โครงการ ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการบริโภคผักปลอดสารพิษ และแปลงสาธิตผักปลอดสารพิษ ศูนย์บริการสาธารณสุขเตาหลวงเทศบาลนครสงขลา
แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์
รายงานฉบับสมบูรณ์
โครงการ
“ โครงการ ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการบริโภคผักปลอดสารพิษ และแปลงสาธิตผักปลอดสารพิษ ศูนย์บริการสาธารณสุขเตาหลวงเทศบาลนครสงขลา ”
อำเภอเมืองสงขลา จังหวัดสงขลา
หัวหน้าโครงการ
นางวสุธิดา นนทพันธ์ พยาบาลวิชาชีพชำนาญการพิเศษ
ได้รับการสนับสนุนโดย กองทุนหลักประกันสุขภาพ เทศบาลนครสงขลา
กันยายน 2560
ชื่อโครงการ โครงการ ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการบริโภคผักปลอดสารพิษ และแปลงสาธิตผักปลอดสารพิษ ศูนย์บริการสาธารณสุขเตาหลวงเทศบาลนครสงขลา
ที่อยู่ อำเภอเมืองสงขลา จังหวัดสงขลา จังหวัด สงขลา
รหัสโครงการ 60-L7250-1-17 เลขที่ข้อตกลง
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 31 มกราคม 2560 ถึง 30 กันยายน 2560
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการ ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการบริโภคผักปลอดสารพิษ และแปลงสาธิตผักปลอดสารพิษ ศูนย์บริการสาธารณสุขเตาหลวงเทศบาลนครสงขลา จังหวัดสงขลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน อำเภอเมืองสงขลา จังหวัดสงขลา
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนหลักประกันสุขภาพ เทศบาลนครสงขลา ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการ ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการบริโภคผักปลอดสารพิษ และแปลงสาธิตผักปลอดสารพิษ ศูนย์บริการสาธารณสุขเตาหลวงเทศบาลนครสงขลา
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการ ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการบริโภคผักปลอดสารพิษ และแปลงสาธิตผักปลอดสารพิษ ศูนย์บริการสาธารณสุขเตาหลวงเทศบาลนครสงขลา " ดำเนินการในพื้นที่ อำเภอเมืองสงขลา จังหวัดสงขลา รหัสโครงการ 60-L7250-1-17 ระยะเวลาการดำเนินงาน 31 มกราคม 2560 - 30 กันยายน 2560 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 68,180.00 บาท จาก กองทุนหลักประกันสุขภาพ เทศบาลนครสงขลา เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ »
บทคัดย่อ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล »
วัตถุประสงค์โครงการ »
กิจกรรม/การดำเนินงาน »
กลุ่มเป้าหมาย »
ผลลัพธ์ที่ได้ »
การประเมินผล »
ปัญหาและอุปสรรค »
ข้อเสนอแนะ »
เอกสารประกอบอื่นๆ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
ปัจจุบันเรื่องของปัญหาสุขภาพของประชาชนคนไทยเพิ่มทวีขึ้น ซึ่งเห็นได้จากสถิติของผู้ป่วยที่มารับบริการรักษาพยาบาลที่โรงพยาบาลมีจำนวนมากขึ้นเรื่อยๆ และอัตราการป่วย จากโรคที่ไม่ติดต่อ เพิ่มสูงขึ้น โรงพยาบาลก็ต้องเพิ่มขนาดของโรงพยาบาลเพื่อให้รองรับผู้ที่มารับบริการ ซึ่งเป็นภาระที่รัฐบาลจะต้องเสียงบประมาณในการดำเนินการเป็นอันมาก และเป็นการแก้ปัญหาที่ปลายเหตุ เนื่องจาก ต้นเหตุของปัญหาสุขภาพ ที่สำคัญมีสาเหตุ มาจากการบริโภคอาหารที่ไม่ถูกสุขลักษณะ อาหารที่มีการปลอมปนสารเคมี หรือ ผัก ที่ได้รับสารพิษเพราะเกษตรกรใช้สารกำจัดศัตรูพืช ทำให้สารเคมีที่เป็นโทษเหล่านั้น ตกอยู่กับผู้บริโภคอย่างยากที่จะหลีกเลี่ยง จากสถานการณ์ความปลอดภัยด้านอาหารในจังหวัดสงขลา อยู่ในระดับที่จำเป็นต้องบูรณาการแก้ไขปัญหา เนื่องจากการตรวจพบสารปนเปื้อนในอาหารสดโดยรถตรวจวิเคราะห์สารปนเปื้อนเคลื่อนที่ (Mobile Unit) ในปี 2555 พบว่า การตรวจพบสารเคมีทางการเกษตรตกมาตรฐาน คิดเป็นร้อยละ 11.45 หากแยกตามประเภทอาหารที่ตกมาตรฐานมากที่สุด 5 อันดับ อันดับแรก ได้แก่หัวหอม ใบบัวบก ต้นหอม กะหล่ำดอก ดอกหอม (สถานบันการจัดการระบบสุขภาพ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์,2559)แนวทางในการป้องกันปัญหาที่เป็นการแก้ปัญหาที่ต้นเหตุ แบบยั่งยืน คือการให้สุขศึกษาแก่ประชาชน และการส่งเสริมการปลูกผักเพื่อบริโภคในครัวเรือน แต่กระนั้น สำหรับประชาชนที่ไม่เคยปลูกผักเลยก็เป็นปัญหาใหญ่ ในการที่จะเริ่มต้นที่จะเรียนรู้การปลูกผักด้วยตนเอง
ดังนั้นศูนย์บริการสาธารณสุขเตาหลวง ได้เห็นความสำคัญของปัญหาดังกล่าว จึงได้จัดทำโครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการบริโภคผักปลอดสารพิษ และแปรงสาธิตผักปลอดสารพิษ ศูนย์บริการสาธารณสุขเตาหลวง เทศบาลนครสงขลา ขึ้น เพื่อส่งเสริมการสร้างพฤติกรรมและค่านิยมการบริโภคผักของประชาชนกลุ่มเป้าหมายให้มีสุขภาวะจากการบริโภค และมีความรู้ความเข้าใจในการที่จะเลือกบริโภคผักที่เหมาะสมและถูกต้องตามหลักโภชนาการ
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- 1. เพื่อให้ประชาชนกลุ่มเป้าหมาย สามารถ ปรับเปลี่ยนพฤติกรรม มาบริโภคผักปลอดสารพิษ
- 2. เพื่อให้ประชาชนกลุ่มเป้าหมายได้ทดลองปฏิบัติการปลูกผักปลอดสารพิษ
กิจกรรม/การดำเนินงาน
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
30
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
1.ประชาชนมีการปลูกและบริโภคผักปลอดสารพิษเพิ่มมากขึ้น
2.ประชาชนมีความรู้และตระหนักรวมถึงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการปลูกและบริโภคผักปลอดสารพิษ
3.ประชาชนได้ทำกิจกรรมร่วมกัน ทำให้เกิดความสามัคคีขึ้นในชุมชน
4.ประชาชนกลุ่มเสี่ยงซึ่งเป็นผู้บริโภคผัก ได้รับการตรวจหาสารเคมีในกระแสเลือด
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ ผลผลิต* ผลผลิตที่ตั้งไว้ ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
3.สรุปกิจกรรม ที่ได้ดำเนินการ มีดังนี้
1. ประชุมชี้แจงโครงการแก่เจ้าหน้าที่ผู้เกี่ยวข้อง/คณะทำงาน และแกนนำ อสม./ประชาชนในชุมชนเพื่อชี้แจงรายละเอียดโครงการ และรายละเอียดกิจกรรม และติดตามการดำเนินงานโครงการ
2. จัดกิจกรรมให้ความรู้การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการบริโภคผักปลอดสารพิษและการปฏิบัติตนที่ถูกต้องในการป้องกันสารเคมีกำจัดศัตรูพืช
3. ตรวจสารเคมีในเลือดกลุ่มเป้าหมายโดยใช้กระดาษทดสอบ Reactive paper ก่อนดำเนินกิจกรรมบริโภคผักปลอดสารพิษจำนวน ๓๐ คน ผลการตรวจหาระดับเอ็นไซม์โคลีนเอสเตอเรส พบว่า ปกติ จำนวน 3 คน ปลอดภัย จำนวน 13 คน มีความเสี่ยง จำนวน 8 คน และไม่ปลอดภัย จำนวน 6 คน
4.จัดอบรมเชิงปฏิบัติการเกี่ยวกับวิธีการปลูกผักปลอดสารพิษ ปัจจัยควบคุมการเจริญเติบโตของสิ่งมีชีวิต วิธีการปลูกพืชแบบไม่ใช้ดิน ข้อดีการปลูกพืชแบบไฮโดรโพนิคส์ข้อควรรู้เกี่ยวกับการปลูกพืชแบบไฮโดรโพนิคส์ ในเรื่องเมล็ดพันธ์ น้ำเลี้ยงระบบ ปั๊มน้ำและอัตราการไหล การเตรียมสารละลายอาหารพืชเข้มข้น และการเจือจางใช้งาน การปลูกและการดูแลรักษาและการป้องกันสารเคมีกำจัดศัตรูพืช
5.กลุ่มเป้าหมายดำเนินการปลูกผักปลอดสารพิษและบริโภคผักปลอดสารพิษดำเนินการปลูกผักปลอดสารพิษในแปลงสาธิต ณ ศูนย์บริการสาธารณสุขเตาหลวง จำนวน ๒ แปลง
6. ติดตามการตรวจเลือดกลุ่มเป้าหมายโดยใช้กระดาษทดสอบReactive paper หลังบริโภคผักปลอดสารพิษจำนวน ๓๐ คน ผลการตรวจหาระดับเอ็นไซม์โคลีนเอสเตอเรส พบว่า ปกติ จำนวน 5 คน ปลอดภัย จำนวน 19 คน มีความเสี่ยง จำนวน 4 คน และไม่ปลอดภัย จำนวน 2 คน
7. ติดตามและตรวจเยี่ยมประเมินการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการบริโภคผักปลอดสารพิษ
6. การประเมินผล สรุปโครงการ
- สรุปการใช้งบประมาณ
5.1 งบประมาณที่ได้รับจัดสรร จำนวนทั้งสิ้น 68,180 บาท
5.2 งบประมาณที่ใช้จริง จำนวนทั้งสิ้น 54,980 บาท
ดังรายการต่อไปนี้
- ค่าป้ายโครงการ730 บาท x 2 ป้าย จำนวนทั้งสิ้น 1,460 บาท
- ค่าชุดสาธิตปลูกสำเร็จรูประบบ NFT จำนวนทั้งสิ้น 40,000 บาท
ขนาด 1.5 x 6 เมตร x 20,000 บาท x 2 ชุด
- ค่าเมล็ดพันธุ์ ปุ๋ยและอุปกรณ์อื่นๆ จำนวนทั้งสิ้น 7,500 บาท
- ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม จำนวนทั้งสิ้น 1,500 บาท
- ค่าอาหารกลางวัน จำนวนทั้งสิ้น 1,500 บาท
- ค่าวิทยากร จำนวนทั้งสิ้น 1,500 บาท
- ค่าแผ่นตรวจ Reactive paper จำนวนทั้งสิ้น 800 บาท
- ค่าจัดทำเอกสารและวัสดุ (ใบปลิว) จำนวนทั้งสิ้น 720 บาท
รวม 54,980 บาท
5.3 เหลือคืนกองทุนหลักประกันสุขภาพเทศบาลนครสงขลาจำนวนทั้งสิ้น 13,200 บาท
หมายเหตุ: ยอดเงินคงเหลือเนื่องจาก
- ในการจัดซื้อเมล็ดพันธุ์ ปุ๋ยและอุปกรณ์อื่น ๆ เกิดข้อท้วงติงจากทาง สตง. ว่าควรมีการปลูกแค่ 2 รอบในช่วงดำเนินโครงการเพราะเป็นแค่เพียงแปลงสาธิต จึงเหลือเงินคืน จำนวน 9,680 บาท
-ค่าแผ่นตรวจ Reactive paper เหลือคืน 3,200 บาท
- ค่าจัดทำเอกสารสรุปโครงการ เหลือคืน 300 บาท
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ สถานการณ์ เป้าหมาย ผลผลิต อธิบาย
1
1. เพื่อให้ประชาชนกลุ่มเป้าหมาย สามารถ ปรับเปลี่ยนพฤติกรรม มาบริโภคผักปลอดสารพิษ
ตัวชี้วัด : 1. ร้อยละ 80 ของกลุ่มเป้าหมาย ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการ เลือกบริโภคผักปลอดสารพิษ
2
2. เพื่อให้ประชาชนกลุ่มเป้าหมายได้ทดลองปฏิบัติการปลูกผักปลอดสารพิษ
ตัวชี้วัด : 2. มีแปลงสาธิต การปลูกผักปลอดสารพิษอย่างต่อเนื่อง
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด
30
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
-
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
-
กลุ่มวัยทำงาน
-
กลุ่มผู้สูงอายุ
-
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
-
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
-
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
-
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
30
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
-
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1. เพื่อให้ประชาชนกลุ่มเป้าหมาย สามารถ ปรับเปลี่ยนพฤติกรรม มาบริโภคผักปลอดสารพิษ (2) 2. เพื่อให้ประชาชนกลุ่มเป้าหมายได้ทดลองปฏิบัติการปลูกผักปลอดสารพิษ
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *- บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
- หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค สาเหตุ ข้อเสนอแนะ
โครงการ ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการบริโภคผักปลอดสารพิษ และแปลงสาธิตผักปลอดสารพิษ ศูนย์บริการสาธารณสุขเตาหลวงเทศบาลนครสงขลา จังหวัด สงขลา
รหัสโครงการ 60-L7250-1-17
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
................................
( นางวสุธิดา นนทพันธ์ พยาบาลวิชาชีพชำนาญการพิเศษ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......
โครงการ
“ โครงการ ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการบริโภคผักปลอดสารพิษ และแปลงสาธิตผักปลอดสารพิษ ศูนย์บริการสาธารณสุขเตาหลวงเทศบาลนครสงขลา ”
อำเภอเมืองสงขลา จังหวัดสงขลา
หัวหน้าโครงการ
นางวสุธิดา นนทพันธ์ พยาบาลวิชาชีพชำนาญการพิเศษ
กันยายน 2560
ที่อยู่ อำเภอเมืองสงขลา จังหวัดสงขลา จังหวัด สงขลา
รหัสโครงการ 60-L7250-1-17 เลขที่ข้อตกลง
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 31 มกราคม 2560 ถึง 30 กันยายน 2560
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการ ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการบริโภคผักปลอดสารพิษ และแปลงสาธิตผักปลอดสารพิษ ศูนย์บริการสาธารณสุขเตาหลวงเทศบาลนครสงขลา จังหวัดสงขลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน อำเภอเมืองสงขลา จังหวัดสงขลา
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนหลักประกันสุขภาพ เทศบาลนครสงขลา ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการ ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการบริโภคผักปลอดสารพิษ และแปลงสาธิตผักปลอดสารพิษ ศูนย์บริการสาธารณสุขเตาหลวงเทศบาลนครสงขลา
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการ ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการบริโภคผักปลอดสารพิษ และแปลงสาธิตผักปลอดสารพิษ ศูนย์บริการสาธารณสุขเตาหลวงเทศบาลนครสงขลา " ดำเนินการในพื้นที่ อำเภอเมืองสงขลา จังหวัดสงขลา รหัสโครงการ 60-L7250-1-17 ระยะเวลาการดำเนินงาน 31 มกราคม 2560 - 30 กันยายน 2560 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 68,180.00 บาท จาก กองทุนหลักประกันสุขภาพ เทศบาลนครสงขลา เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ | » |
บทคัดย่อ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล | » |
วัตถุประสงค์โครงการ | » |
กิจกรรม/การดำเนินงาน | » |
กลุ่มเป้าหมาย | » |
ผลลัพธ์ที่ได้ | » |
การประเมินผล | » |
ปัญหาและอุปสรรค | » |
ข้อเสนอแนะ | » |
เอกสารประกอบอื่นๆ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
ปัจจุบันเรื่องของปัญหาสุขภาพของประชาชนคนไทยเพิ่มทวีขึ้น ซึ่งเห็นได้จากสถิติของผู้ป่วยที่มารับบริการรักษาพยาบาลที่โรงพยาบาลมีจำนวนมากขึ้นเรื่อยๆ และอัตราการป่วย จากโรคที่ไม่ติดต่อ เพิ่มสูงขึ้น โรงพยาบาลก็ต้องเพิ่มขนาดของโรงพยาบาลเพื่อให้รองรับผู้ที่มารับบริการ ซึ่งเป็นภาระที่รัฐบาลจะต้องเสียงบประมาณในการดำเนินการเป็นอันมาก และเป็นการแก้ปัญหาที่ปลายเหตุ เนื่องจาก ต้นเหตุของปัญหาสุขภาพ ที่สำคัญมีสาเหตุ มาจากการบริโภคอาหารที่ไม่ถูกสุขลักษณะ อาหารที่มีการปลอมปนสารเคมี หรือ ผัก ที่ได้รับสารพิษเพราะเกษตรกรใช้สารกำจัดศัตรูพืช ทำให้สารเคมีที่เป็นโทษเหล่านั้น ตกอยู่กับผู้บริโภคอย่างยากที่จะหลีกเลี่ยง จากสถานการณ์ความปลอดภัยด้านอาหารในจังหวัดสงขลา อยู่ในระดับที่จำเป็นต้องบูรณาการแก้ไขปัญหา เนื่องจากการตรวจพบสารปนเปื้อนในอาหารสดโดยรถตรวจวิเคราะห์สารปนเปื้อนเคลื่อนที่ (Mobile Unit) ในปี 2555 พบว่า การตรวจพบสารเคมีทางการเกษตรตกมาตรฐาน คิดเป็นร้อยละ 11.45 หากแยกตามประเภทอาหารที่ตกมาตรฐานมากที่สุด 5 อันดับ อันดับแรก ได้แก่หัวหอม ใบบัวบก ต้นหอม กะหล่ำดอก ดอกหอม (สถานบันการจัดการระบบสุขภาพ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์,2559)แนวทางในการป้องกันปัญหาที่เป็นการแก้ปัญหาที่ต้นเหตุ แบบยั่งยืน คือการให้สุขศึกษาแก่ประชาชน และการส่งเสริมการปลูกผักเพื่อบริโภคในครัวเรือน แต่กระนั้น สำหรับประชาชนที่ไม่เคยปลูกผักเลยก็เป็นปัญหาใหญ่ ในการที่จะเริ่มต้นที่จะเรียนรู้การปลูกผักด้วยตนเอง ดังนั้นศูนย์บริการสาธารณสุขเตาหลวง ได้เห็นความสำคัญของปัญหาดังกล่าว จึงได้จัดทำโครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการบริโภคผักปลอดสารพิษ และแปรงสาธิตผักปลอดสารพิษ ศูนย์บริการสาธารณสุขเตาหลวง เทศบาลนครสงขลา ขึ้น เพื่อส่งเสริมการสร้างพฤติกรรมและค่านิยมการบริโภคผักของประชาชนกลุ่มเป้าหมายให้มีสุขภาวะจากการบริโภค และมีความรู้ความเข้าใจในการที่จะเลือกบริโภคผักที่เหมาะสมและถูกต้องตามหลักโภชนาการ
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- 1. เพื่อให้ประชาชนกลุ่มเป้าหมาย สามารถ ปรับเปลี่ยนพฤติกรรม มาบริโภคผักปลอดสารพิษ
- 2. เพื่อให้ประชาชนกลุ่มเป้าหมายได้ทดลองปฏิบัติการปลูกผักปลอดสารพิษ
กิจกรรม/การดำเนินงาน
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้ | |
---|---|---|
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | ||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | ||
กลุ่มวัยทำงาน | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | ||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | 30 | |
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] |
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
1.ประชาชนมีการปลูกและบริโภคผักปลอดสารพิษเพิ่มมากขึ้น 2.ประชาชนมีความรู้และตระหนักรวมถึงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการปลูกและบริโภคผักปลอดสารพิษ 3.ประชาชนได้ทำกิจกรรมร่วมกัน ทำให้เกิดความสามัคคีขึ้นในชุมชน 4.ประชาชนกลุ่มเสี่ยงซึ่งเป็นผู้บริโภคผัก ได้รับการตรวจหาสารเคมีในกระแสเลือด
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์** กิจกรรมของโครงการ | ผลผลิต* | |
---|---|---|
ผลผลิตที่ตั้งไว้ | ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง |
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
3.สรุปกิจกรรม ที่ได้ดำเนินการ มีดังนี้
1. ประชุมชี้แจงโครงการแก่เจ้าหน้าที่ผู้เกี่ยวข้อง/คณะทำงาน และแกนนำ อสม./ประชาชนในชุมชนเพื่อชี้แจงรายละเอียดโครงการ และรายละเอียดกิจกรรม และติดตามการดำเนินงานโครงการ
2. จัดกิจกรรมให้ความรู้การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการบริโภคผักปลอดสารพิษและการปฏิบัติตนที่ถูกต้องในการป้องกันสารเคมีกำจัดศัตรูพืช
3. ตรวจสารเคมีในเลือดกลุ่มเป้าหมายโดยใช้กระดาษทดสอบ Reactive paper ก่อนดำเนินกิจกรรมบริโภคผักปลอดสารพิษจำนวน ๓๐ คน ผลการตรวจหาระดับเอ็นไซม์โคลีนเอสเตอเรส พบว่า ปกติ จำนวน 3 คน ปลอดภัย จำนวน 13 คน มีความเสี่ยง จำนวน 8 คน และไม่ปลอดภัย จำนวน 6 คน
4.จัดอบรมเชิงปฏิบัติการเกี่ยวกับวิธีการปลูกผักปลอดสารพิษ ปัจจัยควบคุมการเจริญเติบโตของสิ่งมีชีวิต วิธีการปลูกพืชแบบไม่ใช้ดิน ข้อดีการปลูกพืชแบบไฮโดรโพนิคส์ข้อควรรู้เกี่ยวกับการปลูกพืชแบบไฮโดรโพนิคส์ ในเรื่องเมล็ดพันธ์ น้ำเลี้ยงระบบ ปั๊มน้ำและอัตราการไหล การเตรียมสารละลายอาหารพืชเข้มข้น และการเจือจางใช้งาน การปลูกและการดูแลรักษาและการป้องกันสารเคมีกำจัดศัตรูพืช
5.กลุ่มเป้าหมายดำเนินการปลูกผักปลอดสารพิษและบริโภคผักปลอดสารพิษดำเนินการปลูกผักปลอดสารพิษในแปลงสาธิต ณ ศูนย์บริการสาธารณสุขเตาหลวง จำนวน ๒ แปลง
6. ติดตามการตรวจเลือดกลุ่มเป้าหมายโดยใช้กระดาษทดสอบReactive paper หลังบริโภคผักปลอดสารพิษจำนวน ๓๐ คน ผลการตรวจหาระดับเอ็นไซม์โคลีนเอสเตอเรส พบว่า ปกติ จำนวน 5 คน ปลอดภัย จำนวน 19 คน มีความเสี่ยง จำนวน 4 คน และไม่ปลอดภัย จำนวน 2 คน
7. ติดตามและตรวจเยี่ยมประเมินการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการบริโภคผักปลอดสารพิษ
6. การประเมินผล สรุปโครงการ
- สรุปการใช้งบประมาณ
5.1 งบประมาณที่ได้รับจัดสรร จำนวนทั้งสิ้น 68,180 บาท
5.2 งบประมาณที่ใช้จริง จำนวนทั้งสิ้น 54,980 บาท
ดังรายการต่อไปนี้
- ค่าป้ายโครงการ730 บาท x 2 ป้าย จำนวนทั้งสิ้น 1,460 บาท
- ค่าชุดสาธิตปลูกสำเร็จรูประบบ NFT จำนวนทั้งสิ้น 40,000 บาท ขนาด 1.5 x 6 เมตร x 20,000 บาท x 2 ชุด
- ค่าเมล็ดพันธุ์ ปุ๋ยและอุปกรณ์อื่นๆ จำนวนทั้งสิ้น 7,500 บาท
- ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม จำนวนทั้งสิ้น 1,500 บาท
- ค่าอาหารกลางวัน จำนวนทั้งสิ้น 1,500 บาท
- ค่าวิทยากร จำนวนทั้งสิ้น 1,500 บาท
- ค่าแผ่นตรวจ Reactive paper จำนวนทั้งสิ้น 800 บาท
- ค่าจัดทำเอกสารและวัสดุ (ใบปลิว) จำนวนทั้งสิ้น 720 บาท รวม 54,980 บาท 5.3 เหลือคืนกองทุนหลักประกันสุขภาพเทศบาลนครสงขลาจำนวนทั้งสิ้น 13,200 บาท หมายเหตุ: ยอดเงินคงเหลือเนื่องจาก
- ในการจัดซื้อเมล็ดพันธุ์ ปุ๋ยและอุปกรณ์อื่น ๆ เกิดข้อท้วงติงจากทาง สตง. ว่าควรมีการปลูกแค่ 2 รอบในช่วงดำเนินโครงการเพราะเป็นแค่เพียงแปลงสาธิต จึงเหลือเงินคืน จำนวน 9,680 บาท -ค่าแผ่นตรวจ Reactive paper เหลือคืน 3,200 บาท - ค่าจัดทำเอกสารสรุปโครงการ เหลือคืน 300 บาท
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ | สถานการณ์ | เป้าหมาย | ผลผลิต | อธิบาย | |
---|---|---|---|---|---|
1 | 1. เพื่อให้ประชาชนกลุ่มเป้าหมาย สามารถ ปรับเปลี่ยนพฤติกรรม มาบริโภคผักปลอดสารพิษ ตัวชี้วัด : 1. ร้อยละ 80 ของกลุ่มเป้าหมาย ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการ เลือกบริโภคผักปลอดสารพิษ |
|
|||
2 | 2. เพื่อให้ประชาชนกลุ่มเป้าหมายได้ทดลองปฏิบัติการปลูกผักปลอดสารพิษ ตัวชี้วัด : 2. มีแปลงสาธิต การปลูกผักปลอดสารพิษอย่างต่อเนื่อง |
|
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
---|---|---|---|
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด | 30 | ||
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | |||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | - | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | - | ||
กลุ่มวัยทำงาน | - | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | - | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | |||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | - | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | - | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | - | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | 30 | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] | - |
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1. เพื่อให้ประชาชนกลุ่มเป้าหมาย สามารถ ปรับเปลี่ยนพฤติกรรม มาบริโภคผักปลอดสารพิษ (2) 2. เพื่อให้ประชาชนกลุ่มเป้าหมายได้ทดลองปฏิบัติการปลูกผักปลอดสารพิษ
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค | สาเหตุ | ข้อเสนอแนะ |
---|---|---|
|
|
|
โครงการ ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการบริโภคผักปลอดสารพิษ และแปลงสาธิตผักปลอดสารพิษ ศูนย์บริการสาธารณสุขเตาหลวงเทศบาลนครสงขลา จังหวัด สงขลา
รหัสโครงการ 60-L7250-1-17
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
( นางวสุธิดา นนทพันธ์ พยาบาลวิชาชีพชำนาญการพิเศษ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......