กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.บ้านกลาง


“ โครงการจัดการขยะมูลฝอยโดยการคัดแยกขยะในสถานศึกษาตำบลบ้านกลาง ประจำปีงบประมาณ 2562 ”

รุ่นที่ 1 ณ โรงเรียนบ้านบ่ออิฐ หมู่ที่ 6 และ รุ่นที่ 2 ณ โรงเรียนบ้านบางมะรวด หมู่ที่ 1 ตำบลบ้านกลาง อำเภอปะนาเระ จังหวัดปัตตานี

หัวหน้าโครงการ
นายอับดุลคอเดช กะจิ

ชื่อโครงการ โครงการจัดการขยะมูลฝอยโดยการคัดแยกขยะในสถานศึกษาตำบลบ้านกลาง ประจำปีงบประมาณ 2562

ที่อยู่ รุ่นที่ 1 ณ โรงเรียนบ้านบ่ออิฐ หมู่ที่ 6 และ รุ่นที่ 2 ณ โรงเรียนบ้านบางมะรวด หมู่ที่ 1 ตำบลบ้านกลาง อำเภอปะนาเระ จังหวัดปัตตานี จังหวัด ปัตตานี

รหัสโครงการ เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 7 มีนาคม 2562 ถึง 9 มีนาคม 2562


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการจัดการขยะมูลฝอยโดยการคัดแยกขยะในสถานศึกษาตำบลบ้านกลาง ประจำปีงบประมาณ 2562 จังหวัดปัตตานี" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน รุ่นที่ 1 ณ โรงเรียนบ้านบ่ออิฐ หมู่ที่ 6 และ รุ่นที่ 2 ณ โรงเรียนบ้านบางมะรวด หมู่ที่ 1 ตำบลบ้านกลาง อำเภอปะนาเระ จังหวัดปัตตานี

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.บ้านกลาง ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการจัดการขยะมูลฝอยโดยการคัดแยกขยะในสถานศึกษาตำบลบ้านกลาง ประจำปีงบประมาณ 2562



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการจัดการขยะมูลฝอยโดยการคัดแยกขยะในสถานศึกษาตำบลบ้านกลาง ประจำปีงบประมาณ 2562 " ดำเนินการในพื้นที่ รุ่นที่ 1 ณ โรงเรียนบ้านบ่ออิฐ หมู่ที่ 6 และ รุ่นที่ 2 ณ โรงเรียนบ้านบางมะรวด หมู่ที่ 1 ตำบลบ้านกลาง อำเภอปะนาเระ จังหวัดปัตตานี รหัสโครงการ ระยะเวลาการดำเนินงาน 7 มีนาคม 2562 - 9 มีนาคม 2562 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 37,901.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.บ้านกลาง เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

ขยะเป็นปัญหาสำคัญที่ทุกประเทศต้องเร่งดำเนินการป้องกันแก้ไข เนื่องจากขยะมูลฝอยทั้งจากครัวเรือนและโรงงานอุตสาหกรรมมีปริมาณเพิ่มมากขึ้นเรื่อยๆ ปัจจุบันการดูแลเก็บขนขยะมูลฝอยอยู่ในความรับผิดชอบขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ซึ่งองค์การบริหารส่วนตำบลบ้านกลาง ไม่สามารถจัดเก็บขยะได้ ทำให้มีปริมาณขยะตกค้างและสะสมในแต่ละวันจำนวนมาก โดยเฉพาะอย่างยิ่งในเขตพื้นที่ที่เป็นชุมชนขนาดใหญ่ มีประชากรอาศัยอยู่หนาแน่น และโรงเรียน ขยะมูลฝอยยังส่งผลกระทบต่อสุขภาพอนามัยของประชาชนทั้งทางตรงและทางอ้อม เนื่องจากขยะมูลฝอยเป็นแหล่งอาหารและแหล่งเพาะพันธุ์ของแมลงนำโรคหลายชนิด อีกทั้งยังก่อให้เกิดกลิ่นเหม็น เหตุรำคาญ บ้านเมืองสกปรก ขาดความสวยงาม เป็นที่รังเกียจของผู้พบเห็น องค์การบริหารส่วนตำบลบ้านกลาง ได้แสวงหาความร่วมมือกับสถานศึกษา โรงเรียน ตระหนักถึงความสำคัญของปัญหาการจัดการขยะและนำหลัก 3Rs คือ REDUCE (การลดการใช้) REUSE (การใช้ซ้ำ)และ RECYCLE (การนำมาแปรรูปใหม่)มาใช้ให้เกิดประโยชน์ก็จะสามารถช่วยลดปริมาณขยะได้วิธีการดังกล่าวจะเป็นทางออกที่ดี ในสภาวะปัจจุบันที่จะสามารถกำจัดขยะได้อย่างครบวงจร และยังได้รับผลประโยชน์จากการกำจัดขยะนี้อีกมากมาย อาทิ การสร้างผลิตภัณฑ์ใหม่จากกระบวนการกำจัดและผลิต การสร้างจิตสำนึกในการอนุรักษ์สิ่งแวดล้อมให้แก่ชุมชน การสร้างรายได้เสริม การสร้างความสามัคคี และความคิดริเริ่มสร้างสรรค์ให้แก่เยาวชน ดังนั้น องค์การบริหารส่วนตำบลบ้านกลาง จึงเห็นความสำคัญในการสร้างสุขภาวะที่ดีให้เกิดขึ้นในสถานศึกษาโดยได้จัดทำโครงการจัดการขยะมูลฝอยโดยการคัดแยกขยะในสถานศึกษาตำบลบ้านกลาง
ประจำปีงบประมาณ 2562 และสามารถเชื่อมโยงไปยังชุมชนใกล้เคียงในการจัดการขยะได้อีกด้วย

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. 1. เพื่อให้นักเรียนมีความรู้ความเข้าใจในการคัดแยกมูลฝอยที่ถูกต้องและเหมาะสม 2. เพื่อให้นักเรียนมีจิตสำนึกที่ดีในการคัดแยกขยะมูลฝอยสามารถนำกลับมาใช้ประโยชน์ได้อีก และรักษาสิ่งแวดล้อมภายในชุมชน 3. เพื่อเป็นการช่วยลดปริมาณขยะ และส่งเสริมความรู้ในการใช้หลัก 3Rs ในการจัดการขยะมูลฝอย 4. เพื่อเกิดการริเริ่มการจัดตั้งธนาคารขยะรีไซเคิลในโรงเรียน 5. สร้างความมีระเบียบวินัยและมีคุณธรรมพื้นฐาน 8 ประการ

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. อบรมให้ความรู้การจัดการขยะมูลฝอยโดยการคัดแยกขยะในสถานศึกษาตำบลบ้านกลาง

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 153
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

7.1 ทำให้นักเรียนมีความรู้ ความเข้าใจเรื่องการบริหารจัดการขยะ 7.2 ทำให้นักเรียนมีทักษะการแก้ปัญหาในการทำงานนักเรียนสามารถดำเนินงานได้จนประสบความสำเร็จตามโครงการ 7.3 ทำให้สถานศึกษาในตำบลบ้านกลางมีธนาคารขยะที่เต็มรูปแบบ โดยมีนักเรียน ครู ผู้ปกครองและองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นให้ความร่วมมือและสนับสนุนเข้าร่วมกิจกรรมทำให้โรงเรียนสามารถบริหารจัดการขยะได้อย่างมีระบบกรจัดการโดยใช้ธนาคารขยะรีไซเคิลซึ่งจะสามารถช่วยเพิ่มรายได้ให้กับสมาชิกทุกคนและยังช่วยให้โรงเรียนและชุมชนบ้านกลางมีความสะอาด สวยงาม 7.4 ทำให้นักเรียน ครู และผู้ปกครองในชุมชน รู้จักพัฒนาตนเองตามศักยภาพโดยใช้หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงมาเป็นแนวทางการดำเนินชีวิต 7.5 ทำให้สิ่งแวดล้อมดี ชุมชนสะอาด ปลอดโรคติดต่อ ประชาชนมีสุขภาพดี


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. อบรมให้ความรู้การจัดการขยะมูลฝอยโดยการคัดแยกขยะในสถานศึกษาตำบลบ้านกลาง

วันที่ 7 มีนาคม 2562

กิจกรรมที่ทำ

ขั้นตอนที่ ๑ คณะทำงาน หน้าที่ของคณะทำงาน ๑) ผู้จัดการธนาคาร รับผิดชอบดำเนินงาน ในภาพรวมของธนาคาร ๒) เจ้าหน้าที่จดบันทึก รับผิดชอบการจดบันทึกรายละเอียด เกี่ยวกับสมาชิก ได้แก่ ชื่อ – นามสกุล เลขที่ ประเภท และปริมาณวัสดุรีไซเคิล เพื่อส่งต่อให้เจ้าหน้าที่ ๓) เจ้าหน้าที่คัดแยก  รับผิดชอบการคัดแยกขยะ และชั่งน้ำหนักเพื่อจัดเก็บในสถานที่เก็บ ๔) เจ้าหน้าที่คิดเงิน รับผิดชอบการเทียบราคาที่กำหนด และคิดจำนวนเงินของสินค้า ที่สมาชิกนำมาฝาก พร้อมทั้งรับผิดชอบการฝาก – ถอนเงินของสมาชิก ๕) เจ้าหน้าที่บัญชี รับผิดชอบเอกสารต่าง ๆที่เกี่ยวข้องกับการเงิน เช่น สรุปยอดเงินฝากของสมาชิก สรุปยอดรายรับรายจ่ายของธนาคารขยะฯ และบันทึกรายละเอียด ยอดคงเหลือของสินค้า ตามประเภทปริมาณราคาโดยต้องทำการบันทึกทุกวันที่เปิดทำการ ๖) เจ้าหน้าที่ควบคุมการเงิน รับผิดชอบควบคุมการเงินของธนาคารขยะ รายรับ รายจ่าย การเบิกเงินเพื่อนำไปใช้ในกิจกรรม การเบิกจ่ายเงินของสมาชิกธนาคารขยะ ให้สามารถตรวจสอบได้ ๗) เจ้าหน้าที่ควบคุมการซื้อ-ขาย รับผิดชอบข้อมูลการซื้อ ขาย ราคาสินค้าในท้องตลาด การปรับเปลี่ยนราคา การนำสินค้าไปขายประสานร้านรับซื้อของเก่า ๘) ครูที่ปรึกษากิจกรรม รับผิดชอบการดำเนินงานของธนาคารขยะ การประสานร้านรับซื้อของเก่า และดูแลเกี่ยวกับการเงินของโครงการ พร้อมทั้งดูเอกสารการเบิกจ่ายเงิน และสามารถตรวจสอบได้ ขั้นตอนที่ ๒ คณะทำงานมีการประชุม
๑) สำรวจร้านรับซื้อของเก่าที่มีอยู่ในชุมชน ราคา ประเภทของขยะรีไซเคิลที่รับซื้อ ๒) ประสานงานร้านรับซื้อของเก่าให้เข้าร่วมโครงการธนาคารขยะรีไซเคิล ราคาที่จูงใจ ซึ่งส่วนใหญ่คิดที่ ๓๐  % ของราคาที่ได้มาจากร้านรับซื้อของเก่า ๓) กำหนดระยะเวลาที่จะเข้ามารับซื้อ ๔) การวางแผนกำหนดวัน เวลา เปิด ธนาคารขยะ ขั้นตอนที่ ๓ การจัดเตรียมสถานที่เก็บรวบรวม ๑) ยึดหลักง่าย ๆโดยสามารถเก็บรวบรวมขยะได้ ป้องกันฝน ๒) มีการคัดแยกขยะอย่างชัดเจน ๓) แบ่งเป็น ๔ ช่อง สำหรับจัดเก็บ กระดาษ โลหะ/อโลหะ,พลาสติก ,แก้ว ๔) มีการติดป้ายราคาของขยะที่รับซื้อ ขั้นตอนที่ ๔ การประชาสัมพันธ์ ๑) การเผยแพร่ความรู้ ความเข้าใจเพื่อให้เกิดความร่วมมือกันในโรงเรียน สามารถทำได้โดย ๒) การประชาสัมพันธ์เสียงตามสายของโรงเรียน ๓) บันทึกลงในสมุดคู่ฝาก เพื่อเก็บเป็นหลักฐานการฝากถอนของสมาชิก ๔) ถ้าสมาชิกต้องการถอนเงิน ให้เขียนรายละเอียด ใบถอนเงินแล้วให้กับเจ้าหน้าที่ ๕) ภายหลังเปิดธนาคารเสร็จสิ้น เจ้าหน้าที่ต้องทำการรวบรวมรายรับ รายจ่าย และทะเบียนคุมเจ้าหนี้ของธนาคารในแต่ละวัน เพื่อความสะดวกในการตรวจสอบ การลงค่าใช้จ่าย การซื้อ ขายขยะรีไซเคิลลงในสมุดเงินสด เพื่อสามารถตรวจสอบการขาดทุน กำไร ๖) ควรมีการสรุปการดำเนินงาน ในแต่ละเดือน และแจ้งแก่สมาชิกของธนาคาร โดยการจัดบอร์ดนิทรรศการบริเวณที่ทำการ ขั้นตอนที่ ๕ การติดตามประเมินผล ๑) พิจารณาจากปริมาณขยะรีไซเคิลที่รวบรวมได้ ๒) จำนวนสมาชิกที่เข้าร่วมกิจกรรม ๓) กำไรจากการซื้อขาย

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

7.1 ทำให้นักเรียนมีความรู้ ความเข้าใจเรื่องการบริหารจัดการขยะ 7.2 ทำให้นักเรียนมีทักษะการแก้ปัญหาในการทำงานนักเรียนสามารถดำเนินงานได้จนประสบความสำเร็จตามโครงการ 7.3 ทำให้สถานศึกษาในตำบลบ้านกลางมีธนาคารขยะที่เต็มรูปแบบ โดยมีนักเรียน ครู ผู้ปกครองและองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นให้ความร่วมมือและสนับสนุนเข้าร่วมกิจกรรมทำให้โรงเรียนสามารถบริหารจัดการขยะได้อย่างมีระบบกรจัดการโดยใช้ธนาคารขยะรีไซเคิลซึ่งจะสามารถช่วยเพิ่มรายได้ให้กับสมาชิกทุกคนและยังช่วยให้โรงเรียนและชุมชนบ้านกลางมีความสะอาด สวยงาม 7.4 ทำให้นักเรียน ครู และผู้ปกครองในชุมชน รู้จักพัฒนาตนเองตามศักยภาพโดยใช้หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงมาเป็นแนวทางการดำเนินชีวิต 7.5 ทำให้สิ่งแวดล้อมดี ชุมชนสะอาด ปลอดโรคติดต่อ ประชาชนมีสุขภาพดี

 

153 0

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 1. เพื่อให้นักเรียนมีความรู้ความเข้าใจในการคัดแยกมูลฝอยที่ถูกต้องและเหมาะสม 2. เพื่อให้นักเรียนมีจิตสำนึกที่ดีในการคัดแยกขยะมูลฝอยสามารถนำกลับมาใช้ประโยชน์ได้อีก และรักษาสิ่งแวดล้อมภายในชุมชน 3. เพื่อเป็นการช่วยลดปริมาณขยะ และส่งเสริมความรู้ในการใช้หลัก 3Rs ในการจัดการขยะมูลฝอย 4. เพื่อเกิดการริเริ่มการจัดตั้งธนาคารขยะรีไซเคิลในโรงเรียน 5. สร้างความมีระเบียบวินัยและมีคุณธรรมพื้นฐาน 8 ประการ
ตัวชี้วัด : 7.1 ทำให้นักเรียนมีความรู้ ความเข้าใจเรื่องการบริหารจัดการขยะ 7.2 ทำให้นักเรียนมีทักษะการแก้ปัญหาในการทำงานนักเรียนสามารถดำเนินงานได้จนประสบความสำเร็จตามโครงการ 7.3 ทำให้สถานศึกษาในตำบลบ้านกลางมีธนาคารขยะที่เต็มรูปแบบ โดยมีนักเรียน ครู ผู้ปกครองและองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นให้ความร่วมมือและสนับสนุนเข้าร่วมกิจกรรมทำให้โรงเรียนสามารถบริหารจัดการขยะได้อย่างมีระบบกรจัดการโดยใช้ธนาคารขยะรีไซเคิลซึ่งจะสามารถช่วยเพิ่มรายได้ให้กับสมาชิกทุกคนและยังช่วยให้โรงเรียนและชุมชนบ้านกลางมีความสะอาด สวยงาม 7.4 ทำให้นักเรียน ครู และผู้ปกครองในชุมชน รู้จักพัฒนาตนเองตามศักยภาพโดยใช้หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงมาเป็นแนวทางการดำเนินชีวิต 7.5 ทำให้สิ่งแวดล้อมดี ชุมชนสะอาด ปลอดโรคติดต่อ ประชาชนมีสุขภาพดี
0.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 153
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 153
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1. เพื่อให้นักเรียนมีความรู้ความเข้าใจในการคัดแยกมูลฝอยที่ถูกต้องและเหมาะสม
2. เพื่อให้นักเรียนมีจิตสำนึกที่ดีในการคัดแยกขยะมูลฝอยสามารถนำกลับมาใช้ประโยชน์ได้อีก และรักษาสิ่งแวดล้อมภายในชุมชน
3. เพื่อเป็นการช่วยลดปริมาณขยะ และส่งเสริมความรู้ในการใช้หลัก 3Rs ในการจัดการขยะมูลฝอย 4. เพื่อเกิดการริเริ่มการจัดตั้งธนาคารขยะรีไซเคิลในโรงเรียน
5. สร้างความมีระเบียบวินัยและมีคุณธรรมพื้นฐาน 8 ประการ

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) อบรมให้ความรู้การจัดการขยะมูลฝอยโดยการคัดแยกขยะในสถานศึกษาตำบลบ้านกลาง

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการจัดการขยะมูลฝอยโดยการคัดแยกขยะในสถานศึกษาตำบลบ้านกลาง ประจำปีงบประมาณ 2562 จังหวัด ปัตตานี

รหัสโครงการ

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นายอับดุลคอเดช กะจิ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด