กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลโคกชะงาย


“ โครงการส่งเสริมคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุ ”

ตำบลโคกชะงาย อำเภอเมืองพัทลุง จังหวัดพัทลุง

หัวหน้าโครงการ
ร้อยตรี สุริยา นวลเต็ม

ชื่อโครงการ โครงการส่งเสริมคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุ

ที่อยู่ ตำบลโคกชะงาย อำเภอเมืองพัทลุง จังหวัดพัทลุง จังหวัด พัทลุง

รหัสโครงการ 2562-L3351-02-11 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 มกราคม 2562 ถึง 31 กรกฎาคม 2562


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการส่งเสริมคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุ จังหวัดพัทลุง" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลโคกชะงาย อำเภอเมืองพัทลุง จังหวัดพัทลุง

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลโคกชะงาย ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการส่งเสริมคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุ



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการส่งเสริมคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุ " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลโคกชะงาย อำเภอเมืองพัทลุง จังหวัดพัทลุง รหัสโครงการ 2562-L3351-02-11 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 มกราคม 2562 - 31 กรกฎาคม 2562 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 35,800.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลโคกชะงาย เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

สำนักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ รายงานว่าในปี 2564 ประเทศไทยเข้าสู่สังคมผู้สูงอายุอย่างสมบูรณ์ ในปี พ.ศ. 2561 สัดส่วนประชากรผู้สูงอายุ (อายุ 60 ปี ขึ้นไป) เพิ่มขึ้นเป็นร้อยละ 20 โดยมีประชากรผู้สูงอายุมากกว่าเด็ก และคิดเป็นสัดส่วนประมาณ 1 ใน 5 ของประชากรทั้งหมด เมื่อเทียบกับประเทศในสมาชิกอาเซียนด้วยกัน พบว่า ประเทศไทยมีผู้สูงอายุ สูงเป็นอันดับที่ 2 คือ ร้อยละ 16 รองจากประเทศสิงคโปร์ คือ ร้อยละ 18 อายุเฉลี่ยของคนไทยเพิ่มขึ้นเป็น 75 ปี เมื่อสำรวจสุขภาพของประชาชน พบว่า ร้อยละ 75.5 สามารถดูแลตัวเองได้ ร้อยละ 19 ต้องพึ่งพาผู้ดูแลบ้าง และร้อยละ 1.5 ไม่สามารถช่วยเหลือตัวเองได้ต้องพึ่งพิงผู้ดูแล เมื่ออายุเพิ่มขึ้นระบบการทำงานของอวัยวะต่างๆในร่างกายเริ่มเสื่อมถอย ทำให้เกิดโรคเรื้อรังต่างๆ เช่น โรคเบาหวาน โรคความดันโลหิตสูง โรคหัวใจ โรคสมองเสื่อม เป็นต้น อีกทั้งปัจจุบันครอบครัวไทยได้เปลี่ยนจากครอบครัวขยายเป็นครอบครัวเดี่ยว สมาชิกในครอบครัวต้องออกไปทำงานนอกบ้านหรือต่างจังหวัด ทำให้ผู้สูงอายุอาศัยอยู่บ้านตามลำพังเมื่อเกิดการเจ็บป่วยไม่สามารถมารับบริการจากสถานบริการสาธารณสุขได้ ดังนั้นปัจจัยส่วนบุคคล ปัจจัยด้านสภาพแวดล้อม และด้านระบบการเข้าถึงบริการ ส่งผลต่อคุณภาพชีวิตของผู้สูงอายุ กระทรวงสาธารณสุขจึงให้ความสำคัญกับการดูแลสุขภาพตนเองของผู้สูงอายุ การดูแลสุขภาพให้มีสมดุลทางด้านสุขภาพกาย สุขภาพจิต รวมทั้งการอยู่ร่วมกับสังคมได้อย่างปกติสุข ทำให้ผู้สูงอายุมีความพึงพอใจในการดำรงชีวิตในกิจวัตรประจำวัน สามารถดูแลตนเองได้และเป็นที่พึ่งให้กับบุตรหลานในครอบครัว ส่งผลให้ผู้สูงอายุมีคุณภาพชีวิตที่ดี การส่งเสริมพฤติกรรมสุขภาพที่พึงประสงค์ให้ผู้สูงอายุจึงมีความสำคัญ ซึ่งกิจกรรมที่พึงประสงค์ ประกอบด้วย5 กิจกรรม ได้แก่ 1) การออกกําลังกาย 2) รับประทานผักสดและผลไม้สด 3) ดื่มนํ้าสะอาดอย่างน้อยวันละ 8 แก้ว 4) ไม่ดื่มสุราหรือเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ และ 5) ไม่สูบบุหรี่ ในเขตรับผิดชอบของโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านโคกชะงาย มีประชากรผู้สูงอายุทั้งหมด 531 คน ในปี 2561 มีผู้ป่วยด้วยโรคความดันโลหิตสูง 253 คน โรคเบาหวาน จำนวน 77 คน โรคหลอดเลือดสมอง จำนวน 32 คน ชมรมผู้สูงอายุของโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านโคกชะงายได้ดำเนินการ ประเมินผู้สูงอายุในพื้นที่รับผิดชอบ พบว่า เป็นผู้สูงอายุที่ติดสังคมมากที่สุด 458 คน ติดบ้าน 65 คน และติดเตียง 8 คน ที่น่ากังวล คือ แนวโน้มมีผู้สูงอายุติดเตียงเพิ่มขึ้นทุกปี อีกทั้งยังมีผู้สูงอายุที่มีพฤติกรรมสุขภาพที่ไม่พึงประสงค์ ดังนั้นชมรมผู้สูงอายุโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านโคกชะงายและภาคีเครือข่ายจึงได้จัดทำโครงการส่งเสริมคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุขึ้น โดยมีกิจกรรมที่ช่วยส่งเสริมสุขภาพทางด้านร่างกาย และจิตใจ เพื่อให้ผู้สูงอายุมีความรู้ในการดูแลตนเองเบื้องต้นและปฏิบัติจนเป็นนิสัย ส่งผลให้ผู้สูงอายุมีพฤติกรรมสุขภาพที่พึงประสงค์ทั้ง 5 กิจกรรม สามารถดำรงชีวิตในแต่ละวันได้อย่างมีความสุข ลดอัตราป่วยด้วยโรคเรื้อรัง และป้องกันการเกิดภาวะแทรกซ้อนในผู้ที่ป่วยแล้ว

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อให้ผู้สูงอายุมีความรู้ ความเข้าใจ และสามารถปฏิบัติตนเกี่ยวกับพฤติกรรมสุขภาพที่พึงประสงค์และเหมาะสมกับวัย

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. 1.อบรมให้ความรู้การดูแลสุขภาพ การออกกำลังกาย
  2. 2.อบรมให้ความรู้เมนูสุขภาพสำหรับผู้สูงอายุ
  3. 3.แลกเปลี่ยนเรียนรู้นอกสถานที่/ปฏิบัติธรรม

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ 100
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

ผู้สูงอายุมีสุขภาพทางด้านร่างกาย จิตใจที่ดี สามารถใช้ชีวิตประจำวันได้อย่างมีความสุข และลดภาวะแทรกซ้อนในผู้สูงอายุที่ป่วยด้วยโรคเรื้อรัง


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. 1.อบรมให้ความรู้การดูแลสุขภาพ การออกกำลังกาย

วันที่ 14 กุมภาพันธ์ 2562

กิจกรรมที่ทำ

อบรมให้ความรู้

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ผู้เข้าร่วมประชุม 100 %  บรรลุตามวัตถุประสงค์

 

100 0

2. 2.อบรมให้ความรู้เมนูสุขภาพสำหรับผู้สูงอายุ

วันที่ 15 กุมภาพันธ์ 2562

กิจกรรมที่ทำ

อบรมให้ความรู้

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

โครงการบรรลุตามวัตถุประสงค์  มีผู้เข้าร่วมโครงการร้อยละ 100

 

50 0

3. 3.แลกเปลี่ยนเรียนรู้นอกสถานที่/ปฏิบัติธรรม

วันที่ 21 กุมภาพันธ์ 2562

กิจกรรมที่ทำ

แลกเปบี่ยนเรียนรู้และปฏิบัติธรรมที่วัด

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ผู้เข้าร่วมกิจกรรม50  คน  บรรลุตามวัตถุประสงค์

 

50 0

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อให้ผู้สูงอายุมีความรู้ ความเข้าใจ และสามารถปฏิบัติตนเกี่ยวกับพฤติกรรมสุขภาพที่พึงประสงค์และเหมาะสมกับวัย
ตัวชี้วัด : 1. ผู้สูงอายุผ่านเกณฑ์การประเมินสุขภาพไม่ต่ำกว่า ร้อยละ 65 2.ร้อยละของผู้สูงอายุที่มีระดับความสุขเพิ่มขึ้นไม่น้อยกว่าร้อยละ 70
100.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 100
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ 100
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อให้ผู้สูงอายุมีความรู้ ความเข้าใจ และสามารถปฏิบัติตนเกี่ยวกับพฤติกรรมสุขภาพที่พึงประสงค์และเหมาะสมกับวัย

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) 1.อบรมให้ความรู้การดูแลสุขภาพ การออกกำลังกาย (2) 2.อบรมให้ความรู้เมนูสุขภาพสำหรับผู้สูงอายุ (3) 3.แลกเปลี่ยนเรียนรู้นอกสถานที่/ปฏิบัติธรรม

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการส่งเสริมคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุ จังหวัด พัทลุง

รหัสโครงการ 2562-L3351-02-11

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( ร้อยตรี สุริยา นวลเต็ม )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด