กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.จะกว๊ะ


“ โครงการจะกว๊ะปลอดบุหรี่ ”

ตำบลจะกว๊ะ อำเภอรามัน จังหวัดยะลา

หัวหน้าโครงการ
นายอาหามะ ฮะตะมะ

ชื่อโครงการ โครงการจะกว๊ะปลอดบุหรี่

ที่อยู่ ตำบลจะกว๊ะ อำเภอรามัน จังหวัดยะลา จังหวัด ยะลา

รหัสโครงการ 62-l4157-2-6 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 มีนาคม 2562 ถึง 30 กันยายน 2562


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการจะกว๊ะปลอดบุหรี่ จังหวัดยะลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลจะกว๊ะ อำเภอรามัน จังหวัดยะลา

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.จะกว๊ะ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการจะกว๊ะปลอดบุหรี่



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการจะกว๊ะปลอดบุหรี่ " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลจะกว๊ะ อำเภอรามัน จังหวัดยะลา รหัสโครงการ 62-l4157-2-6 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 มีนาคม 2562 - 30 กันยายน 2562 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 45,000.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.จะกว๊ะ เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

การบริโภคยาสูบหรือการสูบบุหรี่ เป็นสาเหตุสำคัญของปัญหาคุณภาพชีวิตและปัญหาสุขภาพที่ร้ายแรง บุคลากรทางการแพทย์และสาธารณสุขได้เข้ามามีส่วนร่วมอย่างสำคัญในการรณรงค์เพื่อควบคุมการบริโภคยาสูบ มุ่งให้มีการลด/ละ/เลิกการสูบบุหรี่ เนื่องจากการงดบริโภคยาสูบหรือการหยุดสูบบุหรี่ จะทำให้อัตราการเสียชีวิตจากโรคที่เกี่ยวข้องกับการบริโภคยาสูบลดลงได้อย่างมีนัยสำคัญ สุขภาพอนามัยและคุณภาพชีวิตของผู้ที่เลิกสูบบุหรี่ได้ ของสมาชิกในครอบครัว และของผู้อื่นในสังคมดีขึ้น ลดค่าใช้จ่ายของครอบครัวและประเทศชาติในการดูแลรักษาพยาบาลผู้ป่วย ที่มีสาเหตุแห่งความเจ็บป่วยมาจากการบริโภคยาสูบหรือการสูบบุหรี่ องค์การอนามัยโลก (WHO) ได้ให้ความสำคัญและสนับสนุนการควบคุมการบริโภคยาสูบ หรือการสูบบุหรี่มาอย่างต่อเนื่อง จากข้อมูลขององค์การอนามัยโลก พบว่า แต่ละปีมีผูเสียชีวิตจากการสูบบุหรี่ประมาณ 4 ล้านคน ซึ่งเทียบเท่ากับเดือนละเกือบ 11,000 คน หรือวันละ 8 คน และในบุหรี่มีสารเคมี 4,000 กว่าชนิด เช่น formaldehyde (สารเคมีที่ใช้ดองศพ) carbon monoxide (เช่นเดียวกับควันจากท่อไอเสียเครื่องยนต์) สาร acetone (สารเคมีที่ใช้ล้างเล็บ) ซึ่งสารเหล่านี้ ล้วนแต่เป็นอันตรายต่อสุขภาพทั้งต่อผู้สูบเองและผู้ที่ได้รับควันบุหรี่มือสอง โดยเฉพาะอย่างยิ่ง หากผู้ที่ได้รับควันบุหรี่เป็นเด็ก ก็จะยิ่งเป็นอันตรายมากขึ้น เนื่องจากเด็กยังมีภูมิต้านทานโรคค่อนข้างต่ำ และยังไม่สามารถป้องกันตนเองจากการได้รับควันบุหรี่จากผู้ใหญ่ได้ นอกจากนั้น งานวิจัยพบว่า ในแต่ละปีมีคนไทยเสียชีวิตจากโรคที่เกิดจากการสูบบุหรี่ ปีละประมาณ 52,000 คน หรือชั่วโมงละ 6 คน และผู้ที่ติดบุหรี่ส่วนใหญ่ร้อยละ 90 คน เริ่มสูบและติดบุหรี่ตั้งแต่ยังอยู่ในวัยรุ่น ในช่วงอายุ 11-18 ปี โดยยังสูบต่อเนื่องไปจนอยู่ในวัยเยาวชน ในช่วงอายุ 19-25 และผู้ใหญ่ตอนต้น ในช่วงอายุ 25-35 และจากข้อมูล Health Data Center กระทรวงสาธารณสุข พบว่า ประชาชนตำบลจะกว๊ะ มีความชุมชุมของการสูบบุหรี่ถึงร้อยละ 19.75 ซึ่งเกินเกณฑ์ตัวชี้วัดในระดับประเทศ ดังนั้น ชมรมอาสาสมัครสาธารณสุขตำบลจะกว๊ะ จึงมีเป้าหมายในการร่วมมือกันรณรงค์ต่อต้านบุหรี่ โดยจัดกิจกรรมเสวนาให้ความรู้ การเพิ่มพื่นที่ปลอดบุหรี่ และการรณรงค์การลด ละ เลิก การสูบบะหรี่ เพื่อให้ทุกภาคส่วนในชุมชนมีส่วนร่วมอย่างเข้มแข็งและจริงจังในการต่อต้านและการร่่วมกันรณรงค์การลด ละ เลิก การสูบบุหรี่ ให้มีประสิทธิภาพ อย่างต่อเนื่อง สัมฤทธิผลและนำไปสู่เป้าหมาย "ตำบลจะกว๊ะปลอดบุหรี่" ได้ในที่สุด   ชมรมอาสาสมัครสาธารณสุขตำบลจะกว๊ะ จึงมีเป้าหมายในการร่วมมือกันรณรงค์ต่อต้านบุหรี่ โดยจัดกิจกรรมเสวนาให้ความรู้ การเพิ่มพื้นที่ปลอดบุหรี่ และการรณรงค์การลด ละ เลิก การสูบบุหรี่ เพื่อให้ทุกภาคส่วนในชุมชนมีส่วนร่วมอย่างเข้มแข็งและจริงจังในการต่อต้านและร่วมกันรณรงค์การลด ละ เลิก การสูบบุหรี่ ให้มีประสิทธิภาพ อย่างต่อเนื่อง สัมฤทธิผลและนำไปสูไปสู่เป้าหมาย "ตำบลจะกว๊ะปลอดบุหรี่" ได้ในที่สุด

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. 1.เพื่อให้ประชาชนมีความรู้ ความเข้าใจ เกี่ยวกับพิษภัยของบุหรี่และวิธีการเลิกบุหรี่ 2. เพื่อให้พื้นที่ในชุมชน มีพื้นที่ปลอดบุหรี่เพิ่มขึ้น 3. เพื่อส่งเสริมประชาชนเกิดค่านิยมที่ถูกต้องเกี่ยวกับการไม่สูบบุหรี่

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. กิจกรรมเสวนาแลกเปลี่ยนเรียนรู้ในหัวข้อ "โทษ พิษ ภัย ของบุหรี่และวิธีการเลิก"

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน 360
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

1.ร้อยละ 90 ของประชาชน มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับพิษภัยของบุหรี่และวิธีการเลิกบุหรี่ 2.สถานที่ราชการและมัสยิดในตำบล ปลอดบุหรี่ 3.ลดนักสูบหน้าใหม่ลงร้อยละ 90


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. กิจกรรมเสวนาแลกเปลี่ยนเรียนรู้ในหัวข้อ "โทษ พิษ ภัย ของบุหรี่และวิธีการเลิก"

วันที่ 14 มกราคม 2563

กิจกรรมที่ทำ

1.กิจกรรมเสวนาแลกเปลี่ยนเรียนรู้ในหัวข้อ "โทษ พิษ ภัย ของบุหรี่และวิธีการเลิก" 2.กิจกรรมเชิงรุกเพื่อค้นหานักสูบในชุมชน พร้อมสร้างค่านิยมใหม่ 3.กิจกรรมประชาสัมพันธ์ เพื่อสร้างพื้นที่ปลอดบุหรี่ในชุมชน

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

1.ร้อยละ 90 ของประชาชนมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับพิษภัยของบุหรี่และวิธีการเลิกบุหรี่ที่เพิ่มขึ้น 2.สถานที่ราชการและมัสยิดในตำบลทุกแห่ง ปลอดบุหรี่ 3.นับสูบหน้าใหม่ลดลง ร้อยละ 90

 

360 0

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

การดำเนินงานจะกว๊ะปลอดบุหรี่ในพื้นที่ตำบลจะกว๊ะ จำนวนเป้าหมายทั้งหมด 360 คน ในการดำเนินกิจกรรมมีผู้เข้าร่วม จำนวน 360 คน คิดเป็นร้อยละ 100 ซึ่งผู้เข้าร่วมอบรมเป็นเยาวขนรุ่นใหม่ บรรลุเป้าหมายที่วางไว้

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 1.เพื่อให้ประชาชนมีความรู้ ความเข้าใจ เกี่ยวกับพิษภัยของบุหรี่และวิธีการเลิกบุหรี่ 2. เพื่อให้พื้นที่ในชุมชน มีพื้นที่ปลอดบุหรี่เพิ่มขึ้น 3. เพื่อส่งเสริมประชาชนเกิดค่านิยมที่ถูกต้องเกี่ยวกับการไม่สูบบุหรี่
ตัวชี้วัด :
1.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 360
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน 360
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1.เพื่อให้ประชาชนมีความรู้ ความเข้าใจ เกี่ยวกับพิษภัยของบุหรี่และวิธีการเลิกบุหรี่ 2. เพื่อให้พื้นที่ในชุมชน มีพื้นที่ปลอดบุหรี่เพิ่มขึ้น 3. เพื่อส่งเสริมประชาชนเกิดค่านิยมที่ถูกต้องเกี่ยวกับการไม่สูบบุหรี่

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) กิจกรรมเสวนาแลกเปลี่ยนเรียนรู้ในหัวข้อ "โทษ พิษ ภัย ของบุหรี่และวิธีการเลิก"

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการจะกว๊ะปลอดบุหรี่ จังหวัด ยะลา

รหัสโครงการ 62-l4157-2-6

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นายอาหามะ ฮะตะมะ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด