กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.บูกิต


“ โครงการส่งเสริมการป้องกันการติดเชื้อเอชไอวีและการเข้าถึงบริการสุขภาพ ”

ตำบลบูกิต อำเภอเจาะไอร้อง จังหวัดนราธิวาส

หัวหน้าโครงการ
นางสาวสีตี กูโน

ชื่อโครงการ โครงการส่งเสริมการป้องกันการติดเชื้อเอชไอวีและการเข้าถึงบริการสุขภาพ

ที่อยู่ ตำบลบูกิต อำเภอเจาะไอร้อง จังหวัดนราธิวาส จังหวัด นราธิวาส

รหัสโครงการ 62-L2479-2-08 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 มกราคม 2562 ถึง 30 กันยายน 2562


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการส่งเสริมการป้องกันการติดเชื้อเอชไอวีและการเข้าถึงบริการสุขภาพ จังหวัดนราธิวาส" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลบูกิต อำเภอเจาะไอร้อง จังหวัดนราธิวาส

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.บูกิต ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการส่งเสริมการป้องกันการติดเชื้อเอชไอวีและการเข้าถึงบริการสุขภาพ



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการส่งเสริมการป้องกันการติดเชื้อเอชไอวีและการเข้าถึงบริการสุขภาพ " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลบูกิต อำเภอเจาะไอร้อง จังหวัดนราธิวาส รหัสโครงการ 62-L2479-2-08 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 มกราคม 2562 - 30 กันยายน 2562 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 12,320.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.บูกิต เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

หลักการและเหตุผล (ระบุที่มาของการทำโครงการ) กลุ่ม เชอร์รี่ รพ.เจาะไอร้อง ได้มีแนวทางการทำงานส่งเสริมการป้องกันการติดเชื้อเอชไอวีรายใหม่ และส่งเสริมการเข้าถึงบริการสุขภาพของผู้ที่มีเชื้อเอชไอวีให้ได้รับการรักษาที่ทันท่วงที โดยใช้ฐานการทำงานของกลุ่ม ที่มีการทำงานร่วมกับโรงพยาบาลชุมชน โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล (รพ.สต.) และองค์กรชุมชน ในปี ๒๕๖๐ กลุ่มได้มีการขยายงานเชิงรุกเพื่อจัดกิจกรรมในชุมชน เช่น หมู่บ้าน สถานศึกษา กลุ่มเยาวชน กลุ่มแม่บ้าน เป็นต้น เพื่อส่งเสริมให้ประชาชนในพื้นที่อำเภอและตำบลที่เป็นกลุ่มเป้าหมาย เข้าถึงบริการให้คำปรึกษาและตรวจเลือดหาการติดเชื้อเอชไอวีโดยสมัครใจ (VCCT - Voluntary Confidential Counseling and Testing) โดยจัดบริการเชิงรุกในชุมชน เพื่อให้ผู้ที่มีโอกาสเสี่ยงต่อการรับเชื้อเอชไอวี เข้าสู่บริการได้เร็วขึ้น และหากพบว่าติดเชื้อเอชไอวี จะได้เข้าถึงการรักษาโดยไม่ต้องรอให้ป่วย และจะส่งผลอีกด้านคือการสร้างความเข้าใจ ลดการตีตราและการเลือกปฏิบัติต่อผู้ติดเชื้อเอชไอวี นำไปสู่การอยู่ร่วมกันในสังคมได้ นอกจากนั้นในการจัดบริการเชิงรุกนี้ ยังได้มุ่งเน้นส่งเสริมการป้องกันการติดเชื้อเอชไอวีรายใหม่เป็นประเด็นสำคัญในการทำงาน กลุ่มพิจารณาเห็นว่า กลุ่มผู้ติดเชื้อฯ ประชาชนในพื้นที่ บุคลากรด้านสาธารณสุข องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น (อปท.) ควรจะเป็นผู้มีบทบาทหลักในการทำงานทั้งการส่งเสริมการป้องกันและการเข้าถึงบริการสุขภาพโดยมีส่วนร่วมในการจัดทำแผนยุทธศาสตร์การทำงาน และร่วมกันจัดบริการที่ตอบสนองต่อความต้องการของประชาชนในพื้นที่จึงจะเป็นทิศทางที่จะนำไปสู่การแก้ไขปัญหาที่สอดคล้องกับสถานการณ์และเกิดความยั่งยืนในการทำงาน
ดังนั้นกลุ่มเชอร์รี่เครือข่ายผู้ติดเชื้อเอชไอวี จึงได้จัดทำแผนงานเพื่อดำเนินโครงการพัฒนาการทำงานส่งเสริมการป้องกันการติดเชื้อเอชไอวีและส่งเสริมการเข้าถึงบริการสุขภาพ

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อแก้ปัญหาประชาชนที่มีพฤติกรรมเสี่ยงเพศสัมพันธ์
  2. 1.เพื่อให้กลุ่มเป้าหมายประเมินความเสี่ยงต่อการติดเชื้อเอชไอวีของตนเองได้
  3. เพื่อให้กลุ่มเป้าหมายที่ประเมินตนเองว่ามีความเสี่ยงต่อการติดเชื้อเอชไอวี ได้รับบริการปรึกษาและตรวจเลือดโดยสมัครใจ

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. อบรมให้ความรู้ความเข้าใจเรื่องเอชไอวี/เอดส์
  2. ติดตามและให้มาเจาะเลือดคัดกรองเอชไอวี

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 50
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

1) กลุ่มเป้าหมายที่เข้าร่วมกิจกรรม ประเมินความเสี่ยงต่อการติดเชื้อเอชไอวีของตนเองได้ถูกต้อง 2) กลุ่มเป้าหมายที่เข้าร่วมกิจกรรม มีความเข้าใจเรื่องการป้องกันเอชไอวี และการอยู่ร่วมกันในชุมชน 3) กลุ่มเป้าหมายที่เข้าร่วมกิจกรรม ประเมินตนเองว่ามีความเสี่ยงต่อการติดเชื้อเอชไอวี ได้รับบริการปรึกษาและตรวจเลือดโดยสมัครใจ


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อแก้ปัญหาประชาชนที่มีพฤติกรรมเสี่ยงเพศสัมพันธ์
ตัวชี้วัด : ร้อยละของประชาชนที่มีพฤติกรรมเสี่ยงเพศสัมพันธ์
100.00 50.00

 

2 1.เพื่อให้กลุ่มเป้าหมายประเมินความเสี่ยงต่อการติดเชื้อเอชไอวีของตนเองได้
ตัวชี้วัด : ตัวชี้วัดความสำเร็จ กลุ่มเป้าหมายที่เข้าร่วมกิจกรรม ประเมินความเสี่ยงต่อการติดเชื้อเอชไอวีของตนเองได้ถูกต้อง ร้อยละ 50
100.00 50.00

 

3 เพื่อให้กลุ่มเป้าหมายที่ประเมินตนเองว่ามีความเสี่ยงต่อการติดเชื้อเอชไอวี ได้รับบริการปรึกษาและตรวจเลือดโดยสมัครใจ
ตัวชี้วัด : กลุ่มเป้าหมายที่เข้าร่วมกิจกรรม ประเมินตนเองว่ามีความเสี่ยงต่อการติดเชื้อเอชไอวี ได้รับบริการปรึกษาและตรวจเลือดโดยสมัครใจ ร้อยละ 50
100.00 50.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 50
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 50
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อแก้ปัญหาประชาชนที่มีพฤติกรรมเสี่ยงเพศสัมพันธ์ (2) 1.เพื่อให้กลุ่มเป้าหมายประเมินความเสี่ยงต่อการติดเชื้อเอชไอวีของตนเองได้ (3) เพื่อให้กลุ่มเป้าหมายที่ประเมินตนเองว่ามีความเสี่ยงต่อการติดเชื้อเอชไอวี ได้รับบริการปรึกษาและตรวจเลือดโดยสมัครใจ

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) อบรมให้ความรู้ความเข้าใจเรื่องเอชไอวี/เอดส์ (2) ติดตามและให้มาเจาะเลือดคัดกรองเอชไอวี

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการส่งเสริมการป้องกันการติดเชื้อเอชไอวีและการเข้าถึงบริการสุขภาพ จังหวัด นราธิวาส

รหัสโครงการ 62-L2479-2-08

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นางสาวสีตี กูโน )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด