กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลหารเทา


“ โครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมเพื่อลดพุง หุ่นดี ด้วย DPAC ”

ตำบลหารเทา อำเภอปากพะยูน จังหวัดพัทลุง

หัวหน้าโครงการ
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านทะเลเหมียง

ชื่อโครงการ โครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมเพื่อลดพุง หุ่นดี ด้วย DPAC

ที่อยู่ ตำบลหารเทา อำเภอปากพะยูน จังหวัดพัทลุง จังหวัด พัทลุง

รหัสโครงการ 62-L3339-01-04 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 มีนาคม 2562 ถึง 30 เมษายน 2562


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมเพื่อลดพุง หุ่นดี ด้วย DPAC จังหวัดพัทลุง" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลหารเทา อำเภอปากพะยูน จังหวัดพัทลุง

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลหารเทา ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมเพื่อลดพุง หุ่นดี ด้วย DPAC



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมเพื่อลดพุง หุ่นดี ด้วย DPAC " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลหารเทา อำเภอปากพะยูน จังหวัดพัทลุง รหัสโครงการ 62-L3339-01-04 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 มีนาคม 2562 - 30 เมษายน 2562 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 28,900.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลหารเทา เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

ปัญหาโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง ได้แก่ โรคเบาหวาน โรคความดันโลหิตสูง โรคหัวใจ โรคหลอดเลือดสมอง และ โรคมะเร็งเป็นปัญหาสุขภาพที่สำคัญระดับประเทศ เนื่องมาจากความเจริญก้าวหน้าทางด้านเทคโนโลยีและสภาพแวดล้อมที่เปลี่ยนแปลง ส่งผลกระทบต่อการดำเนินชีวิตของประชาชนคนไทย มีความสะดวกสบายมากยิ่งขึ้น ปัจจัยเหล่านี้ส่งผลให้อัตราเสี่ยงและอัตราการเกิดของโรคอ้วนลงพุง หรือ โรคเมตาบอลิก ซินโดรม (Metabolic syndrome)และโรคไม่ติดต่อเรื้อรังเพิ่มสูงขึ้น จากรายงานสถิติสุขภาพทั่วโลก พ.ศ. 2555 ขององค์การอนามัยโลกพบว่า 1 ใน 10 ของประชาชนในวัยผู้ใหญ่ป่วยเป็นโรคเบาหวานและ 1 ใน 3 มีภาวะความดันโลหิตสูง นอกจากนี้พบว่าประมาณร้อยละ 63 ของการเสียชีวิตทั้งหมดทั่วโลกเกิดจากโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ โดยเพิ่มการเคลื่อนไหวร่างกาย/การมีกิจกรรมทางกาย (Physical Activity) การมีพฤติกรรมสุขภาพด้านอาหารและโภชนาการ (Diet) ที่เหมาะสม ลดอาหารหวาน มัน เค็ม เพิ่มการรับประทานผักผลไม้ควบคุมป้องกันไม่ให้เกิดภาวะโภชนาการเกินลดการสูบบุหรี่ ดื่มสุรา จัดการอารมณ์ เน้นการลดปัจจัยเสี่ยง ป้องกันภาวะน้ำหนักเกิน/อ้วนลงพุง และป้องกันการเกิดโรคไม่ติดต่อเรื้อรังได้ เพื่อให้ประชาชนได้รับการบริการและมีการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพที่เหมาะสม ทั้งนี้ เพื่อส่งเสริมสุขภาพ ป้องกันและควบคุมโรคไม่ติดต่อเรื้อรังให้แก่ประชาชน โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านทะเลเหมียง มีกลุ่มเสี่ยงโรคเบาหวาน ในปี 2561 จำนวน 213 คน คิดเป็นร้อยละ 18.44 กลุ่มสงสัยเป็นโรค 21 คน คิดเป็นร้อยละ 1.82 กลุ่มเสี่ยงโรคความดันโลหิตสูงจำนวน 510 ราย คิดเป็นร้อยละ49.66กลุ่มสงสัยเป็นโรค จำนวน79คนคิดเป็นร้อยละ 7.69 ซึ่งหากกลุ่มนี้ไม่ได้รับการดูแลก็จะกลายเป็นกลุ่มป่วยในเวลาต่อมา

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. ข้อที่1.เพื่อพัฒนาให้กลุ่มเสี่ยงมีการเรียนรู้อย่างถูกต้องในเรื่องอาหาร การออกกำลังกาย และการจัดการกับอารมณ์ ที่เหมาะ
  2. ข้อที่ 2.เพื่อควบคุมน้ำหนักตัวให้อยู่ในเกณฑ์มาตรฐานตามค่าดัชนีมวลกาย (BMI) รวมทั้งควบคุมภาวะไขมันในเลือดและมีรอบเอวที่เหมาะสม
  3. ข้อที่ 3.เพื่อให้กลุ่มเสี่ยงมีการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพที่ถูกต้องเหมาะสมและสามารถควบคุมน้ำหนักตัว ลดรอบเอวและไขมันในเลือดได้

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. กิจกรรมอบรมให้ความรู้ในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพในเรื่องการบริโภคอาหาร ออกกำลังกายและการจัดการอารมณ์
  2. กิจกรรมประเมินภาวะสุขภาพ รายบุคคล ตรวจ DTX, เจาะหาไขมันในเลือด
  3. กิจกรรมติดตามกลุ่มเป้าหมายเพื่อติดตามการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม จำนวน ๖ ครั้ง
  4. กิจกรรมติดตามการรับประทานอาหาร/การออกกำลังกาย จากการบันทึกข้อมูลส่วนบุคคล

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ 30
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

ผลที่คาดว่าจะได้รับ 1.ผู้เข้ารับการอบรม มีความรู้อย่างถูกต้องในเรื่องอาหาร การออกกำลังกาย และการจัดการกับอารมณ์ที่เหมาะสม
๒.ผู้เข้ารับการอบรมมีแนวทางในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมเพื่อควบคุมน้ำหนักตัวและไขมันรวมทั้งมีรอบเอวที่เหมาะสม


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

1.การเข้าอบรมมีความรู้ในการดูแลตนเอง เพื่อความคุมน้ำหนัก และไขมัน ในเรื่องอาหาร การออกกำลังกาย และการจัดการกับอารมณ์ที่เหมาะสม จะเห็นได้ว่า ผู้เข้ารับการอบรมมีความรู้ในระดับดีมาก ร้อยละ 83.33 รองลงมาคือระดับดี ร้อยละ 16.67 ตามลำดับ 2.การเข้าอบรมแนวทางในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม เพื่อควบคุมน้ำหนักตัวและไขมัน รวมทั้งมีรอบเอวที่เหมาะสม ร้อยละ 30 จะเห็นได้ว่าหลังดำเนินโครงการน้ำหนักตัวลดลงอยู่ในระดับปกติ 5 คน คิดเป็น ร้อยละ 16.66 น้ำหนักตัวลดลง 24 คน คิดเป็นร้อยละ 80 น้ำหนักตัวคงที่ 3 คน คิดเป็นร้อยละ 10 และน้ำหนักตัวเพิ่มขึ้น 3 คน คิดเป็นร้อยละ 10 ตามลำดับ
3.การแสดงระดับรอบเอวของกลุ่มเป้าหมาย (N=30) จะเห็นได้ว่าหลังดำเนินโครงการรอบเอวอยู่ในระดับปกติ 7 คน คิดเป็นร้อยละ 23.33 รอบเอวลดลง 23 คน คิดเป็นร้อยละ 76.66 เอวเพิ่มขึ้น 4 คน คิดเป็นร้อยละ 11.33 รอบเอวคงที่ 3 คน คิดเป็นร้อยละ 10.00 ตามลำดับ 4.การแสดงระดับไขมันในเลือดของกลุ่มเป้าหมาย (N=30) จะเห็นได้ว่าหลังดำเนินโครงการผู้เข้าร่วมโครงการมีไขมันลดลง คิดเป็นร้อยละ 63.34 ไขมันเพิ่มขึ้น ร้อยละ 33.33 5.การแสดงระดับน้ำตาลในเลือด (N=30) จะเห็นได้ว่าหลังดำเนินโครงการและเจาะระดับน้ำตาลในเลือดซ้ำ(FBS) พบว่ากลุ่มเสี่ยงมีค่าระดับน้ำตาลในเลือดในระดับปกติ จำนวน 9 คน คิดเป็นร้อยละ 90 ระดับน้ำตาลในเลือดอยู่ในกลุ่มเสี่ยง 1 คน คิดเป็นร้อยละ 10 ตามลำดับ

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 ข้อที่1.เพื่อพัฒนาให้กลุ่มเสี่ยงมีการเรียนรู้อย่างถูกต้องในเรื่องอาหาร การออกกำลังกาย และการจัดการกับอารมณ์ ที่เหมาะ
ตัวชี้วัด : 1.ผู้เข้ารับการอบรมได้รับการเรียนรู้ในการดูแลตนเองเพื่อควบคุมน้ำหนักและไขมันในเรื่องอาหาร การออกกำลังกาย และจัดการกับอารมณ์ที่เหมาะสม ร้อยละ 80
0.00

 

2 ข้อที่ 2.เพื่อควบคุมน้ำหนักตัวให้อยู่ในเกณฑ์มาตรฐานตามค่าดัชนีมวลกาย (BMI) รวมทั้งควบคุมภาวะไขมันในเลือดและมีรอบเอวที่เหมาะสม
ตัวชี้วัด : 2.ผู้เข้ารับการอบรมมีแนวทางในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมเพื่อควบคุมน้ำหนักตัวและไขมันรวมทั้งมีรอบเอวที่เหมาะสม ร้อยละ 30
0.00

 

3 ข้อที่ 3.เพื่อให้กลุ่มเสี่ยงมีการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพที่ถูกต้องเหมาะสมและสามารถควบคุมน้ำหนักตัว ลดรอบเอวและไขมันในเลือดได้
ตัวชี้วัด :
0.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 30 30
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ 30 30
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ข้อที่1.เพื่อพัฒนาให้กลุ่มเสี่ยงมีการเรียนรู้อย่างถูกต้องในเรื่องอาหาร การออกกำลังกาย และการจัดการกับอารมณ์ ที่เหมาะ (2) ข้อที่ 2.เพื่อควบคุมน้ำหนักตัวให้อยู่ในเกณฑ์มาตรฐานตามค่าดัชนีมวลกาย (BMI) รวมทั้งควบคุมภาวะไขมันในเลือดและมีรอบเอวที่เหมาะสม (3) ข้อที่ 3.เพื่อให้กลุ่มเสี่ยงมีการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพที่ถูกต้องเหมาะสมและสามารถควบคุมน้ำหนักตัว ลดรอบเอวและไขมันในเลือดได้

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) กิจกรรมอบรมให้ความรู้ในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพในเรื่องการบริโภคอาหาร ออกกำลังกายและการจัดการอารมณ์ (2) กิจกรรมประเมินภาวะสุขภาพ รายบุคคล ตรวจ DTX, เจาะหาไขมันในเลือด (3) กิจกรรมติดตามกลุ่มเป้าหมายเพื่อติดตามการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม จำนวน ๖ ครั้ง (4) กิจกรรมติดตามการรับประทานอาหาร/การออกกำลังกาย จากการบันทึกข้อมูลส่วนบุคคล

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมเพื่อลดพุง หุ่นดี ด้วย DPAC จังหวัด พัทลุง

รหัสโครงการ 62-L3339-01-04

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านทะเลเหมียง )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด