กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลคลองขุด


“ โครงการการดูแลผู้ป่วยโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง เพื่อป้องกันการเกิดภาวะโรคแทรกซ้อน ปีงบประมาณ 2562 ”

ตำบลคลองขุด อำเภอเมืองสตูล จังหวัดสตูล

หัวหน้าโครงการ
นางกาญจนรัตน์ วิริยะสุข

ชื่อโครงการ โครงการการดูแลผู้ป่วยโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง เพื่อป้องกันการเกิดภาวะโรคแทรกซ้อน ปีงบประมาณ 2562

ที่อยู่ ตำบลคลองขุด อำเภอเมืองสตูล จังหวัดสตูล จังหวัด สตูล

รหัสโครงการ 62-L5300-1-4 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 15 กุมภาพันธ์ 2562 ถึง 30 มิถุนายน 2562


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการการดูแลผู้ป่วยโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง เพื่อป้องกันการเกิดภาวะโรคแทรกซ้อน ปีงบประมาณ 2562 จังหวัดสตูล" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลคลองขุด อำเภอเมืองสตูล จังหวัดสตูล

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลคลองขุด ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการการดูแลผู้ป่วยโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง เพื่อป้องกันการเกิดภาวะโรคแทรกซ้อน ปีงบประมาณ 2562



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการการดูแลผู้ป่วยโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง เพื่อป้องกันการเกิดภาวะโรคแทรกซ้อน ปีงบประมาณ 2562 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลคลองขุด อำเภอเมืองสตูล จังหวัดสตูล รหัสโครงการ 62-L5300-1-4 ระยะเวลาการดำเนินงาน 15 กุมภาพันธ์ 2562 - 30 มิถุนายน 2562 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 76,900.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลคลองขุด เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

ด้วยปัจจุบันกลุ่มโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง เป็นปัญหาสำคัญทางสาธารณสุขและมีแนวโน้มเพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่อง โดยเฉพาะโรคเบาหวาน (DM) และโรคความดันโลหิตสูง (HT) เป็นภัยเงียบที่ส่งผลกระทบทำให้เกิดภาวะโรคแทรกซ้อนในอนาคต ทำให้เกิดความพิการและตายก่อนวัยอันควร การเกิดโรคมีสาเหตุจากหลายปัจจัยเสี่ยงที่มาจากพฤติกรรมการรับประทานอาหารที่ไม่เหมาะสม ขาดการออกกำลังกาย และนำไปสู่การเจ็บป่วยแทรกซ้อนที่สำคัญ อาทิ โรคจอประสาทตาเสื่อม โรคในช่องปาก โรคไตวายเรื้อรัง (CKD) โรคหัวใจและหลอดเลือด (CVD) แผลเรื้อรัง การถูกตัดขา ตัดนิ้ว เป็นต้น ความเจ็บป่วยเหล่านี้ส่งผลกระทบต่อคุณภาพชีวิตของผู้ป่วยตลอดจนค่าใช้จ่ายด้านสาธารณสุขโดยรวม โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลคลองขุด รับผิดชอบพื้นที่ 4 หมู่บ้าน และในปี 2561 มีผู้ป่วยโรคเรื้อรังที่เข้ารับบริการในคลินิกโรคเรื้อรังของโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลคลองขุดทั้งหมด จำนวน 135 ราย ได้แก่ โรคความดันโลหิตสูงจำนวน 95 ราย โรคเบาหวาน จำนวน 6 ราย โรคเบาหวานและความดันโลหิตสูง 34 ราย ผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูง ควบคุมโรคได้ 50 คน คิดเป็นร้อยละ 46.84 ผู้ป่วยโรคเบาหวาน ควบคุมโรคได้ 19 คน คิดเป็นร้อยละ 48.71 เพื่อให้มีการดูแลสุขภาพผู้ป่วยโรคเรื้อรัง ในคลินิกโรคเรื้อรังในพื้นที่รับผิดชอบ และเกิดการบูรณาการให้ญาติและผู้ป่วยสามารถดูแลตนเองได้ สามารถควบคุมภาวะอาการของโรคได้ และลดการเกิดภาวะแทรกซ้อนในอนาคต จากข้อมูลดังกล่าว โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลคลองขุด จึงได้จัดทำโครงการการดูแลผู้ป่วยโรคเรื้อรัง และป้องกันการเกิดภาวะโรคแทรกซ้อน ปีงบประมาณ 2562 ขึ้น เพื่อให้การดำเนินงานมีประสิทธิภาพมากขึ้น รวมทั้งรองรับการให้บริการดูแลผู้ป่วยรายใหม่ที่จะเข้ารับบริการในคลินิก

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. อบรมให้ความรู้ในการดูแลตนเองให้กับกลุ่มเป้าหมายได้อย่างถูกต้อง
  2. ผู้ป่วยได้รับการตรวจคัดกรองภาวะโรคแทรกซ้อน

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. จัดกิจกรรมอบรมให้ความรู้แก่แกนนำดูแลผู้ป่วยเรื้อรัง

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง 170
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

ผลผลิต 1.กลุ่มเป้าหมาย สามารถควบคุมโรคให้อยู่ในเกณฑ์ปกติได้ เพื่อป้องกันการเกิดภาวะโรคแทรกซ้อน 2.กลุ่มเป้าหมายที่มีภาวะแทรกซ้อน ได้รับการดูแลสุขภาพ และส่งต่อเพื่อรักษาอย่างถูกต้อง ผลลัพธ์ 1.ผู้ป่วยมีพฤติกรรมที่ดีในการดูแลสุขภาพและป้องกันภาวะแทรกซ้อน
๒.ผู้ป่วยโรคเบาหวานสามารถควบคุมระดับน้ำตาลในเลือดได้ดีไม่น้อยกว่าร้อยละ ๔๐     ๓.ผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูงสามารถควบคุมความดันโลหิตได้ดีไม่น้อยกว่าร้อยละ ๕๐


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. จัดกิจกรรมอบรมให้ความรู้แก่แกนนำดูแลผู้ป่วยเรื้อรัง

วันที่ 25 มิถุนายน 2562

กิจกรรมที่ทำ

1.ประชุมชี้แจง รายละเอียดโครงการ แก่เจ้าหน้าที่ และอาสาสมัครสาธารณสุข 2.เตรียมกลุ่มเป้าหมายที่มารับบริการในคลินิกโรคเรื้อรัง
3.จัดกิจกรรมอบรมให้ความรู้แก่แกนนำดูแลผู้ป่วยเรื้อรัง 4.จัดกิจกรรมอบรมให้ความรู้แก่ญาติ/ผู้ป่วยเรื้อรัง/การออกกำลังกายโดยใช้ผ้าขาวม้า 5.กิจกรรมให้สุขศึกษา/ตรวจคัดกรองภาวะโรคแทรกซ้อน ในคลินิกโรคเรื้อรัง
6.กิจกรรมส่งเสริมการดูแลสุขภาพ ในคลินิกโรคเรื้อรัง ในแต่ละเดือน 7.เยี่ยมบ้านผู้ป่วยที่ไม่ได้มารับบริการ และผู้ป่วยที่ควบคุมอาการของโรคไม่ได้ 8.คีย์ข้อมูลการตรวจคัดกรองเข้าระบบโปรแกรม 9. “ พกถุงผ้า คืนยาเก่า เติมยาใหม่ ” เพื่อลดการใช้ถุงพลาสติก และ ดูแลการใช้ยา 10.นวัตกรรม“ ออกกำลังกายโดยใช้ผ้าขาวม้า ”
11.กิจกรรมเยี่ยมบ้าน/ติดตามผู้ป่วยเรื้อรัง เดือนละ 1 ครั้ง

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ผลผลิต 1.กลุ่มเป้าหมาย สามารถควบคุมโรคให้อยู่ในเกณฑ์ปกติได้ เพื่อป้องกันการเกิดภาวะโรคแทรกซ้อน 2.กลุ่มเป้าหมายที่มีภาวะแทรกซ้อน ได้รับการดูแลสุขภาพ และส่งต่อเพื่อรักษาอย่างถูกต้อง ผลลัพธ์ 1.ผู้ป่วยมีพฤติกรรมที่ดีในการดูแลสุขภาพและป้องกันภาวะแทรกซ้อน
๒.ผู้ป่วยโรคเบาหวานสามารถควบคุมระดับน้ำตาลในเลือดได้ดีไม่น้อยกว่าร้อยละ ๔๐           ๓.ผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูงสามารถควบคุมความดันโลหิตได้ดีไม่น้อยกว่าร้อยละ ๕๐

 

170 0

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 อบรมให้ความรู้ในการดูแลตนเองให้กับกลุ่มเป้าหมายได้อย่างถูกต้อง
ตัวชี้วัด : จัดกิจกรรมอบรมให้ความรู้แก่ญาติ/ผู้ป่วยโรคเรื้อรัง ร้อยละ 100
100.00

 

2 ผู้ป่วยได้รับการตรวจคัดกรองภาวะโรคแทรกซ้อน
ตัวชี้วัด : จัดกิจกรรมตรวจคัดกรองเฝ้าระวังภาวะโรคแทรกซ้อน ในผู้ป่วยโรคเรื้อรัง ร้อยละ 100
100.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 170
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง 170
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) อบรมให้ความรู้ในการดูแลตนเองให้กับกลุ่มเป้าหมายได้อย่างถูกต้อง (2) ผู้ป่วยได้รับการตรวจคัดกรองภาวะโรคแทรกซ้อน

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) จัดกิจกรรมอบรมให้ความรู้แก่แกนนำดูแลผู้ป่วยเรื้อรัง

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการการดูแลผู้ป่วยโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง เพื่อป้องกันการเกิดภาวะโรคแทรกซ้อน ปีงบประมาณ 2562 จังหวัด สตูล

รหัสโครงการ 62-L5300-1-4

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นางกาญจนรัตน์ วิริยะสุข )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด