กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลคลองขุด


“ ฟื้นฟูสมรรถภาพผู้ที่อยู่ในระยะที่จำเป็นต้องได้รับการฟื้นฟูสมรรถภาพต่อเนื่องโดยการใช้รอกชักมือ-เท้า ”

ตำบลคลองขุด อำเภอเมืองสตูล จังหวัดสตูล

หัวหน้าโครงการ
นางเกศวรางค์ สารบัญ

ชื่อโครงการ ฟื้นฟูสมรรถภาพผู้ที่อยู่ในระยะที่จำเป็นต้องได้รับการฟื้นฟูสมรรถภาพต่อเนื่องโดยการใช้รอกชักมือ-เท้า

ที่อยู่ ตำบลคลองขุด อำเภอเมืองสตูล จังหวัดสตูล จังหวัด สตูล

รหัสโครงการ 48/60 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 มีนาคม 2560 ถึง 30 กันยายน 2560


กิตติกรรมประกาศ

"ฟื้นฟูสมรรถภาพผู้ที่อยู่ในระยะที่จำเป็นต้องได้รับการฟื้นฟูสมรรถภาพต่อเนื่องโดยการใช้รอกชักมือ-เท้า จังหวัดสตูล" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลคลองขุด อำเภอเมืองสตูล จังหวัดสตูล

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลคลองขุด ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
ฟื้นฟูสมรรถภาพผู้ที่อยู่ในระยะที่จำเป็นต้องได้รับการฟื้นฟูสมรรถภาพต่อเนื่องโดยการใช้รอกชักมือ-เท้า



บทคัดย่อ

โครงการ " ฟื้นฟูสมรรถภาพผู้ที่อยู่ในระยะที่จำเป็นต้องได้รับการฟื้นฟูสมรรถภาพต่อเนื่องโดยการใช้รอกชักมือ-เท้า " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลคลองขุด อำเภอเมืองสตูล จังหวัดสตูล รหัสโครงการ 48/60 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 มีนาคม 2560 - 30 กันยายน 2560 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 37,500.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลคลองขุด เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

การฟื้นฟูสมรรถภาพผู้ที่อยู่ในระยะที่จำเป็นต้องได้รับการฟื้นฟูสมรรถภาพอย่างต่อเนื่องในชุมชนถือเป็นแนวทางสำคัญในการพัฒนาคุณภาพชีวิตให้อย่างยั่งยืนโดยมีญาติหรือผู้ดูแลและคนในชุมชนมีส่วนร่วมเนื่องจากความพิการที่มีข้อจำกัดการเคลื่อนไหวร่างกายต้องพึ่งพาบุคลอื่นในระยะยาวจะส่งผลต่อคุณภาพชีวิตทำให้ผู้ป่วยถูกจำกัดให้ปฏิบัติกิจกรรมในชีวิตประจำวัน ไม่สามารถดำรงชีวิตได้เทียบเท่าคนปกติการที่ผู้ที่อยู่ในระยะที่จำเป็นต้องได้รับการฟื้นฟูสมรรถภาพอย่างต่อเนื่องไม่สามารถเข้าถึงระบบบริการทางการแพทย์ทำให้ขาดการดูแลรักษาและฟื้นฟูสมรรถภาพได้อย่างต่อเนื่องและเหมาะสม จะส่งผลต่อคุณภาพชีวิตที่ลดลงรวมไปถึงการเป็นภาระต่อญาติหรือผู้ดูแล

กองสาธารณสุขและสิ่งแวดล้อมเทศบาลตำบลคลองขุด ได้เล็งเห็นความสำคัญของการฟื้นฟูสมรรถภาพผู้ที่อยู่ในระยะที่จำเป็นต้องได้รับการฟื้นฟูสมรรถภาพอย่างต่อเนื่องโดยการใช้รอกชักมือ-เท้า ซึ่งผู้ป่วยเหล่านี้มีความต้องการจำเป็นพิเศษด้านต่างๆ เพื่อให้สามารถดำเนินชีวิตและมีส่วนร่วมในสังคมได้อย่างบุคคลทั่วไป โดยมีความจำเป็นต้องใช้อุปกรณ์เครื่องมือบางอย่าง เพื่อช่วยในการฝึกหัดร่างกาย และต้องได้รับการบำบัดรักษาอย่างต่อเนื่องและใช้ระยะเวลานาน ทำให้ผู้ดูแลผู้ป่วยมีภาระเรื่องเวลาและหน้าที่การงาน เป็นเหตุให้ดูแลผู้ป่วยได้ไม่ดีตามความจำเป็นของการรักษา เช่น การบริหารกล้ามเนื้อแขนและขาของผู้ป่วยในเรื่องการรักษาอาการนี้สามารถทำได้ โดยการใช้วิธีกายภาพบำบัด ซึ่งในโรงพยาบาลก็มีการรักษาในลักษณะนี้ แต่อุปกรณ์ที่ใช้ในการรักษามีราคาสูง ด้วยเหตุนี้จึงนำรอกชักมือรอก-เท้าซึ่งเป็นอุปกรณ์ที่ประยุกต์ให้ออกมาในอีกรูปแบบหนึ่ง ประหยัดพื้นที่และการทำงานไม่ซับซ้อน ผู้ป่วยสามารถทำกายภาพบำบัดได้ด้วยตนเอง เหมาะกับผู้ป่วยที่ญาติไม่สามารถทำหัตถบำบัดให้ผู้ป่วยได้ทุกครั้ง และสภาพบ้านที่ไม่มีขื่อก็สามารถใช้รอกชักมือ-เท้าได้ เพื่อฟื้นฟูสมรรถภาพให้ปฏิบัติกิจกรรมในชีวิตประจำวัน ให้ข้อจำกัดดังกล่าวลดลง หรือหมดไปเพื่อให้ผู้ป่วยได้รับการฟื้นฟูสภาพที่เหมาะสมลดภาวะแทรกซ้อนและมีคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้นต่อไป

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อเสริมศักยภาพในการประกอบกิจวัตรประจำวันที่สำคัญในการดำรงชีวิตของผู้ที่อยู่ในระยะที่จำเป็นต้องได้รับการฟื้นฟูสมรรถภาพอย่างต่อเนื่อง
  2. เพื่อให้ผู้ที่อยู่ในระยะที่จำเป็นต้องได้รับการฟื้นฟูสมรรถภาพอย่างต่อเนื่องสามารถใช้อุปกรณ์ทำกายบริหารด้วยตนเองได้ง่ายเพื่อสร้างกล้ามเนื้อให้แข็งแรงและลดภาระต่อญาติหรือผู้ดูแล

กิจกรรม/การดำเนินงาน

    กลุ่มเป้าหมาย

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
    กลุ่มวัยทำงาน
    กลุ่มผู้สูงอายุ
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง 25
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

    ผลที่คาดว่าจะได้รับ

    1. ผู้ที่อยู่ในระยะที่จำเป็นต้องได้รับการฟื้นฟูสมรรถภาพอย่างต่อเนื่องสามารถใช้อุปกรณ์ทำกายบริหารด้วยตนเองได้ เพื่อสร้างกล้ามเนื้อให้แข็งแรงและลดภาระต่อญาติหรือผู้ดูแล
    2. ผู้ที่อยู่ในระยะที่จำเป็นต้องได้รับการฟื้นฟูสมรรถภาพอย่างต่อเนื่องได้รับการฟื้นฟูสภาพที่เหมาะสมลดภาวะแทรกซ้อนและมีคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้น

    ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

    วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
    ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
    กิจกรรมของโครงการ
    ผลผลิต*
    ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

    1. ค่าจ้างเหมาจัดทำรอกชักมือ-เท้าแบบมีขาตั้ง

    วันที่ 13 มิถุนายน 2560 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

     

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    ผลผลิต มีผู้ที่ต้องได้รับการฟื้นฟูสมรรถภาพ จำนวน 5 คน ผลลัพธ์ ผู้ที่อยู่ในระยะที่จำเป็นต้องได้รับการฟื้นฟูสมรรถภาพอย่างต่อเนื่องสามารถใช้อุปกรณ์ทำกายบริหารด้วยตนเองได้ง่ายเพื่อสร้างกล้ามเนื้อให้แข็งแรงและลดภาระต่อญาติหรือผู้ดูแล

     

    5 5

    * ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
    ** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


    ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

    ผลการดำเนินโครงการ

    สรุปผลการดำเนินโครงการ

    ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
    บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
    บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
    ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

    กองสาธารณสุขและสิ่งแวดล้อม เทศบาลตำบลคลองขุด ได้จัดทำโครงการฟื้นฟูสมรรถภาพผู้ที่อยู่ในระยะที่จำเป็นต้องได้รับการฟื้นฟูสมรรถภาพต่อเนื่องโดยการใช้รอกชักมือ-เท้า โดยมีขั้นตอนการดำเนินโครงการ ดังนี้ 1. บุคลากรทางการแพทย์และสาธารณสุขลงไปประเมินสภาพของผู้ป่วยที่ต้องได้รับการดูแลต่อเนื่องที่บ้าน และมอบรอกชักมือ-เท้าที่จำเป็นสำหรับผู้ที่อยู่ในระยะที่จำเป็นต้องได้รับการฟื้นฟูสมรรถภาพต่อเนื่องที่มีข้อจำกัดการเคลื่อนไหวร่างกาย โดยการพิจารณาโดยบุคลากรทางการแพทย์เป็นเฉพาะราย 2. สอนและแนะนำผู้ดูแลในครอบครัวเรื่องการดูแลและฟื้นฟูสมรรถภาพผู้ที่อยู่ในระยะที่จำเป็นต้องได้รับการฟื้นฟูสมรรถภาพต่อเนื่องที่มีข้อจำกัดการเคลื่อนไหวร่างกาย วิธีการออกกำลังกาย 1 ใช้ผ้าขนหนูมามัดที่มือ ที่อ่อนแรงใช้มือข้างที่ปกติ ออกแรงดึงที่มือจับเพื่อยกแขนที่อ่อนแรงให้ขยับสูงขึ้น-ลง เพื่อเป็นการออกกำลังกายช่วงหัวไหล่ แขน 2. ใช้ผ้าขนหนูรองที่ปลายเท้าข้างที่อ่อนแรง ใช้มือข้างที่ปกติ ออกแรงดึงที่มือจับเพื่อยกเท้าที่อ่อนแรงให้ขยับสูงขึ้น-ลง เพื่อเป็นการออกกำลังกายช่วงสะโพก ขา โดยมีผู้ป่วยติดเตียง ผู้สูงอายุติดบ้าน ติดเตียง ที่ได้รับการประเมินแล้วว่าจำเป็นต้องใช้รอกชักมือ-เท้า ในการฟื้นฟูสมรรถภาพทางกาย จำนวน 25 คน แต่เมื่อลงไปประเมินก่อนมอบรอกชักมือ-เท้า พบว่า ผู้ป่วยติดเตียง ผู้สูงอายุติดบ้าน ติดเตียงหลายคนไม่ขอรับรอกชักมือ-เท้า เพราะไม่อยากทำ จึงไปสำรวจผู้ป่วยติดเตียง ผู้สูงอายุติดบ้าน ติดเตียง ที่มีความจำเป็นต้องใช้รอกชักมือ-เท้า พร้อมกับต้องการรอกชักมือ-เท้าเพื่อนำไปฟื้นฟูสมรรถภาพทางกายมีเพียง 5 คน กองสาธารณสุขและสิ่งแวดล้อม จึงจ้างเหมาจัดทำรอกชักมือ-เท้าแบบมีขาตั้งเพียง 5 ชุด และให้ผู้ป่วยยอมนำไปใช้ ในผู้ป่วย 5 คนที่นำไปใช้มีผู้ป่วยที่อาการดีขึ้นจนสามารถใช้แขน ขาได้เป็นปกติเหมือนเดิม จำนวน 1 คน ส่วนอีก 4 คนยังต้องใช้รอกชักมือ-เท้าอยู่อีก เพื่อลดอาการข้อติด

    ผลผลิตโครงการ

    วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
    1 เพื่อเสริมศักยภาพในการประกอบกิจวัตรประจำวันที่สำคัญในการดำรงชีวิตของผู้ที่อยู่ในระยะที่จำเป็นต้องได้รับการฟื้นฟูสมรรถภาพอย่างต่อเนื่อง
    ตัวชี้วัด : กลุ่มเป้าหมายได้รับการฟื้นฟูสมรรถภาพ

     

    2 เพื่อให้ผู้ที่อยู่ในระยะที่จำเป็นต้องได้รับการฟื้นฟูสมรรถภาพอย่างต่อเนื่องสามารถใช้อุปกรณ์ทำกายบริหารด้วยตนเองได้ง่ายเพื่อสร้างกล้ามเนื้อให้แข็งแรงและลดภาระต่อญาติหรือผู้ดูแล
    ตัวชี้วัด : กลุ่มเป้าหมายสามารถใช้กายอุปกรณ์ในการฟื้นฟูสมรรถภาพตนเองได้

     

    ผู้เข้าร่วมโครงการ

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 25
    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
    กลุ่มวัยทำงาน -
    กลุ่มผู้สูงอายุ -
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง 25
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

    บทคัดย่อ*

    โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อเสริมศักยภาพในการประกอบกิจวัตรประจำวันที่สำคัญในการดำรงชีวิตของผู้ที่อยู่ในระยะที่จำเป็นต้องได้รับการฟื้นฟูสมรรถภาพอย่างต่อเนื่อง (2) เพื่อให้ผู้ที่อยู่ในระยะที่จำเป็นต้องได้รับการฟื้นฟูสมรรถภาพอย่างต่อเนื่องสามารถใช้อุปกรณ์ทำกายบริหารด้วยตนเองได้ง่ายเพื่อสร้างกล้ามเนื้อให้แข็งแรงและลดภาระต่อญาติหรือผู้ดูแล

    ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่

    ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

    หมายเหตุ *

    • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
    • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

    ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

    ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

     

     

     


    ฟื้นฟูสมรรถภาพผู้ที่อยู่ในระยะที่จำเป็นต้องได้รับการฟื้นฟูสมรรถภาพต่อเนื่องโดยการใช้รอกชักมือ-เท้า จังหวัด สตูล

    รหัสโครงการ 48/60

    ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

    ................................
    ( นางเกศวรางค์ สารบัญ )
    ผู้รับผิดชอบโครงการ
    ......./............/.......

    vertical_align_topไปบนสุด