กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลบ้านพร้าว


“ โครงการพัฒนาคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุเทศบาลตำบลบ้านพร้าว ”

ตำบลบ้านพร้าว อำเภอป่าพะยอม จังหวัดพัทลุง

หัวหน้าโครงการ
นายเปรม หมวกสังข์

ชื่อโครงการ โครงการพัฒนาคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุเทศบาลตำบลบ้านพร้าว

ที่อยู่ ตำบลบ้านพร้าว อำเภอป่าพะยอม จังหวัดพัทลุง จังหวัด พัทลุง

รหัสโครงการ 62-L3346-3-05 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 มกราคม 2562 ถึง 30 กันยายน 2562


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการพัฒนาคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุเทศบาลตำบลบ้านพร้าว จังหวัดพัทลุง" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลบ้านพร้าว อำเภอป่าพะยอม จังหวัดพัทลุง

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลบ้านพร้าว ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการพัฒนาคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุเทศบาลตำบลบ้านพร้าว



บทคัดย่อ

ศูนย์ส่งเสริมสุขภาพผู้สูงอายุ คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยทักษิณ ได้จัดกิจกรรมพัฒนาคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุเทศบาลตบลบ้านพร้าว ทั้งด้านร่างกายจิตใจ อารมณ์ สังคมและจิตวิญญาณ โดยเน้นการส่งเสริมสุขภาพและชะลอการเสื่อมของสมอง มีการจัดกิจกรรมทุกวันพุธ ยกเว้นวันหยุดนักขัตฤกษ์ ตั้งแต่เวลา 8.00 น.-13.30 น. โดยมีกิจกรรม 1) ตรวจสุขภาพ ให้สุขศึกษารายบุคคล 2)สร้างเสริมสุขภาวะกายจิต เต้นบาลโลบ และอยู่กับลมหายใจด้วยความเมตตา 3)สุนทรีสนทนา เรื่องราวประทับใจ 4)เทคโนโลยีและการสื่อสาร 5)ภาวะผู็นำและการใช้ชีวิตในสังคม โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ผูัสูงอายุในพื้นที่ มีสุขภาพร่างกาย จิตใจแข็งแรง มีสมาธิในการทำกิจกรรม มีความรู้และทักษะในการสร้างเสริมสุขภาพเกี่ยวกับการทำงานของสมอง (2) ผู้สูงอายุในพื้นที่ รู้สึก อบอุ่นใจที่มีคนมาเยี่ยม รู้สึกมีคุณค่า

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) กิจกรรมสร้างเสริมสุขภาวะกาย-จิต (2) กิจกรรมให้ความรู้

ข้อเสนอแนะ : จัดรถรับส่งสำหรับคนที่มาด้วยตนเองไม่ไได้และไม่มีใครมาส่ง

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

ตามที่มีการคาดการว่า ในปี 2568 มีผู็สูงอายุเพิ่มจำนวนขึ้นเป็นร้อยละ 21.2(ข้อมูลจากสำนักคณะกรรมการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ) ซึ่งในจำนวนผู้สูงอายุที่เพิ่มขึ้นทุกปีนี้ จะมีผู้สูงอายุที่มีสุขภาพดีสามารถช่วยเหลือตัวเองได้ ไม่เป็นภาระพึ่งพิงเป็นส่วนใหญ่ ในขณะที่อีกส่วนหนึ่งมีความจำเป็นที่จะต้องได้รับการดูแลจากคนในครอบครัว ชุมชน และสถานพยาบาล เพื่อรักษาและฟื้นฟูสภาพร่างกาย รวมทั้งประคับประคองช่วงเวลาสุดท้ายของชีวิตให้ดีที่สุด และในการส่งเสริมสุขภาพเพื่อป้องกันสมองเสื่อมของผู้อายุ เพื่อให้สมองได้ทำหน้าที่ต่างๆจนถึงวาระสุดท้ายของชีวิต เพราะสมองมนุษย์เป็นระบบที่มีความซับซ้อนและมีพลังมากที่สุด การทำงานของสมองจึงปรากฎให้เห็นในลักษณะการเคลื่อนไหวร่างกายในลักษณะต่างๆ เช่น การทำงาน การใช้ความคิด การเล่นกีฬา การเต้นรำ การร้องเพลง การเล่นดนตรี การแก้ปัญหาต่างๆ การรับรู้ที่ก่อให้เกิดอารมณ์และความรู้สึก ได้ตามความต้องการของเจ้าของสมอง ถ้าหากการทำงานของสมองเป็นปกติสมองก็จะสามารถสั่งการให้ร่างกายเคลื่อนไหวได้อย่างคล่องแคล่ว แต่ถ้ามีความผิดปกติหรือสมองเสื่อมจะส่งผลทำให้ไม่สามารถกำหนดการเคลื่อนไหวของร่างกายให้เป็นไปตามที่ต้องการหรือเกิดอาการกระตุกเกร็งขณะขยับเขยื้อนร่างกาย ซึ่งความเสื่อมส่วนหนึ่งขึ้นอยู่กับอายุ แต่อย่างไรก็ตามเซลของสมองสามารถพัฒนาได้เรื่อยๆถ้าสมองทั้ง 8 ส่วนได้มีการทำงานอย่างสมดุล ซึ่งสมอง 8 ส่วนประกอบด้วย สมองด้านการคิด สมองด้านอารมณ์ สมองด้านการสื่อสาร สมองด้านการเคลื่อนไหว สมองด้านความเข้าใจ สมองด้านการได้ยิน สมองด้านการมองเห็น และสมองด้านการจดจำ การจัดกิจกรรมส่งเสริมการทำงานของสมอง เพื่อป้องกันสมองเสื่อมในผู้สูงอายุเป็นส่วนหนึ่งของการเตรียมการรองรับโครงสร้างของประชากรผู้สูงอายุ โดยเฉพาะอย่างยิ่งกลุ่มผู้สูงอายุที่มีสุขภาพดีสามารถช่วยเหลือตัวเองได้ หากไม่ได้รับการดูแลที่ถูกต้อง จะเปลี่ยนเป็นสภาพเป็นผู้สูงอายุที่ต้อง จะเปลี่ยนสภาพเป็นผู้สูงอายุที่ต้องพึ่งพิงได้ก่อนเวลาอันควรกิจกรรมของศูนย์ฯเป็นการเน้นการส่งเสริมสุขภาพ ป้องกันโรค การชะลอความเสื่อมของสมอง เน้นกิจกรรมการกระตุ้นการทำงานของสมอง 8 ส่วน สร้างคุณค่าและการดูแลสุขภาพตนเองแบบองค์รวมของผู้สูงอายุ ซึงจากการสำรวจความต้องการ การรับบริการด้านการดูแลผู้สูงอายุซึ่งจากการสำรวจความต้องการรับบริการจากศูนญ์ส่งเสริมสุขภาพผู้สูงอายุ 26 ครัวเรือน คิดเป็นร้อยละ 86.6 กลุ่มสมาชิกศูนย์ส่งเสริมสุขภาพผู้สูงอายุ คณะพยาบาลศาสตร์มหาวิทยาลัยทักษิณ จึงได้จัดกิจกรรมส่งเสริมการทำงานของสมอง และกิจกรรมเยี่ยมบ้านผู้สูงอายุ ทั้งนี้เพื่อสร้างเสริมสุขภาพของผู้สูงอายุและชะลอการเสื่อมของร่างกายก่อนวัย

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. ผูัสูงอายุในพื้นที่ มีสุขภาพร่างกาย จิตใจแข็งแรง มีสมาธิในการทำกิจกรรม มีความรู้และทักษะในการสร้างเสริมสุขภาพเกี่ยวกับการทำงานของสมอง
  2. ผู้สูงอายุในพื้นที่ รู้สึก อบอุ่นใจที่มีคนมาเยี่ยม รู้สึกมีคุณค่า

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. กิจกรรมสร้างเสริมสุขภาวะกาย-จิต
  2. กิจกรรมให้ความรู้

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ 100
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

1.ผู้สูงอายุในพื้นที่มีสุขภาพร่างกาย จิตใจแข็งแรง มีสมาธิในการทำกิจกรรม มีความรุ้และทักษะในการสร้างเสิรมสุขภาพเกี่ยวกับการทำงานของสมอง 2.ผุ้สูงอายุรู้สึกอบอุ่น มีคุณค่า มีความสุข 3.สามารถพัฒนาการทำงานของสมอง ไม่เสื่อมและการรวมกลุ่มกันของผุ้สุงอายุทำให้ไม่เหงา ไม่รู้สึกโดดเดี่ยว มีการรับฟังความคิดเห็นของผุ้อื่น
4.สามารถสต้างแกนนำส่งเสริมสุขภาพการทำงานของสมองในชุมชนได้


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

ผู้สูงอายุที่เข้าร่วมโครงการมีความพึงพอใจในการจัดโครงการในระดับมากที่สุด คือ ได้คะแนนเฉลี่ย 4.7 หรือร้อยละ 94 ความสุขเพิ่มขึ้นจาก 3.9 ระดับมาก เป็น 4.52 ระดับมากที่สุด และมีค่าการทำงานของสมองด้านความรู้และความเข้าใจ ในระดับเพิ่มขึ้นคือ 26.29

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 ผูัสูงอายุในพื้นที่ มีสุขภาพร่างกาย จิตใจแข็งแรง มีสมาธิในการทำกิจกรรม มีความรู้และทักษะในการสร้างเสริมสุขภาพเกี่ยวกับการทำงานของสมอง
ตัวชี้วัด : ผู้สูงอายุสุขภาพแข็งแรง คะแนนความสุขและคะแนนการทำงานของสมองเพิ่มขึ้น
0.00 60.00

 

2 ผู้สูงอายุในพื้นที่ รู้สึก อบอุ่นใจที่มีคนมาเยี่ยม รู้สึกมีคุณค่า
ตัวชี้วัด : การสะท้อนคิดของผู้สูงอายุ ว่ารู้สึกอบอุ่นใจ รู้สึกมีคุณค่าและมีความพึงพอใจในการเยี่ยมบ้าน 3.5 ใน 5 คะแนน
0.00 60.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 100
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ 100
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

ศูนย์ส่งเสริมสุขภาพผู้สูงอายุ คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยทักษิณ ได้จัดกิจกรรมพัฒนาคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุเทศบาลตบลบ้านพร้าว ทั้งด้านร่างกายจิตใจ อารมณ์ สังคมและจิตวิญญาณ โดยเน้นการส่งเสริมสุขภาพและชะลอการเสื่อมของสมอง มีการจัดกิจกรรมทุกวันพุธ ยกเว้นวันหยุดนักขัตฤกษ์ ตั้งแต่เวลา 8.00 น.-13.30 น. โดยมีกิจกรรม 1) ตรวจสุขภาพ ให้สุขศึกษารายบุคคล 2)สร้างเสริมสุขภาวะกายจิต เต้นบาลโลบ และอยู่กับลมหายใจด้วยความเมตตา 3)สุนทรีสนทนา เรื่องราวประทับใจ 4)เทคโนโลยีและการสื่อสาร 5)ภาวะผู็นำและการใช้ชีวิตในสังคม โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ผูัสูงอายุในพื้นที่ มีสุขภาพร่างกาย จิตใจแข็งแรง มีสมาธิในการทำกิจกรรม มีความรู้และทักษะในการสร้างเสริมสุขภาพเกี่ยวกับการทำงานของสมอง (2) ผู้สูงอายุในพื้นที่ รู้สึก อบอุ่นใจที่มีคนมาเยี่ยม รู้สึกมีคุณค่า

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) กิจกรรมสร้างเสริมสุขภาวะกาย-จิต (2) กิจกรรมให้ความรู้

ข้อเสนอแนะ : จัดรถรับส่งสำหรับคนที่มาด้วยตนเองไม่ไได้และไม่มีใครมาส่ง

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


ส่วนที่ 3 ประเมินคุณค่าโครงการ

แบบประเมินคุณค่าของโครงการที่เกี่ยวข้องกับการสร้างเสริมสุขภาพ

ชื่อโครงการ โครงการพัฒนาคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุเทศบาลตำบลบ้านพร้าว

รหัสโครงการ 62-L3346-3-05 ระยะเวลาโครงการ 1 มกราคม 2562 - 30 กันยายน 2562

แบบประเมินคุณค่าของโครงการที่เกี่ยวข้องกับการสร้างเสริมสุขภาพ เป็นการคุณค่าที่เกิดจากโครงการในมิติต่อไปนี้

  • ความรู้ด้านการสร้างเสริมสุขภาพและนวัตกรรมเชิงระบบสุขภาพชุมชน
  • การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่มีผลต่อสุขภาวะ
  • การปรับเปลี่ยนสิ่งแวดล้อมที่เอื้อต่อสุขภาวะ
  • ผลกระทบเชิงบวกและนโยบายสาธารณะที่เอื้อต่อการสร้างสุขภาวะชุมชน
  • กระบวนการชุมชน
  • มิติสุขภาวะปัญญา / สุขภาวะทางจิตวิญญาณ

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่

1. เกิดความรู้ หรือ นวัตกรรมชุมชน

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. ความรู้ใหม่ / องค์ความรู้ใหม่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. สิ่งประดิษฐ์ / ผลผลิตใหม่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. กระบวนการใหม่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. วิธีการทำงาน / การจัดการใหม่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. การเกิดกลุ่ม / โครงสร้างในชุมชนใหม่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
6. แหล่งเรียนรู้ใหม่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
99. อื่นๆ

 

 

 

2. เกิดการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่เอื้อต่อสุขภาพ

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. การดูแลสุขอนามัยส่วนบุคคล

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. การบริโภค

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. การออกกำลังกาย

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. การลด ละ เลิก อบายมุข เช่น การพนัน เหล้า บุหรี่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. การลดพฤติกรรมเสี่ยง เช่น พฤติกรรมเสี่ยงทางเพศ การขับรถโดยประมาท

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
6. การจัดการอารมณ์ / ความเครียด

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
7. การดำรงชีวิต / วิถีชีวิต เช่น การใช้ภูมิปัญญาท้องถิ่น / สมุนไพรในการดูแลสุขภาพตนเอง

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
8. พฤติกรรมการจัดการตนเอง ครอบครัว ชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
9. อื่นๆ

 

 

 

3. การสร้างสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อสุขภาพ (กายภาพ สังคม และเศรษฐกิจ)

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. กายภาพ เช่น มีการจัดการขยะ ป่า น้ำ การใช้สารเคมีเกษตร และการสร้างสิ่งแวดล้อมในครัวเรือนที่ถูกสุขลักษณะ

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. สังคม เช่น มีความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สิน ลดการเกิดอุบัติเหตุ ครอบครัวอบอุ่น การจัดสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อเด็ก เยาวชน และกลุ่มวัยต่าง ๆ มีพื้นที่สาธารณะ/พื้นที่ทางสังคม เพื่อเอื้อต่อการส่งเสริมสุขภาพของคนในชุมชน มีการใช้ศาสนา/วัฒนธรรมเป็นฐานการพัฒนา

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. เศรษฐกิจสร้างสรรค์สังคม /สร้างอาชีพ / เพิ่มรายได้

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. มีการบริการสุขภาพทางเลือก และมีช่องทางการเข้าถึงระบบบริการสุขภาพ

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. อื่นๆ

 

 

 

4. การพัฒนานโยบายสาธารณะที่เอื้อต่อสุขภาวะ

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. มีกฎ / กติกา ของกลุ่ม ชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. มีมาตรการทางสังคมของกลุ่ม ชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. มีธรรมนูญของชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. อื่นๆ เช่น ออกเป็นข้อบัญญัติท้องถิ่น ฯลฯ

 

 

 

5. เกิดกระบวนการชุมชน

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. เกิดการเชื่อมโยงประสานงานระหว่างกลุ่ม / เครือข่าย (ใน และหรือนอกชุมชน)

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. การเรียนรู้การแก้ปัญหาชุมชน (การประเมินปัญหา การวางแผน การปฏิบัติการ และการประเมิน)

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. การใช้ประโยชน์จากทุนในชุมชน เช่น การระดมทุน การใช้ทรัพยากรบุคคลในชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. มีการขับเคลื่อนการดำเนินงานของกลุ่มและชุมชนที่เกิดจากโครงการอย่างต่อเนื่อง

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. เกิดกระบวนการจัดการความรู้ในชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
6. เกิดทักษะในการจัดการโครงการ เช่น การใช้ข้อมูลในการตัดสินใจ การทำแผนปฏิบัติการ

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
7. อื่นๆ

 

 

 

6. มิติสุขภาวะปัญญา / สุขภาวะทางจิตวิญญาณ

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. ความรู้สึกภาคภูมิใจในตัวเอง / กลุ่ม / ชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. การเห็นประโยชน์ส่วนรวมและส่วนตนอย่างสมดุล

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. การใช้ชีวิตอย่างเรียบง่าย และพอเพียง

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. ชุมชนมีความเอื้ออาทร

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. มีการตัดสินใจโดยใช้ฐานปัญญา

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
6. อื่นๆ

 

 

 

โครงการพัฒนาคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุเทศบาลตำบลบ้านพร้าว จังหวัด พัทลุง

รหัสโครงการ 62-L3346-3-05

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นายเปรม หมวกสังข์ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด