กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

directions_run

โครงการดำเนินสุขภาพวิถีชุมชน ส่งเสริมสุขภาพดี ปรับเปลี่ยนพฤติกรรม ลดกลุ่มเสี่ยง และกลุ่มป่วยโรคความดันโลหิตสูง และเบาหวาน ปี 2562

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.บาโงยซิแน


“ โครงการดำเนินสุขภาพวิถีชุมชน ส่งเสริมสุขภาพดี ปรับเปลี่ยนพฤติกรรม ลดกลุ่มเสี่ยง และกลุ่มป่วยโรคความดันโลหิตสูง และเบาหวาน ปี 2562 ”

อำเภอยะหา จังหวัดยะลา

หัวหน้าโครงการ
นางนิเด๊าะ อิแตแล

ชื่อโครงการ โครงการดำเนินสุขภาพวิถีชุมชน ส่งเสริมสุขภาพดี ปรับเปลี่ยนพฤติกรรม ลดกลุ่มเสี่ยง และกลุ่มป่วยโรคความดันโลหิตสูง และเบาหวาน ปี 2562

ที่อยู่ อำเภอยะหา จังหวัดยะลา จังหวัด ยะลา

รหัสโครงการ 62-L4147-2-09 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 เมษายน 2562 ถึง 30 กันยายน 2562


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการดำเนินสุขภาพวิถีชุมชน ส่งเสริมสุขภาพดี ปรับเปลี่ยนพฤติกรรม ลดกลุ่มเสี่ยง และกลุ่มป่วยโรคความดันโลหิตสูง และเบาหวาน ปี 2562 จังหวัดยะลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน อำเภอยะหา จังหวัดยะลา

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.บาโงยซิแน ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการดำเนินสุขภาพวิถีชุมชน ส่งเสริมสุขภาพดี ปรับเปลี่ยนพฤติกรรม ลดกลุ่มเสี่ยง และกลุ่มป่วยโรคความดันโลหิตสูง และเบาหวาน ปี 2562



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการดำเนินสุขภาพวิถีชุมชน ส่งเสริมสุขภาพดี ปรับเปลี่ยนพฤติกรรม ลดกลุ่มเสี่ยง และกลุ่มป่วยโรคความดันโลหิตสูง และเบาหวาน ปี 2562 " ดำเนินการในพื้นที่ อำเภอยะหา จังหวัดยะลา รหัสโครงการ 62-L4147-2-09 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 เมษายน 2562 - 30 กันยายน 2562 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 36,300.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.บาโงยซิแน เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

โรคเรื้อรังที่รักษาไม่หายขาด และเกิดภาวะแทรกซ้อนได้มากมายจาก หากไม่สามารถควบคุมระดับน้ำตาลในเลือดได้ อาจเกิดการเสียหน้าที่ของอวัยวะต่างๆ ของร่างกายโดยเฉพาะที่ ตา ไต ประสาท หัวใจ และหลอดเลือด ก่อให้เกิดการสูญเสียทางเศรษฐกิจของครอบครัว และของรัฐเป็นอย่างมาก การให้ความรู้และสนับสนุนให้ผู้เป็นเบาหวานสามารถจัดการเบาหวานด้วยตนเองเพื่อลดภาวะแทรกซ้อน ดังกล่าว เป็นสิ่งสำคัญยิ่งต่อการดูแลรักษา และควบคุมเบาหวานที่ยั่งยืน
ผู้เป็นเบาหวานที่ควบคุมน้ำตาลในเลือดใกล้เคียงปกติอย่างต่อเนื่อง และผู้ป่วยความดันที่ควบคุมความดันโลหิตได้อย่างต่อเนื่อง สามารถลดภาวะแทรกซ้อนจากความเสื่อมหน้าที่ของอวัยวะต่างๆ ของร่างกาย ดังกล่าวได้ ทีมผู้ดูแลรักษาผู้เป็นเบาหวาน และความดันโลหิตสูงได้ตระหนักถึงความสำคัญในการให้ข้อมูลหรือความรู้ หากความดันโลหิตสูงเป็นสาเหตุให้เกิดโรคหลอดเลือดหัวใจ โรคหัวใจล้มเหลว โรคไตวาย และโรคอัมพาต ซึ่งส่วนใหญ่จะไม่แสดงอาการจนกว่าจะเกิดโรคแทรกซ้อนเหล่านี้ การตรวจวัดความดันสม่ำเสมอจะช่วยวินิจฉัยโรคความดันโลหิตสูงระยะเริ่มแรก และการควบคุมความดันโลหิตให้ได้ถึงเกณฑ์ปกติตั้งแต่เริ่มวินิจฉัย จะช่วยให้ไม่เกิดโรคแทรกซ้อนต่างๆ ข้างต้นเพื่อให้ผู้เป็นเบาหวาน ความดันโลหิตสูงสามารถจัดการควบคุมเบาหวาน ความดันโลหิตสูงด้วยตนเองได้อย่างมีประสิทธิภาพ เพื่อลดความเสี่ยงต่อการเกิดภาวะแทรกซ้อนต่างๆ นำไปสู่การมีคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้นในการผลักดันการทำงานเชิงรุกในการป้องกัน ปรับเปลี่ยน หรือควบคุมโรค (Prevention program) เพราะโรคเรื้อรังก็ถือว่าเป็นโรคระบาดแต่ระบาดภายใต้เงื่อนไขหรือสภาวะทางสังคม เพราะไม่ใช่เชื้อโรค เราล้มเหลวในการควบคุมมัน จึงกลายเป็นภาระที่พวกเราต้องแบกรับอยู่ในทุกวันนี้ ไม่มีพื้นที่ไหนในประเทศไทยที่ไม่มีผู้ป่วยเบาหวาน ความดันโลหิตสูง ข้อความดังกล่าวได้ชี้ให้เห็นชัดถึงความล้มเหลวของการดำเนินงานควบคุมและป้องกันโรค โรคเรื้อรังระบาดภายใต้เงื่อนไขและสภาวะทางสังคม เกี่ยวเนื่องกับความเป็นสังคม และโรคเรื้อรังดังกล่าวส่งผลเสียทั้งด้านร่างกาย จิตใจและเศรษฐกิจ จากผลงาน การตรวจคัดกรองสุขภาพของตำบลบาโงยซิแน ระหว่าง 01/10/2560ถึง 30/09/2561 ประชาชนอายุ 35 ปีขึ้นไป ได้รับการคัดกรองโรคเบาหวานร้อยละ 91.45 พบกลุ่มปกติที่มีภาวะน้ำตาล น้อยกว่า100 mg/dl จำนวน 1,446 คน คิดเป็นร้อยละ 73.44 เสี่ยงสูงต่อเบาหวานค่าระดับน้ำตาล 100-125mg/dl จำนวน 426 คน คิดเป็นร้อยละ 21.64 แยกเป็นชาย 181 คน หญิง 245 คน สงสัยเป็นโรคค่าระดับน้ำตาล มากกว่าเท่ากับ 126 mg./dl จำนวน 97 คน คิดเป็นร้อยละ 4.93 แยกเป็นชาย 37 คน หญิง 60 คน Pre DM จำนวน 15 ราย แยกเป็น ชาย 4 คน หญิง 11 คน คิดเป็นร้อยละ 0.76 ผู้ป่วยโรคเบาหวานควบคุมระดับน้ำตาลได้ดี มีค่า HbA1c น้อยกว่า 7% จำนวน 104 คน คิดเป็นร้อยละ 28.42 และได้รับการคัดกรองโรคความดันโลหิตสูง จำนวน 2,360 คิดเป็นร้อยละ 93.31 กลุ่มปกติ (SBPน้อยกว่า120 DBPน้อยกว่า80) จำนวน 936 คนคิดเป็นร้อยละ 55.88 เสี่ยงสูงต่อโรคความดันโลหิตสูง (SBP 120-139/DBP 80-89) จำนวน 683 คน คิดเป็นร้อยละ 40.78 สงสัยเป็นโรค (SBPมากกว่าเท่ากับ140/DBPมากกว่าเท่ากับ90) จำนวน 60 คน คิดเป็นร้อยละ 3.58 แยกเป็นชาย 25 คน หญิง 35 คน Pre HT จำนวน 51 คนคิดเป็นร้อยละ 7.87 แยกเป็นชาย 28 คน หญิง 23 ผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูงที่ควบคุมความดันโลหิตอยู่ในเกณฑ์ น้อยกว่า140/90 มม.ปรอท จำนวน 158 คน คิดเป็นร้อยละ 42.70 ( ข้อมูลจากระบบคลังข้อมูลโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง จังหวัดยะลา )
ชมรมอาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน ร่วมกับโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบาโงยซิแน อำเภอยะหา จังหวัดยะลา จึงตระหนัก และเล็งเห็นถึงความสำคัญ ที่ต้องแก้ปัญหาโรคเรื้อรังอย่างจริงจัง ของผู้ที่เป็นกลุ่มเสี่ยงเพื่อป้องกันมิให้เกิดโรค และในกลุ่มป่วยต้องได้รับการดูแลอย่างต่อเนื่องให้คงไว้ด้วยระดับน้ำตาล และความดันโลหิตที่อยู่ในเกณฑ์ที่ปลอดภัย แก้ไขปัญหาภายใต้สภาวะทางสังคม ให้ปัญหาโรคเรื้อรังสามารถอยู่ในระดับปกติปลอดภัย และดำรงชีวิตได้อย่างปกติสุข ทั้งระยะสั้น และระยะยาว การทำเข็มมุ่งร่วมกันทั้งตัวผู้ป่วย บุคคลรอบข้าง และชุมชน จึงเป็นเครื่องมือหนึ่ง หรือกลไกหนึ่งที่จะนำไปสู่การนำโรคเรื้อรังให้ประสบความสำเร็จได้อย่างยั่งยืน จึงได้จัดทำโครงการดำเนินสุขภาพวิถีชุมชน ส่งเสริมสุขภาพดี ปรับเปลี่ยนพฤติกรรม ลดกลุ่มเสี่ยง และกลุ่มป่วยโรคความดันโลหิตสูง และเบาหวาน ปี 2562

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อให้กลุ่มป่วยและประชาชนที่อยู่ในกลุ่มเสี่ยงได้รับความรู้ และมีการปรับมีพฤติกรรมสุขภาพในทางที่ดีขึ้นลดภาวะแทรกซ้อนลดโอกาสการเกิดโรค และระดับความรุนแรงของโรค
  2. เพื่อให้แกนนำสาธารณสุข อสม. ได้รับความรู้ มีส่วนร่วมในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพและเป็นบุคคลตัวอย่างด้านสุขภาพ
  3. เพื่อป้องกันการเกิดภาวะแทรกซ้อนในเท้าของผู้ป่วยเบาหวาน
  4. เพื่อให้ผู้ป่วยที่ได้รับการส่งกลับบ้าน รับยาที่สถานใกล้บ้าน ได้รับติดตามเจาะเลือดโดยเจ้าหน้าที่ ที่สะดวกและทั่วถึง

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. 1. จัดประชุมคณะทำงานเพื่อชี้แจง รณรงค์ประชาสัมพันธ์ และจัดทำสื่อความรู้
  2. 2. จัดอบรมเชิงปฏิบัติการ การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ (กลุ่มเสี่ยงสูง และกลุ่มป่วย) ให้เกิดการเรียนรู้
  3. 3. จัดเวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้ เพื่อให้เกิดความตระหนัก
  4. 4. ช่วยเหลือในการติดตามกลุ่มตรวจสุขภาพเจาะเลือดเส้นเลือดดำประจำปี
  5. 5. เฝ้าระวังภาวะแทรกซ้อนเท้าในกลุ่มป่วยเบาหวาน

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน 2,071
กลุ่มผู้สูงอายุ 705
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง 574
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
อาสาสมัครประจำครอบครัว 72

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

  1. ประชาชนกลุ่มป่วยไม่เกิดภาวะแทรกซ้อนของโรค ลดความรุนแรงของโรค และประชาชนกลุ่มเสี่ยงลดโอกาสเกิดโรคเรื้อรังไม่ติดต่อโดยการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม
  2. ประชาชนกลุ่มป่วยใช้พื้นฐานชีวิตในการดูแลอาการของโรค ด้วยตนเอง โดยการมีส่วนร่วมของภาคีเครือข่ายทุกกลุ่ม
  3. ชุมชนโดยแกนนำสุขภาพมีส่วนร่วม เห็นความสำคัญ และสามารถเป็นบุคคลต้นแบบในการดูแลสุขภาพของชุมชน เพื่อการดูแลระยะยาว
  4. ภาวะแทรกซ้อนทางเท้าในกลุ่มผู้ป่วยเบาหวาน ลดลง หรือไม่เกิดเพิ่มขึ้น
  5. ผู้ป่วยสามารถควบคุมระดับน้ำตาลและความดันโลหิตอยู่ในเกณฑ์ที่ปกติของโรค
  6. เสริมพลัง และการดูแลสุขภาพของกลุ่มผู้สูงอายุที่ป่วยด้วยโรคเรื้อรัง

ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อให้กลุ่มป่วยและประชาชนที่อยู่ในกลุ่มเสี่ยงได้รับความรู้ และมีการปรับมีพฤติกรรมสุขภาพในทางที่ดีขึ้นลดภาวะแทรกซ้อนลดโอกาสการเกิดโรค และระดับความรุนแรงของโรค
ตัวชี้วัด : 1.ร้อยละของผู้ป่วยโรคเบาหวานควบคุมน้ำตาลได้เพิ่มขึ้น หรือ มากกว่า 40 เปอร์เซนต์ 2.ร้อยละของผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูงวบคุมได้เพิ่มขึ้น หรือ มากกว่า 50 เปอร์เซนต์
0.00

 

2 เพื่อให้แกนนำสาธารณสุข อสม. ได้รับความรู้ มีส่วนร่วมในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพและเป็นบุคคลตัวอย่างด้านสุขภาพ
ตัวชี้วัด : ร้อยละ 70 ของแกนนำสาธารณสุข อสม. มีความรู้และมีการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพและเป็นบุคคลตัวอย่างด้านสุขภาพ
0.00

 

3 เพื่อป้องกันการเกิดภาวะแทรกซ้อนในเท้าของผู้ป่วยเบาหวาน
ตัวชี้วัด : ร้อยละ 60 ได้รับการตรวจภาวะแทรกซ้อนในเท้าของผู้ป่วยเบาหวาน
0.00

 

4 เพื่อให้ผู้ป่วยที่ได้รับการส่งกลับบ้าน รับยาที่สถานใกล้บ้าน ได้รับติดตามเจาะเลือดโดยเจ้าหน้าที่ ที่สะดวกและทั่วถึง
ตัวชี้วัด : ร้อยละ 95 ผู้ป่วยที่ได้รับการส่งกลับ รับยาที่สถานที่ใกล้บ้าน ได้รับการติดตามเจาะเลือดโดยเจ้าหน้าที่ ที่สะดวกและทั่วถึง
0.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 3422
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน 2,071
กลุ่มผู้สูงอายุ 705
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง 574
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -
อาสาสมัครประจำครอบครัว 72

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อให้กลุ่มป่วยและประชาชนที่อยู่ในกลุ่มเสี่ยงได้รับความรู้ และมีการปรับมีพฤติกรรมสุขภาพในทางที่ดีขึ้นลดภาวะแทรกซ้อนลดโอกาสการเกิดโรค และระดับความรุนแรงของโรค (2) เพื่อให้แกนนำสาธารณสุข อสม. ได้รับความรู้ มีส่วนร่วมในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพและเป็นบุคคลตัวอย่างด้านสุขภาพ (3) เพื่อป้องกันการเกิดภาวะแทรกซ้อนในเท้าของผู้ป่วยเบาหวาน (4) เพื่อให้ผู้ป่วยที่ได้รับการส่งกลับบ้าน รับยาที่สถานใกล้บ้าน ได้รับติดตามเจาะเลือดโดยเจ้าหน้าที่ ที่สะดวกและทั่วถึง

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) 1. จัดประชุมคณะทำงานเพื่อชี้แจง รณรงค์ประชาสัมพันธ์ และจัดทำสื่อความรู้ (2) 2. จัดอบรมเชิงปฏิบัติการ การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ (กลุ่มเสี่ยงสูง และกลุ่มป่วย) ให้เกิดการเรียนรู้ (3) 3. จัดเวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้ เพื่อให้เกิดความตระหนัก (4) 4. ช่วยเหลือในการติดตามกลุ่มตรวจสุขภาพเจาะเลือดเส้นเลือดดำประจำปี (5) 5. เฝ้าระวังภาวะแทรกซ้อนเท้าในกลุ่มป่วยเบาหวาน

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการดำเนินสุขภาพวิถีชุมชน ส่งเสริมสุขภาพดี ปรับเปลี่ยนพฤติกรรม ลดกลุ่มเสี่ยง และกลุ่มป่วยโรคความดันโลหิตสูง และเบาหวาน ปี 2562 จังหวัด ยะลา

รหัสโครงการ 62-L4147-2-09

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นางนิเด๊าะ อิแตแล )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด