กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.มะรือโบตก


“ ร่วมใส่ใจสุขภาพโรคเรื้อรัง ร่วมดูแลใกล้บ้าน ใกล้ใจ ปี 2562 ”

ตำบลมะรือโบตะวันตก อำเภอระแงะ จังหวัดนราธิวาส

หัวหน้าโครงการ
นายนิอาซิ นิจินิการี

ชื่อโครงการ ร่วมใส่ใจสุขภาพโรคเรื้อรัง ร่วมดูแลใกล้บ้าน ใกล้ใจ ปี 2562

ที่อยู่ ตำบลมะรือโบตะวันตก อำเภอระแงะ จังหวัดนราธิวาส จังหวัด นราธิวาส

รหัสโครงการ 62-L508-1-07 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 มีนาคม 2562 ถึง 30 กันยายน 2562


กิตติกรรมประกาศ

"ร่วมใส่ใจสุขภาพโรคเรื้อรัง ร่วมดูแลใกล้บ้าน ใกล้ใจ ปี 2562 จังหวัดนราธิวาส" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลมะรือโบตะวันตก อำเภอระแงะ จังหวัดนราธิวาส

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.มะรือโบตก ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
ร่วมใส่ใจสุขภาพโรคเรื้อรัง ร่วมดูแลใกล้บ้าน ใกล้ใจ ปี 2562



บทคัดย่อ

โครงการ " ร่วมใส่ใจสุขภาพโรคเรื้อรัง ร่วมดูแลใกล้บ้าน ใกล้ใจ ปี 2562 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลมะรือโบตะวันตก อำเภอระแงะ จังหวัดนราธิวาส รหัสโครงการ 62-L508-1-07 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 มีนาคม 2562 - 30 กันยายน 2562 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 30,090.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.มะรือโบตก เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

โรคกลุ่ม Metabolic ได้แก่ โรคเบาหวาน ความดันโลหิตสูง โรคอ้วนลงพุง โรคหลอดเลือดและสมอง นับเป็นกลุ่มโรคเรื้อรังและเป็นปัญหาสาธารณสุขที่สำคัญของโลก ถึงแม้ว่าจะมีความเจริญก้าวหน้าทางวิทยาการเกี่ยวข้องกับโรคเบาหวาน แต่ความชุกและอุบัติการณ์ กลับเพิ่มขึ้นอย่างรวดเร็ว ทั้งในชุมชนเมืองและในชนบท  อีกทั้งผู้ป่วยที่เป็นโรคเบาหวานนั้น ถ้ามีพฤติกรรมที่ไม่เหมาะสม จะเกิดภาวะแทรกซ้อน ทั้งทางตา ไต เท้า สมอง หัวใจ หรืออาจหมดสติจากภาวะน้ำตาลในเลือดสูง หมดสติจากภาวะน้ำตาลในเลือดต่ำ ติดเชื้อง่าย หลอดเลือดตีบหรือแตกในสมอง ทำให้เป็นอัมพาตได้ผลกระทบของผู้ป่วยที่เป็นโรคเบาหวาน มีทั้งกระทบโดยตรงต่อผู้ป่วยและครอบครัว คือ จะต้องเสียค่าใช้จ่ายต่างๆการรักษาพยาบาล รวมทั้งสูญเสียอวัยวะ และความพิการซึ่งเกิดขึ้นได้มาก กว่าคนปกติ รวมทั้งมีผลกระทบถึงสภาพจิตใจด้วย นอกจากนี้ผลเสียทางอ้อมอันเกิดจากภาวะแทรกซ้อนและการมีพยาธิสภาพ ซึ่งทำให้เกิดความพิการหรือไร้สมรรถภาพ เช่น ไม่สามารถประกอบอาชีพได้ ขาดรายได้จากการทำงาน สมรรถภาพในการทำงานลดลง การสูญเสียทรัพยากรบุคคลและอาจมีอายุสั้นกว่าปกติ ถ้าไม่ได้รับการรักษาที่ดีพอ อีกทั้งรัฐต้องเสียค่าใช้จ่ายในการนำเข้าเวชภัณฑ์จากต่างประเทศ และค่าใช้จ่ายในด้านอุปกรณ์การตรวจโรคเบาหวานและโรคแทรกซ้อนด้วยเหตุที่โรคเบาหวานเป็นโรคเรื้อรัง การรักษาเพื่อควบคุมโรคนั้นประกอบไปด้วยการควบคุมอาหาร การใช้ยาเบาหวาน การออกกำลังกาย การดูแลสุขภาพทั่วไป ซึ่งถ้าผู้ป่วยรู้จักปฎิบัติตนได้อย่างถูกต้องเหมาะสมแล้ว ก็จะทำให้ระดับน้ำตาลในเลือดใกล้เคียงกับคนปกติและสามารถป้องกันภาวะแทรกซ้อนต่างๆ ได้ยืนยาวและมีความสุข สถานการณ์โรคเรื้อรังจากกลุ่มโรคเมตาบอลิกเป็นปัญหาสุขภาพที่สำคัญทั่วโลกสำหรับโรงพยาบาลพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล บ้านสะโล จากผลการคัดกรองในกลุ่มอายุ ๓๕ ปี ขึ้นไป(เฉพาะเขต เทศบาลตำบลมะรือโบตก ส่วน รพ.สต.บ้านสะโล) ทั้งหมด 1,๒๗๘ คน คัดกรองได้ 1,๒๗๗ คน ร้อยละ 99.๙๒  ปัจจุบันมีผู้ป่วยเบาหวาน ๓๐ คน มีภาวะเสี่ยงเบาหวาน ๑๖ คน ผู้ป่วยความดันโลหิตสูง ๑๖๗ คน มีภาวะเสี่ยงเป็นความดันโลหิตสูง ๑๐๘ คน ผู้ป่วยเป็นโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูง จำนวน ๗๒ คน จากข้อมูลแสดงถึงแนวโน้มความรุนแรงที่เป็นอันตรายเพิ่มมากขึ้น โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล บ้านสะโล ได้ดำเนินการคัดกรองภาวะสุขภาพประชากรกลุ่มอายุ ๓๕ ปีขึ้นไป ในปี ๒๕๖๒ พบว่า ประชากรมีระดับความเสี่ยงสูงที่จะเป็นผู้ป่วยเบาหวานรายใหม่เพิ่มมากขึ้นทุกปีเช่นกัน การขับเคลื่อนการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพเป็นกลยุทธ์หนึ่งในการป้องกันและส่งเสริมพฤติกรรมสุขภาพเพื่อลดโรคและผลกระทบจากภาวะแทรกซ้อนที่เกิดขึ้น กอปรกับผู้ป่วยโรคเรื้อรังส่วนหนึ่งขาดการรักษาอย่างต่อเนื่องและขาดยาไปทำให้ไม่อยู่ในระบบการดูแลผู้ป่วยเรื้อรัง โดยมากแล้วไม่สะดวกในการเดินทาง ไม่มีใครนำพาไปรับยา ซึ่งอาจส่งผลทำให้เกิดภาวะแทรกซ้อนของโรคได้ รพ.สต.บ้านสะโล มีความพยามที่จะนำกลุ่มเหล่านี้ให้อยู่ในระบบการดุแลที่ถูกต้องและต่อเนื่อง จึงได้จัดทำโครงการร่วมใส่ใจสุขภาพโรคเรื้อรัง ร่วมดูแลใกล้บ้าน ใกล้ใจ ปี 2562 เพื่อให้กลุ่มเป้าหมายได้รับความรู้และสามารถนำไปปฏิบัติได้อย่างมีคุณภาพ

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. ๑. เพื่อเฝ้าระวังกลุ่มเป้าหมายโรคเรื้อรังอยูได้รับการคัดกรองตามมาตรฐานและระบบส่งต่อ ลดภาวะแทรกซ้อน
  2. ๒. เพื่อคัดกรอง ค้นหาและลดภาวะเสี่ยงต่อการเกิดโรค เรื้อรังในชุมชนและลดภาวะแทรกซ้อน
  3. 3. เพื่อให้ประชาชนกลุ่มเสี่ยงได้รับความรู้ การออกกำลังกาย และทักษะในการดูแลสุขภาพที่ถูกต้องและแลกเปลี่ยนเรียนรู้การดูแลสุขภาพในชุมชน

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. กิจกรรมมหกรรมสุขภาพ NCD ดูแลสุขภาพผู้ป่วยเรื้อรังแบบครบวงจร
  2. กิจกรรมฝึกทักษะการเรียนรู้ ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมเชิงปฏิบัติการตามแบบ 3อ 1ส ในกลุ่มเสี่ยง
  3. อบรมและคัดเลือกตัวแทน ที่มีความสามารถในการคัดกรองและค้นหาผู้ป่วยรายใหม่
  4. กิจกรรมอบรมให้ความรู้เชิงปฏิบัติการ เสริมทักษะการเรียนรู้ดูแลตนเอง

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง 100
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

๑. ประชากรกลุ่มเป้าหมายได้รับการคัดกรองภาวะเสี่ยงต่อภาระโรค Metabolic ๒. ประชาชนตระหนัก และใส่ใจในการดูแลสุขภาพตนเอง ครอบครัวและชุมชน สามารถจัดการสุขภาพตนเองโดยการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ ได้อย่างเหมาะสม ๓. ภาคีเครือข่ายมีบทบาทในการดำเนินงานป้องกัน ควบคุมโรค Metabolic ๔. ประชาชนกลุ่มเสี่ยงมีพฤติกรรมการออกกำลังกายเพิ่มขึ้นสภาพร่างกายแข็งแรงจนสามารถควบคุมระดับความดันโลหิตและระดับน้ำตาลในเลือดได้ และไม่มีภาวะแทรกซ้อนของโรคได้ในที่สุด ๕. ผู้ป่วยโรคเรื้อรังเข้าสู่ระบบการดูแลที่ถูกต้องและไม่มีการป่วยด้วยโรคแทรกซ้อน


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. กิจกรรมมหกรรมสุขภาพ NCD ดูแลสุขภาพผู้ป่วยเรื้อรังแบบครบวงจร

วันที่ 4 กรกฎาคม 2562

กิจกรรมที่ทำ

กิจกรรมมหกรรมสุขภาพ NCD ดูแลสุขภาพผู้ป่วยเรื้อรังแบบครบวงจร

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ประชาชนมีความรู้และตระหนักถึงการดูแลตนเองจากโรคเรื้อรัง

 

72 0

2. กิจกรรมฝึกทักษะการเรียนรู้ ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมเชิงปฏิบัติการตามแบบ 3อ 1ส ในกลุ่มเสี่ยง

วันที่ 7 สิงหาคม 2563

กิจกรรมที่ทำ

กิจกรรมฝึกทักษะการเรียนรู้ ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมเชิงปฏิบัติการตามแบบ 3อ 1ส ในกลุ่มเสี่ยง

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

กลุ่มเสี่ยงมีพฤติกรรมการดูแลตนเองที่ดี

 

100 0

3. อบรมและคัดเลือกตัวแทน ที่มีความสามารถในการคัดกรองและค้นหาผู้ป่วยรายใหม่

วันที่ 14 สิงหาคม 2563

กิจกรรมที่ทำ

อบรมและคัดเลือกตัวแทน ที่มีความสามารถในการคัดกรองและค้นหาผู้ป่วยรายใหม่

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

มีการค้นหาผู้ป่วยอย่างมีประสิทธิภาพ

 

35 0

4. กิจกรรมอบรมให้ความรู้เชิงปฏิบัติการ เสริมทักษะการเรียนรู้ดูแลตนเอง

วันที่ 15 สิงหาคม 2563

กิจกรรมที่ทำ

กิจกรรมอบรมให้ความรู้เชิงปฏิบัติการ เสริมทักษะการเรียนรู้ดูแลตนเอง

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

กลุ่มเสี่ยงและผู้ป่วยสามารถดูแลตนเองได้

 

54 0

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 ๑. เพื่อเฝ้าระวังกลุ่มเป้าหมายโรคเรื้อรังอยูได้รับการคัดกรองตามมาตรฐานและระบบส่งต่อ ลดภาวะแทรกซ้อน
ตัวชี้วัด : - กลุ่มเป้าหมายเข้าร่วมกิจกรรมในโครงการร้อยละ ๑๐๐
0.00 100.00

 

2 ๒. เพื่อคัดกรอง ค้นหาและลดภาวะเสี่ยงต่อการเกิดโรค เรื้อรังในชุมชนและลดภาวะแทรกซ้อน
ตัวชี้วัด : - สามารถค้นหาคัดกรอง ในกลุ่มเป้าหมาย ๓๕ ปี ขึ้นไป ร้อยละ ๙๕
0.00 95.00

 

3 3. เพื่อให้ประชาชนกลุ่มเสี่ยงได้รับความรู้ การออกกำลังกาย และทักษะในการดูแลสุขภาพที่ถูกต้องและแลกเปลี่ยนเรียนรู้การดูแลสุขภาพในชุมชน
ตัวชี้วัด : - กลุ่มเป้าหมายมีความรู้ในเรื่องการบริโภคอาหาร การออกกำลังกาย การดูแลสุขภาพ เพิ่มขึ้นร้อยละ ๘๐ ตัวชี้วัดความสำเร็จ - ร้อยละ ๕๐ ของกลุ่มเสี่ยงต่อโรคได้รับการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ - กลุ่มเป้าหมายได้รับคัดกรองความดันโลหิต เบาหวาน ร้อยละ ๙๕ - กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรังไม่มีภาวะแทรกซ้อน ร้อยละ ๑๐๐ - ผู้ป่วยเรื้อรังไม่อยู่ระบบและผู้ป่วยรายใหม่ 1. มีการตรวจเลือด ร้อยละ 100 2. ตรวจตา ร้อยละ 100 3. ตรวจฟัน ร้อยละ 100 4. ตรวจเท้า ร้อยละ 100 5. พบแพทย์และอยู่ในระบบการดูแลของแพทย์และ จนท. ร้อยละ 100
0.00 100.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 100 100
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง 100 100
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ๑. เพื่อเฝ้าระวังกลุ่มเป้าหมายโรคเรื้อรังอยูได้รับการคัดกรองตามมาตรฐานและระบบส่งต่อ ลดภาวะแทรกซ้อน (2) ๒. เพื่อคัดกรอง ค้นหาและลดภาวะเสี่ยงต่อการเกิดโรค เรื้อรังในชุมชนและลดภาวะแทรกซ้อน (3) 3. เพื่อให้ประชาชนกลุ่มเสี่ยงได้รับความรู้ การออกกำลังกาย และทักษะในการดูแลสุขภาพที่ถูกต้องและแลกเปลี่ยนเรียนรู้การดูแลสุขภาพในชุมชน

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) กิจกรรมมหกรรมสุขภาพ NCD ดูแลสุขภาพผู้ป่วยเรื้อรังแบบครบวงจร (2) กิจกรรมฝึกทักษะการเรียนรู้ ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมเชิงปฏิบัติการตามแบบ 3อ 1ส ในกลุ่มเสี่ยง (3) อบรมและคัดเลือกตัวแทน ที่มีความสามารถในการคัดกรองและค้นหาผู้ป่วยรายใหม่ (4) กิจกรรมอบรมให้ความรู้เชิงปฏิบัติการ เสริมทักษะการเรียนรู้ดูแลตนเอง

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


ร่วมใส่ใจสุขภาพโรคเรื้อรัง ร่วมดูแลใกล้บ้าน ใกล้ใจ ปี 2562 จังหวัด นราธิวาส

รหัสโครงการ 62-L508-1-07

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นายนิอาซิ นิจินิการี )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด