กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ราตาปันยัง


“ โครงการนำพามารดาและทารกสู่สุขภาพดี ปี 2562 ”

ตำบลราตาปันยัง อำเภอยะหริ่ง จังหวัดปัตตานี

หัวหน้าโครงการ
นางอาซีซะ สามะแซ

ชื่อโครงการ โครงการนำพามารดาและทารกสู่สุขภาพดี ปี 2562

ที่อยู่ ตำบลราตาปันยัง อำเภอยะหริ่ง จังหวัดปัตตานี จังหวัด ปัตตานี

รหัสโครงการ 62-L3048-01-04 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 ธันวาคม 2561 ถึง 30 กันยายน 2562


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการนำพามารดาและทารกสู่สุขภาพดี ปี 2562 จังหวัดปัตตานี" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลราตาปันยัง อำเภอยะหริ่ง จังหวัดปัตตานี

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ราตาปันยัง ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการนำพามารดาและทารกสู่สุขภาพดี ปี 2562



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการนำพามารดาและทารกสู่สุขภาพดี ปี 2562 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลราตาปันยัง อำเภอยะหริ่ง จังหวัดปัตตานี รหัสโครงการ 62-L3048-01-04 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 ธันวาคม 2561 - 30 กันยายน 2562 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 35,360.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ราตาปันยัง เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

การพัฒนาประเทศให้มีการเจริญเติบโต แข็งแกร่ง ยั่งยืนในทุกด้าน ประการสำคัญมุ่งเน้นพัฒนาคนเป็นหลัก เพื่อให้ได้คุณภาพชีวิตที่ดีอย่างมีศักยภาพจะต้องเริ่มต้นตั้งแต่ปฏิสนธิในครรภ์เพราะเด็กเป็นรากฐานที่สำคัญในการพัฒนาให้เป็นผู้ใหญ่ที่มีคุณภาพในอนาคต โดยมารดาและเด็กจะได้รับการดูแลและส่งเสริมสุขภาพตั้งแต่ระยะตั้งครรภ์  ระยะคลอด หลังคลอด เมื่อเกิดมาแล้วต้องได้รับการเลี้ยงดูที่เหมาะสม เพื่อให้เติบโตสมวัยและเป็นผู้ใหญ่ที่มีคุณภาพต่อไปในอนาคต  แต่ปัจจุบัน ข้อมูลอนามัยแม่และเด็กตำบลราตาปันยัง ยังมีปัญหาหลายอย่างที่ต้องได้รับการแก้ไข เช่น พฤติกรรมการดูแลด้านสุขภาพที่ไม่ถูกต้อง ของหญิงตั้งครรภ์สามี ญาติ ในขณะตั้งครรภ์  การฝากครรภ์ไม่ครบ ๕ ครั้งตามเกณฑ์มาตรฐาน  หญิงมีครรภ์มารับการฝากครรภ์ครั้งแรกเมื่ออายุครรภ์มากกว่า ๑๒ สัปดาห์ และ คลอดที่บ้านกับผดุงครรภ์โบราณ  ซึ่งเป็นปัจจัยที่สำคัญ ที่ก่อให้เกิดภาวะเสี่ยงสูงต่อการทำให้เกิดปัญหาทั้งทางกายและจิตใจ การป่วย และการตายของมารดาจาการตั้งครรภ์และการคลอด และระยะหลังคลอดได้  จากการดำเนินงานอนามัยแม่และเด็กของตำบลราตาปันยัง ของปีที่ผ่านมา ผลการดำเนินงานดูแลหญิงตั้งครรภ์ที่มาฝากครรภ์ครบ ๕ ครั้งตามเกณฑ์คิดเป็นร้อยละ ๔๔.๖๔ (มากกว่าร้อยละ 90 ) มารับการฝากครรภ์ครั้งแรกอายุครรภ์น้อยกว่า ๑๒ สัปดาห์ ร้อยละ ๖๗.๓๖ ,มารดาคลอดที่บ้าน, คิดเป็นร้อยละ ๒๕.00(น้อยกว่าร้อยละ ๕)  จากปัญหาอนามัยแม่และเด็ก ดังกล่าว จะต้องอาศัยความร่วมมือและการมีส่วนร่วมดำเนินงานเพื่อแก้ไขปัญหา  องค์การบริหารส่วนตำบล ราตาปันยัง โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลราตาปันยัง และองค์กรในชุมชนทุกภาคส่วน ร่วมกันจัดทำแผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์การพัฒนาสุขภาพแม่และเด็ก ร่วมวางแผนแก้ไขปัญหาสุขภาพแม่และเด็ก แบบบูรณาการในตำบลต่อไป

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อให้หญิงตั้งครรภ์มีความรู้และตระหนักถึงความสำคัญของการฝากครรภ์และสามารถดูแลตนเองในระยะตั้งครรภ์ได้ ๒.เพื่อให้หญิงตั้งครรภ์ได้รับการดูแลในระยะตั้งครรภ์ได้อย่างมีคุณภาพ ได้แก่ -ฝากครรภ์ครบ ๕ ครั้งตามเกณฑ์-ฝากท้องก่อนอายุครรภ์ 3 เดือน –คลอดสถานบริการสาธารณสุข(โรงพยาบาล) ๓.ส่งเสริมการมีส่วนร่วมขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น แกนนำชุมชน และหน่วยงานที่เกี่ยวข้องในการดำเนินงานพัฒนาสุขภาพแม่และเด็ก ๔. เพื่อพัฒนาศักยภาพแกนนำอนามัยแม่และเด็กในแต่ละหมู่บ้านให้มีความรู้และสามารถ ให้คำแนะนำ แก่หญิงวัยเจริญพันธุ์ หญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอดให้มีพฤติกรรมใน การดูแลตนเองที่ถูกต้องเหมาะสม ๕. เพื่อให้หญิงตั้งครรภ์มีความรู้ความเข้าใจในการดูแลตนเองและมีพฤติกรรมในการดูแลตนเองที่ถูกต้องเหมาะสม

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. จัดประชุมเจ้าหน้าที่สาธารณสุขและอาสามัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้านเพื่อร่วมกันค้นหา ปัญหาเกี่ยวกับงานอนามัยแม่และเด็กในปีงบประมาณที่ผ่านมา ๒.แต่งตั้งคณะทำงาน ดำเนินงานโครงการ และแต่งตั้งคณะทำงานประชาสัมพันธ์ ๓. จัดอบรมให้ความรู้เรื่องงานอนามัยแม่และเด็ก

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

๑. เกิดการมีส่วนร่วมและได้รับความร่วมมือจาก องค์กรชุมชนและ องค์การบริหารส่วนตำบลราตาปันยัง ในการดำเนินงานแก้ไขปัญหาและพัฒนางานอนามัยแม่และเด็ก ๒. หญิงมีครรภ์ มีความรู้ ความเข้าใจ และ มีพฤติกรรมในการดูแลตนเองที่ถูกต้องขณะตั้งครรภ์ เพื่อลดภาวะเสี่ยงระยะตั้งครรภ์ ระยะคลอด และหลังคลอด   ๓. อสม , แกนนำชุมชน มีบทบาทในการส่งเสริมสุขภาพแม่และเด็กสามารถถ่ายทอดความรู้     สู่ชุมชนได้ และชุมชนมีแผนงาน  มีมาตรการทางสังคมเพื่อการพัฒนางานอนามัยแม่และเด็ก     โดยชุมชน


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. จัดประชุมเจ้าหน้าที่สาธารณสุขและอาสามัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้านเพื่อร่วมกันค้นหา ปัญหาเกี่ยวกับงานอนามัยแม่และเด็กในปีงบประมาณที่ผ่านมา ๒.แต่งตั้งคณะทำงาน ดำเนินงานโครงการ และแต่งตั้งคณะทำงานประชาสัมพันธ์ ๓. จัดอบรมให้ความรู้เรื่องงานอนามัยแม่และเด็ก

วันที่ 29 สิงหาคม 2562

กิจกรรมที่ทำ

-อบรมให้ความรู้พัฒนาศักยภาพแกนนำอนามัยแม่และเด็ก -ประชุมกลุ่มแกนนำในการติดตามหญิงตั้งครรภ์ที่มีภาวะเสี่ยง -หญิงตั้งครรภ์เข้าร่วมโครงการพ่อแม่

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

-เกิดการร่วมมือระหว่างองค์กรชุมชนและองค์การบริหารส่วนตำบลราตาปันยัง -หญิงมีครรภ์ มีความรู้ ความเข้าใจ และมีพฤติกรรมในการดูแลตนเองที่ถูกต้อง -อสม. แกนนำชุมชน มีบทบาทในการส่งเสริมสุขภาพแม่และเด็ก

 

152 0

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อให้หญิงตั้งครรภ์มีความรู้และตระหนักถึงความสำคัญของการฝากครรภ์และสามารถดูแลตนเองในระยะตั้งครรภ์ได้ ๒.เพื่อให้หญิงตั้งครรภ์ได้รับการดูแลในระยะตั้งครรภ์ได้อย่างมีคุณภาพ ได้แก่ -ฝากครรภ์ครบ ๕ ครั้งตามเกณฑ์-ฝากท้องก่อนอายุครรภ์ 3 เดือน –คลอดสถานบริการสาธารณสุข(โรงพยาบาล) ๓.ส่งเสริมการมีส่วนร่วมขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น แกนนำชุมชน และหน่วยงานที่เกี่ยวข้องในการดำเนินงานพัฒนาสุขภาพแม่และเด็ก ๔. เพื่อพัฒนาศักยภาพแกนนำอนามัยแม่และเด็กในแต่ละหมู่บ้านให้มีความรู้และสามารถ ให้คำแนะนำ แก่หญิงวัยเจริญพันธุ์ หญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอดให้มีพฤติกรรมใน การดูแลตนเองที่ถูกต้องเหมาะสม ๕. เพื่อให้หญิงตั้งครรภ์มีความรู้ความเข้าใจในการดูแลตนเองและมีพฤติกรรมในการดูแลตนเองที่ถูกต้องเหมาะสม
ตัวชี้วัด : ๑. เกิดการมีส่วนร่วมและได้รับความร่วมมือจาก องค์กรชุมชนและ องค์การบริหารส่วนตำบลราตาปันยัง ในการดำเนินงานแก้ไขปัญหาและพัฒนางานอนามัยแม่และเด็ก ๒. หญิงมีครรภ์ มีความรู้ ความเข้าใจ และ มีพฤติกรรมในการดูแลตนเองที่ถูกต้องขณะตั้งครรภ์ เพื่อลดภาวะเสี่ยงระยะตั้งครรภ์ ระยะคลอด และหลังคลอด ๓. อสม , แกนนำชุมชน มีบทบาทในการส่งเสริมสุขภาพแม่และเด็กสามารถถ่ายทอดความรู้ สู่ชุมชนได้ และชุมชนมีแผนงาน มีมาตรการทางสังคมเพื่อการพัฒนางานอนามัยแม่และเด็ก โดยชุมชน
0.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 0
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อให้หญิงตั้งครรภ์มีความรู้และตระหนักถึงความสำคัญของการฝากครรภ์และสามารถดูแลตนเองในระยะตั้งครรภ์ได้      ๒.เพื่อให้หญิงตั้งครรภ์ได้รับการดูแลในระยะตั้งครรภ์ได้อย่างมีคุณภาพ ได้แก่  -ฝากครรภ์ครบ ๕ ครั้งตามเกณฑ์-ฝากท้องก่อนอายุครรภ์ 3 เดือน –คลอดสถานบริการสาธารณสุข(โรงพยาบาล)    ๓.ส่งเสริมการมีส่วนร่วมขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น แกนนำชุมชน และหน่วยงานที่เกี่ยวข้องในการดำเนินงานพัฒนาสุขภาพแม่และเด็ก          ๔. เพื่อพัฒนาศักยภาพแกนนำอนามัยแม่และเด็กในแต่ละหมู่บ้านให้มีความรู้และสามารถ          ให้คำแนะนำ  แก่หญิงวัยเจริญพันธุ์  หญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอดให้มีพฤติกรรมใน          การดูแลตนเองที่ถูกต้องเหมาะสม          ๕. เพื่อให้หญิงตั้งครรภ์มีความรู้ความเข้าใจในการดูแลตนเองและมีพฤติกรรมในการดูแลตนเองที่ถูกต้องเหมาะสม

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) จัดประชุมเจ้าหน้าที่สาธารณสุขและอาสามัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้านเพื่อร่วมกันค้นหา      ปัญหาเกี่ยวกับงานอนามัยแม่และเด็กในปีงบประมาณที่ผ่านมา ๒.แต่งตั้งคณะทำงาน ดำเนินงานโครงการ และแต่งตั้งคณะทำงานประชาสัมพันธ์  ๓. จัดอบรมให้ความรู้เรื่องงานอนามัยแม่และเด็ก

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการนำพามารดาและทารกสู่สุขภาพดี ปี 2562 จังหวัด ปัตตานี

รหัสโครงการ 62-L3048-01-04

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นางอาซีซะ สามะแซ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด