คุณค่าที่เกิดขึ้น ประเด็น | ผลที่เกิดขึ้น | รายละเอียด/การจัดการ | หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง | แนวทางการพัฒนาต่อ | |
---|---|---|---|---|---|
ใช่ | ไม่ใช่ | ||||
1. เกิดความรู้ หรือ นวัตกรรมชุมชน |
|||||
คุณค่าที่เกิดขึ้น ประเด็น | ผลที่เกิดขึ้น | รายละเอียด/การจัดการ | หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง | แนวทางการพัฒนาต่อ | |
ใช่ | ไม่ใช่ | ||||
1. ความรู้ใหม่ / องค์ความรู้ใหม่ |
|
|
|
||
คุณค่าที่เกิดขึ้น ประเด็น | ผลที่เกิดขึ้น | รายละเอียด/การจัดการ | หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง | แนวทางการพัฒนาต่อ | |
ใช่ | ไม่ใช่ | ||||
2. สิ่งประดิษฐ์ / ผลผลิตใหม่ |
|
|
|
||
คุณค่าที่เกิดขึ้น ประเด็น | ผลที่เกิดขึ้น | รายละเอียด/การจัดการ | หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง | แนวทางการพัฒนาต่อ | |
ใช่ | ไม่ใช่ | ||||
3. กระบวนการใหม่ |
|
|
|
||
คุณค่าที่เกิดขึ้น ประเด็น | ผลที่เกิดขึ้น | รายละเอียด/การจัดการ | หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง | แนวทางการพัฒนาต่อ | |
ใช่ | ไม่ใช่ | ||||
4. วิธีการทำงาน / การจัดการใหม่ |
|
|
|
||
คุณค่าที่เกิดขึ้น ประเด็น | ผลที่เกิดขึ้น | รายละเอียด/การจัดการ | หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง | แนวทางการพัฒนาต่อ | |
ใช่ | ไม่ใช่ | ||||
5. การเกิดกลุ่ม / โครงสร้างในชุมชนใหม่ |
|
|
|
||
คุณค่าที่เกิดขึ้น ประเด็น | ผลที่เกิดขึ้น | รายละเอียด/การจัดการ | หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง | แนวทางการพัฒนาต่อ | |
ใช่ | ไม่ใช่ | ||||
6. แหล่งเรียนรู้ใหม่ |
|
|
|
||
คุณค่าที่เกิดขึ้น ประเด็น | ผลที่เกิดขึ้น | รายละเอียด/การจัดการ | หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง | แนวทางการพัฒนาต่อ | |
ใช่ | ไม่ใช่ | ||||
99. อื่นๆ |
|
|
|
||
2. เกิดการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่เอื้อต่อสุขภาพ |
|||||
คุณค่าที่เกิดขึ้น ประเด็น | ผลที่เกิดขึ้น | รายละเอียด/การจัดการ | หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง | แนวทางการพัฒนาต่อ | |
ใช่ | ไม่ใช่ | ||||
1. การดูแลสุขอนามัยส่วนบุคคล |
|
|
|
||
คุณค่าที่เกิดขึ้น ประเด็น | ผลที่เกิดขึ้น | รายละเอียด/การจัดการ | หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง | แนวทางการพัฒนาต่อ | |
ใช่ | ไม่ใช่ | ||||
2. การบริโภค |
|
|
|
||
คุณค่าที่เกิดขึ้น ประเด็น | ผลที่เกิดขึ้น | รายละเอียด/การจัดการ | หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง | แนวทางการพัฒนาต่อ | |
ใช่ | ไม่ใช่ | ||||
3. การออกกำลังกาย |
|
|
|
||
คุณค่าที่เกิดขึ้น ประเด็น | ผลที่เกิดขึ้น | รายละเอียด/การจัดการ | หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง | แนวทางการพัฒนาต่อ | |
ใช่ | ไม่ใช่ | ||||
4. การลด ละ เลิก อบายมุข เช่น การพนัน เหล้า บุหรี่ |
|
|
|
||
คุณค่าที่เกิดขึ้น ประเด็น | ผลที่เกิดขึ้น | รายละเอียด/การจัดการ | หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง | แนวทางการพัฒนาต่อ | |
ใช่ | ไม่ใช่ | ||||
5. การลดพฤติกรรมเสี่ยง เช่น พฤติกรรมเสี่ยงทางเพศ การขับรถโดยประมาท |
|
|
|
||
คุณค่าที่เกิดขึ้น ประเด็น | ผลที่เกิดขึ้น | รายละเอียด/การจัดการ | หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง | แนวทางการพัฒนาต่อ | |
ใช่ | ไม่ใช่ | ||||
6. การจัดการอารมณ์ / ความเครียด |
|
|
|
||
คุณค่าที่เกิดขึ้น ประเด็น | ผลที่เกิดขึ้น | รายละเอียด/การจัดการ | หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง | แนวทางการพัฒนาต่อ | |
ใช่ | ไม่ใช่ | ||||
7. การดำรงชีวิต / วิถีชีวิต เช่น การใช้ภูมิปัญญาท้องถิ่น / สมุนไพรในการดูแลสุขภาพตนเอง |
|
|
|
||
คุณค่าที่เกิดขึ้น ประเด็น | ผลที่เกิดขึ้น | รายละเอียด/การจัดการ | หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง | แนวทางการพัฒนาต่อ | |
ใช่ | ไม่ใช่ | ||||
8. พฤติกรรมการจัดการตนเอง ครอบครัว ชุมชน |
|
|
|
||
คุณค่าที่เกิดขึ้น ประเด็น | ผลที่เกิดขึ้น | รายละเอียด/การจัดการ | หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง | แนวทางการพัฒนาต่อ | |
ใช่ | ไม่ใช่ | ||||
9. อื่นๆ |
|
|
|
||
3. การสร้างสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อสุขภาพ (กายภาพ สังคม และเศรษฐกิจ) |
|||||
คุณค่าที่เกิดขึ้น ประเด็น | ผลที่เกิดขึ้น | รายละเอียด/การจัดการ | หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง | แนวทางการพัฒนาต่อ | |
ใช่ | ไม่ใช่ | ||||
1. กายภาพ เช่น มีการจัดการขยะ ป่า น้ำ การใช้สารเคมีเกษตร และการสร้างสิ่งแวดล้อมในครัวเรือนที่ถูกสุขลักษณะ |
|
|
|
||
คุณค่าที่เกิดขึ้น ประเด็น | ผลที่เกิดขึ้น | รายละเอียด/การจัดการ | หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง | แนวทางการพัฒนาต่อ | |
ใช่ | ไม่ใช่ | ||||
2. สังคม เช่น มีความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สิน ลดการเกิดอุบัติเหตุ ครอบครัวอบอุ่น การจัดสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อเด็ก เยาวชน และกลุ่มวัยต่าง ๆ มีพื้นที่สาธารณะ/พื้นที่ทางสังคม เพื่อเอื้อต่อการส่งเสริมสุขภาพของคนในชุมชน มีการใช้ศาสนา/วัฒนธรรมเป็นฐานการพัฒนา |
|
|
|
||
คุณค่าที่เกิดขึ้น ประเด็น | ผลที่เกิดขึ้น | รายละเอียด/การจัดการ | หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง | แนวทางการพัฒนาต่อ | |
ใช่ | ไม่ใช่ | ||||
3. เศรษฐกิจสร้างสรรค์สังคม /สร้างอาชีพ / เพิ่มรายได้ |
|
|
|
||
คุณค่าที่เกิดขึ้น ประเด็น | ผลที่เกิดขึ้น | รายละเอียด/การจัดการ | หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง | แนวทางการพัฒนาต่อ | |
ใช่ | ไม่ใช่ | ||||
4. มีการบริการสุขภาพทางเลือก และมีช่องทางการเข้าถึงระบบบริการสุขภาพ |
|
|
|
||
คุณค่าที่เกิดขึ้น ประเด็น | ผลที่เกิดขึ้น | รายละเอียด/การจัดการ | หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง | แนวทางการพัฒนาต่อ | |
ใช่ | ไม่ใช่ | ||||
5. อื่นๆ |
|
|
|
||
4. การพัฒนานโยบายสาธารณะที่เอื้อต่อสุขภาวะ |
|||||
คุณค่าที่เกิดขึ้น ประเด็น | ผลที่เกิดขึ้น | รายละเอียด/การจัดการ | หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง | แนวทางการพัฒนาต่อ | |
ใช่ | ไม่ใช่ | ||||
1. มีกฎ / กติกา ของกลุ่ม ชุมชน |
|
|
|
||
คุณค่าที่เกิดขึ้น ประเด็น | ผลที่เกิดขึ้น | รายละเอียด/การจัดการ | หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง | แนวทางการพัฒนาต่อ | |
ใช่ | ไม่ใช่ | ||||
2. มีมาตรการทางสังคมของกลุ่ม ชุมชน |
|
|
|
||
คุณค่าที่เกิดขึ้น ประเด็น | ผลที่เกิดขึ้น | รายละเอียด/การจัดการ | หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง | แนวทางการพัฒนาต่อ | |
ใช่ | ไม่ใช่ | ||||
3. มีธรรมนูญของชุมชน |
|
|
|
||
คุณค่าที่เกิดขึ้น ประเด็น | ผลที่เกิดขึ้น | รายละเอียด/การจัดการ | หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง | แนวทางการพัฒนาต่อ | |
ใช่ | ไม่ใช่ | ||||
4. อื่นๆ เช่น ออกเป็นข้อบัญญัติท้องถิ่น ฯลฯ |
|
|
|
||
5. เกิดกระบวนการชุมชน |
|||||
คุณค่าที่เกิดขึ้น ประเด็น | ผลที่เกิดขึ้น | รายละเอียด/การจัดการ | หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง | แนวทางการพัฒนาต่อ | |
ใช่ | ไม่ใช่ | ||||
1. เกิดการเชื่อมโยงประสานงานระหว่างกลุ่ม / เครือข่าย (ใน และหรือนอกชุมชน) |
|
|
|
||
คุณค่าที่เกิดขึ้น ประเด็น | ผลที่เกิดขึ้น | รายละเอียด/การจัดการ | หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง | แนวทางการพัฒนาต่อ | |
ใช่ | ไม่ใช่ | ||||
2. การเรียนรู้การแก้ปัญหาชุมชน (การประเมินปัญหา การวางแผน การปฏิบัติการ และการประเมิน) |
|
|
|
||
คุณค่าที่เกิดขึ้น ประเด็น | ผลที่เกิดขึ้น | รายละเอียด/การจัดการ | หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง | แนวทางการพัฒนาต่อ | |
ใช่ | ไม่ใช่ | ||||
3. การใช้ประโยชน์จากทุนในชุมชน เช่น การระดมทุน การใช้ทรัพยากรบุคคลในชุมชน |
|
|
|
||
คุณค่าที่เกิดขึ้น ประเด็น | ผลที่เกิดขึ้น | รายละเอียด/การจัดการ | หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง | แนวทางการพัฒนาต่อ | |
ใช่ | ไม่ใช่ | ||||
4. มีการขับเคลื่อนการดำเนินงานของกลุ่มและชุมชนที่เกิดจากโครงการอย่างต่อเนื่อง |
|
|
|
||
คุณค่าที่เกิดขึ้น ประเด็น | ผลที่เกิดขึ้น | รายละเอียด/การจัดการ | หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง | แนวทางการพัฒนาต่อ | |
ใช่ | ไม่ใช่ | ||||
5. เกิดกระบวนการจัดการความรู้ในชุมชน |
|
|
|
||
คุณค่าที่เกิดขึ้น ประเด็น | ผลที่เกิดขึ้น | รายละเอียด/การจัดการ | หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง | แนวทางการพัฒนาต่อ | |
ใช่ | ไม่ใช่ | ||||
6. เกิดทักษะในการจัดการโครงการ เช่น การใช้ข้อมูลในการตัดสินใจ การทำแผนปฏิบัติการ |
|
|
|
||
คุณค่าที่เกิดขึ้น ประเด็น | ผลที่เกิดขึ้น | รายละเอียด/การจัดการ | หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง | แนวทางการพัฒนาต่อ | |
ใช่ | ไม่ใช่ | ||||
7. อื่นๆ |
|
|
|
||
6. มิติสุขภาวะปัญญา / สุขภาวะทางจิตวิญญาณ |
|||||
คุณค่าที่เกิดขึ้น ประเด็น | ผลที่เกิดขึ้น | รายละเอียด/การจัดการ | หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง | แนวทางการพัฒนาต่อ | |
ใช่ | ไม่ใช่ | ||||
1. ความรู้สึกภาคภูมิใจในตัวเอง / กลุ่ม / ชุมชน |
|
|
|
||
คุณค่าที่เกิดขึ้น ประเด็น | ผลที่เกิดขึ้น | รายละเอียด/การจัดการ | หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง | แนวทางการพัฒนาต่อ | |
ใช่ | ไม่ใช่ | ||||
2. การเห็นประโยชน์ส่วนรวมและส่วนตนอย่างสมดุล |
|
|
|
||
คุณค่าที่เกิดขึ้น ประเด็น | ผลที่เกิดขึ้น | รายละเอียด/การจัดการ | หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง | แนวทางการพัฒนาต่อ | |
ใช่ | ไม่ใช่ | ||||
3. การใช้ชีวิตอย่างเรียบง่าย และพอเพียง |
|
|
|
||
คุณค่าที่เกิดขึ้น ประเด็น | ผลที่เกิดขึ้น | รายละเอียด/การจัดการ | หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง | แนวทางการพัฒนาต่อ | |
ใช่ | ไม่ใช่ | ||||
4. ชุมชนมีความเอื้ออาทร |
|
|
|
||
คุณค่าที่เกิดขึ้น ประเด็น | ผลที่เกิดขึ้น | รายละเอียด/การจัดการ | หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง | แนวทางการพัฒนาต่อ | |
ใช่ | ไม่ใช่ | ||||
5. มีการตัดสินใจโดยใช้ฐานปัญญา |
|
|
|
||
คุณค่าที่เกิดขึ้น ประเด็น | ผลที่เกิดขึ้น | รายละเอียด/การจัดการ | หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง | แนวทางการพัฒนาต่อ | |
ใช่ | ไม่ใช่ | ||||
6. อื่นๆ |
|
|
|
||
โครงการกาย จิต สัมพันธ์ สร้างพลังต้านภัยโรค จังหวัด สตูล
รหัสโครงการ 62-L7580-3-01
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
( นายจเรรัตน์ โต๊ะหวันหลง )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......