กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลคลองขุด


“ โครงการชุมชนต่อต้านยาเสพติด สถานีตำรวจภูธรเมืองสตูล ”

ตำบลคลองขุด อำเภอเมืองสตูล จังหวัดสตูล

หัวหน้าโครงการ
พันตำรวจโทภุชงค์ สงวนจิตร

ชื่อโครงการ โครงการชุมชนต่อต้านยาเสพติด สถานีตำรวจภูธรเมืองสตูล

ที่อยู่ ตำบลคลองขุด อำเภอเมืองสตูล จังหวัดสตูล จังหวัด สตูล

รหัสโครงการ 62-L5300-2-5 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 16 มกราคม 2562 ถึง 31 มกราคม 2562


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการชุมชนต่อต้านยาเสพติด สถานีตำรวจภูธรเมืองสตูล จังหวัดสตูล" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลคลองขุด อำเภอเมืองสตูล จังหวัดสตูล

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลคลองขุด ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการชุมชนต่อต้านยาเสพติด สถานีตำรวจภูธรเมืองสตูล



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการชุมชนต่อต้านยาเสพติด สถานีตำรวจภูธรเมืองสตูล " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลคลองขุด อำเภอเมืองสตูล จังหวัดสตูล รหัสโครงการ 62-L5300-2-5 ระยะเวลาการดำเนินงาน 16 มกราคม 2562 - 31 มกราคม 2562 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 18,060.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลคลองขุด เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

สถานการณ์ปัญหายาเสพติดเป็นภัยคุกคามต่อความมั่นคงทางเศรษฐกิจและสังคมไทยที่นับวันจะทวีความรุนแรงมากยิ่งขึ้นประกอบกับปัจจัยที่เอื้อต่อการเกิดและแพร่หลายของยาเสพติดยังคงดำรงอยู่และขยายตัวอย่างต่อเนื่อง การแพร่ระบาดของยาเสพติดที่ลุกลามอย่างรวดเร็วเข้าสู่ชุมชนจำนวนมาก เป็นปัญหาที่ส่งผลกระทบอย่างรุนแรงต่อความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สินของประชาชน ความสงบเรียบร้อยของสังคมตลอดจนเป็นภัยต่อความมั่นคงของชาติ แม้ว่ารัฐบาลได้มีมาตรการในการปราบปรามโดยประกาศสงครามกับยาเสพติด ซึ่งการปราบปรามก็ได้ผลในระดับหนึ่ง แต่ยาเสพติดก็ยังได้แพร่ระบาดต่อไปอีกอย่างรวดเร็ว ตามสถานศึกษา สถานประกอบการ หน่วยงาน และชุมชนต่างๆ จึงจำเป็นต้องแสวงหาความร่วมมือกับประชาชน ทุกรูปแบบ เพื่อดำเนินการแก้ไขปัญหาการแพร่ระบาดของยาเสพติด พื้นที่ตำบลคลองขุดเป็นพื้นที่ที่อยู่ในความรับผิดชอบของสถานีตำรวจภูธรเมืองสตูล ซึ่งเป็นพื้นที่หนึ่งที่มีแนวโน้มสถานการณ์ปัญหาการแพร่ระบาดของยาเสพติด สถานีตำรวจภูธรเมืองสตูลเป็นหน่วยงานหนึ่งที่มีหน้าที่โดยตรงในการป้องกัน ปราบปรามและแก้ไขปัญหาเสพติดในพื้นที่รับผิดชอบ จึงได้ดำเนินการจัดทำ “โครงการชุมชนหมู่บ้าน(ต่อต้านยาเสพติด) สถานีตำรวจภูธรเมืองสตูล ปีงบประมาณ ๒๕๖๒” ตามนโยบายของรัฐบาลและแผนปฏิบัติการป้องกันปราบปราบและแก้ไขปัญหายาเสพติด สำนักงานตำรวจแห่งชาติ พ.ศ.๒๕๖๒ เพื่อเป็นแนวทางในการปฏิบัติการป้องกัน ปราบปรามและหยุดยั้งการแพร่ระบาดของยาเสพติดในชุมชนในเขตตำบลคลองขุดขึ้น

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อเพิ่มมาตรการทางสังคม หรือแนวทางปฏิบัติในเชิงนโยบายของชุมชน หรือการสร้างข้อตกลงร่วมในการเฝ้าระวังยาเสพติดในชุมชน
  2. เพื่อเพิ่มกำลังคนและเครือข่ายเพื่อการเฝ้าระวังยาเสพติดในชุมชน

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. จัดทำประชาคม นำเสนอประเด็นเกี่ยวกับยาเสพติด

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน 72
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

ผลผลิต 1. ทราบสภาพปัญหายาเสพติดและการดำเนินการป้องกันปราบปรามและแก้ไขปัญหายาเสพติดในชุมชน
2. ภาคีเครือข่าย หน่วยงานภาครัฐ องค์กรเอกชน องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นและภาคประชาชนในพื้นที่ สามารถกำหนดกติกาหรือธรรมนูญชุมชนด้านการป้องกันและแก้ไขปัญหายาเสพติดในพื้นที่ ผลลัพธ์ 1.สร้างองค์ความรู้ในการป้องกันและแก้ไขปัญหายาเสพติดในชุมชน หมู่บ้านและสร้างความร่วมมือของชุมชน

  1. สร้างคณะกรรมการชุมชน หมู่บ้าน ให้เข้มแข็งสามารถรับภารกิจการแก้ไขปัญหายาเสพติดในชุมชน หมู่บ้าน เพื่อดำเนินการต่อ โดยมีหน่วยงานราชการที่เกี่ยวข้องสนับสนุนการปฏิบัติ รักษาสภาพพื้นที่ ติดตามควบคุมพฤติกรรมกลุ่มเป้าหมาย ที่ผ่านกระบวนการเฝ้าระวัง สร้างเครือข่ายและดำรงความสัมพันธ์ระหว่างชุมชนและเจ้าหน้าที่อย่างสม่ำเสมอ

ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. จัดทำประชาคม นำเสนอประเด็นเกี่ยวกับยาเสพติด

วันที่ 19 มกราคม 2562

กิจกรรมที่ทำ

จัดวิทยากรกระบวนการ ทำหน้าที่หลักในการดำเนินการตามแนวทางการจัดทำประชาคม นำเสนอประเด็นเกี่ยวกับยาเสพติด ความจำเป็นและผลที่ได้รับ โดยจัดผู้สร้างบรรยากาศ ทำหน้าที่ช่วยเหลือวิทยากรกระบวนการ เพื่อสนับสนุนข้อมูลสำคัญ ที่เกี่ยวข้องกับกระบวนการจัดทำประชาคมชุมชนหมู่บ้าน กระตุ้นให้เกิดการแลกเปลี่ยน เรียนรู้ร่วมกันเพื่อ 3.๑ ค้นหาความคาดหวังของชุมชนต่อการป้องกันและแก้ไขปัญหายาเสพติด 3.2 ค้นหาปัญหาของจุดเสี่ยง จุดอันตรายของชุมชนเป้าหมายและแนวโน้มปัญหาในอนาคตและแนวทางในการป้องกันและแก้ไข 3.3 ค้นหาพฤติกรรมเสี่ยงของสมาชิกในชุมชน 3.4 กำหนดแนวทางและมาตรการแก้ไขปัญหาพฤติกรรมเสี่ยงของสมาชิกชุมชน
3.5 กำหนดเป้าหมายสำหรับการดำเนินการ 3.6 แนวทางการบูรณาการเพื่อเชื่อมโยงการดำเนินการกับชุมชนหมู่บ้านข้างเคียง รวมถึงการร่วมกันแก้ไขปัญหายาเสพติด กรณีต้องดำเนินการร่วมกัน การควบคุมพฤติกรรมเสี่ยงของสมาชิกของแต่ละชุมชน 3.7 กำหนดอัตราโทษ กรณีมีการฝ่าฝืนสัญญาประชาคม 3.8 จัดทำสัญลักษณ์ชุมชนที่ผ่านการประชาคมต่อต้านยาเสพติดแล้ว ตามความเหมาะสมของแต่ละพื้นที่

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ผลผลิต 1. ทราบสภาพปัญหายาเสพติดและการดำเนินการป้องกันปราบปรามและแก้ไขปัญหายาเสพติดในชุมชน
2. ภาคีเครือข่าย หน่วยงานภาครัฐ องค์กรเอกชน องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นและภาคประชาชนในพื้นที่ สามารถกำหนดกติกาหรือธรรมนูญชุมชนด้านการป้องกันและแก้ไขปัญหายาเสพติดในพื้นที่ ผลลัพธ์ 1.สร้างองค์ความรู้ในการป้องกันและแก้ไขปัญหายาเสพติดในชุมชน หมู่บ้านและสร้างความร่วมมือของชุมชน 2. สร้างคณะกรรมการชุมชน หมู่บ้าน ให้เข้มแข็งสามารถรับภารกิจการแก้ไขปัญหายาเสพติดในชุมชน หมู่บ้าน เพื่อดำเนินการต่อ โดยมีหน่วยงานราชการที่เกี่ยวข้องสนับสนุนการปฏิบัติ รักษาสภาพพื้นที่ ติดตามควบคุมพฤติกรรมกลุ่มเป้าหมาย ที่ผ่านกระบวนการเฝ้าระวัง สร้างเครือข่ายและดำรงความสัมพันธ์ระหว่างชุมชนและเจ้าหน้าที่อย่างสม่ำเสมอ

 

72 0

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อเพิ่มมาตรการทางสังคม หรือแนวทางปฏิบัติในเชิงนโยบายของชุมชน หรือการสร้างข้อตกลงร่วมในการเฝ้าระวังยาเสพติดในชุมชน
ตัวชี้วัด : มาตรการทางสังคม หรือแนวทางปฏิบัติในเชิงนโยบายของชุมชน หรือการสร้างข้อตกลงร่วมในการเฝ้าระวังยาเสพติดในชุมชนเพิ่มขึ้นเป็น (มาตราการ)
0.00 6.00

 

2 เพื่อเพิ่มกำลังคนและเครือข่ายเพื่อการเฝ้าระวังยาเสพติดในชุมชน
ตัวชี้วัด : กำลังคนและเครือข่ายเพื่อการเฝ้าระวังยาเสพติดในชุมชน เพิ่มขึ้นเป็น(คน)
6.00 18.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 72
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน 72
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อเพิ่มมาตรการทางสังคม หรือแนวทางปฏิบัติในเชิงนโยบายของชุมชน หรือการสร้างข้อตกลงร่วมในการเฝ้าระวังยาเสพติดในชุมชน (2) เพื่อเพิ่มกำลังคนและเครือข่ายเพื่อการเฝ้าระวังยาเสพติดในชุมชน

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) จัดทำประชาคม นำเสนอประเด็นเกี่ยวกับยาเสพติด

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการชุมชนต่อต้านยาเสพติด สถานีตำรวจภูธรเมืองสตูล จังหวัด สตูล

รหัสโครงการ 62-L5300-2-5

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( พันตำรวจโทภุชงค์ สงวนจิตร )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด