กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.เขาชัยสน


“ ใช้ยาอย่างปลอดภัย ”

ตำบลเขาชัยสน อำเภอเขาชัยสน จังหวัดพัทลุง

หัวหน้าโครงการ
นางอภิญญา เพ็ชรศรี

ชื่อโครงการ ใช้ยาอย่างปลอดภัย

ที่อยู่ ตำบลเขาชัยสน อำเภอเขาชัยสน จังหวัดพัทลุง จังหวัด พัทลุง

รหัสโครงการ 2562-L3310-1-09 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 22 เมษายน 2562 ถึง 27 ธันวาคม 2562


กิตติกรรมประกาศ

"ใช้ยาอย่างปลอดภัย จังหวัดพัทลุง" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลเขาชัยสน อำเภอเขาชัยสน จังหวัดพัทลุง

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.เขาชัยสน ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
ใช้ยาอย่างปลอดภัย



บทคัดย่อ

สภาพปัจจุบันพบว่าผู้สูงอายุ ส่วนใหญ่มีปัญหาสุขภาพจากการเจ็บป่วยด้วยโรคเรื้อรังและมีความรุนแรงของโรคมากกว่ากลุ่มวัยอื่น อันเป็นผลสืบเนื่องมาจากความเสื่อมสภาพด้านร่างกายของผู้สูงอายุ พฤติกรรมสุขภาพและการดูแลควบคุม โรคเรื้อรังที่ไม่เหมาะสมในอดีต โดยพบว่าปัญหาสุขภาพที่เกิดจากการเจ็บป่วยด้วยโรคเรื้อรังที่มักพบใน ผู้สูงอายุ ได้แก่ โรคความดันโลหิตสูง โรคเบาหวาน โรคหัวใจ โรคหลอดเลือดในสมองตีบ ตามลำดับ มักจะพบปัญหาจากการใช้ยา ไม่เหมาะสมในผู้ป่วยสูงอายุ เนื่องจากผู้ป่วยกลุ่มนี้มักเป็นโรคเรื้อรัง ส่วนใหญ่จึงมีการใช้ยาหลายชนิด พร้อมๆกัน และเป็นการใช้อย่างต่อเนื่อง การใช้ยาพร้อมๆ กันหลายชนิด ยังอาจเพิ่มความเสี่ยงต่อการเกิดผลไม่พึงประสงค์จากยา อันตรกิริยาระหว่างยา จากสถานการณ์ดังกล่าวย่อม ส่งผลให้อัตราการรับบริการผู้ป่วยสูงอายุจากปัญหาการใช้ยาไม่เหมาะสมมีแนวโน้มเพิ่มขึ้น       พฤติกรรมการใช้ยาของผู้ป่วยสูงอายุโรคเรื้อรังในชุมชนเชียงทอง อ.เมือง จ.ตาก ด้านความสม่ำเสมอใน การใช้ยา การปฏิบัติเมื่อเกิดอาการไม่พึงประสงค์จากยา การปฏิบัติเมื่อพบยาเสื่อมสภาพ การปฏิบัติเมื่อพบยาหมดอายุ การเก็บรักษายา การบริหารยา การปฏิบัติเมื่อไม่ทราบวิธีใช้ ยา และการตรวจสอบวิธีใช้ยาก่อนใช้ มีระดับพฤติกรรมเหมาะสมร้อยละ 100, 90.5, 80.5, 77.0, 70.1, 64.4, 59.6 และร้อยละ 52.9 ตามลำดับ ส่วนการตรวจสอบวันหมดอายุมีระดับ พฤติกรรมไม่เหมาะสมร้อยละ 69.0
      การให้บริการผู้ป่วยโรคเรื้อรังใน รพ.เขาชัยสน มักพบปัญหาในการใช้ยาในกลุ่มผู้สูงอายุ ร้อยละ 21.2 ด้วยปัจจัยและสาเหตุหลายอย่าง เช่น การบริหารยาที่ไม่ถูกต้องด้วยสาเหตุอ่านหนังสือไม่ออก มองไม่เห็น ไม่มีผู้ดูแล การกินยาไม่สัมพันธ์กับมื้ออาหาร การจัดเก็บยาไม่เหมาะสม ไม่มีความรู้เรื่องยาเสื่อมสภาพ ยาหมดอายุ ดังนั้นการใช้ยาอย่างปลอดภัย ในเขต อบต.เขาชัยสนเป็นรูปแบบหนึ่งของความร่วมมือระหว่าง รพ.เขาชัยสน รพสต.ในพื้นที่ อสม.และชุมชน เพื่อค้นหาและแก้ปัญหาการใช้ยาในผู้สูงอายุเป็นรายบุคคล เป็นกลวิธีที่ส่งเสริมให้เกิดการใช้ยาอย่างปลอดภัยในชุมชน และส่งผลให้ลดปัญหาทั้งในส่วนของสังคมและเศรษฐกิจด้านสุขภาพในพื้นที่ได้ต่อไป

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อให้ผู้ป่วยโรคเรื้อรังที่เป็นผู้สูงอายุ ใช้ยาได้ถูกต้องปลอดภัยเพิ่มขึ้น (2) เพื่อให้ อสม.มีความรู้ในการใช้ยาได้ถูกต้องเพิ่มขึ้น

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) 1 อบรม อสม 60 คน เจ้าหน้าที่ รพสต.และ รพ.รวม 70 คน ประเมินความรู้ก่อนหลัง การอบรม 2 เก็บข้อมูลการใช้ยาในครัวเรือนของผู้ป่วยกลุ่มเป้าหมาย จำนวน 150 คน โดย จนท รพสต. จำนวน 2 ครั้งก่อนและหลังการลงเยี่ยมของ อสม. 3. อสม.ลงติดตามการใช้ยาหลังได้รับความรู้จำนวน

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

สภาพปัจจุบันพบว่าผู้สูงอายุ ส่วนใหญ่มีปัญหาสุขภาพจากการเจ็บป่วยด้วยโรคเรื้อรังและมีความรุนแรงของโรคมากกว่ากลุ่มวัยอื่น อันเป็นผลสืบเนื่องมาจากความเสื่อมสภาพด้านร่างกายของผู้สูงอายุ พฤติกรรมสุขภาพและการดูแลควบคุม โรคเรื้อรังที่ไม่เหมาะสมในอดีต โดยพบว่าปัญหาสุขภาพที่เกิดจากการเจ็บป่วยด้วยโรคเรื้อรังที่มักพบใน ผู้สูงอายุ ได้แก่ โรคความดันโลหิตสูง โรคเบาหวาน โรคหัวใจ โรคหลอดเลือดในสมองตีบ ตามลำดับ มักจะพบปัญหาจากการใช้ยา ไม่เหมาะสมในผู้ป่วยสูงอายุ เนื่องจากผู้ป่วยกลุ่มนี้มักเป็นโรคเรื้อรัง ส่วนใหญ่จึงมีการใช้ยาหลายชนิด พร้อมๆกัน และเป็นการใช้อย่างต่อเนื่อง การใช้ยาพร้อมๆ กันหลายชนิด ยังอาจเพิ่มความเสี่ยงต่อการเกิดผลไม่พึงประสงค์จากยา อันตรกิริยาระหว่างยา จากสถานการณ์ดังกล่าวย่อม ส่งผลให้อัตราการรับบริการผู้ป่วยสูงอายุจากปัญหาการใช้ยาไม่เหมาะสมมีแนวโน้มเพิ่มขึ้น พฤติกรรมการใช้ยาของผู้ป่วยสูงอายุโรคเรื้อรังในชุมชนเชียงทอง อ.เมือง จ.ตาก ด้านความสม่ำเสมอใน การใช้ยา การปฏิบัติเมื่อเกิดอาการไม่พึงประสงค์จากยา การปฏิบัติเมื่อพบยาเสื่อมสภาพ การปฏิบัติเมื่อพบยาหมดอายุ การเก็บรักษายา การบริหารยา การปฏิบัติเมื่อไม่ทราบวิธีใช้ ยา และการตรวจสอบวิธีใช้ยาก่อนใช้ มีระดับพฤติกรรมเหมาะสมร้อยละ 100, 90.5, 80.5, 77.0, 70.1, 64.4, 59.6 และร้อยละ 52.9 ตามลำดับ ส่วนการตรวจสอบวันหมดอายุมีระดับ พฤติกรรมไม่เหมาะสมร้อยละ 69.0
การให้บริการผู้ป่วยโรคเรื้อรังใน รพ.เขาชัยสน มักพบปัญหาในการใช้ยาในกลุ่มผู้สูงอายุ ร้อยละ 21.2 ด้วยปัจจัยและสาเหตุหลายอย่าง เช่น การบริหารยาที่ไม่ถูกต้องด้วยสาเหตุอ่านหนังสือไม่ออก มองไม่เห็น ไม่มีผู้ดูแล การกินยาไม่สัมพันธ์กับมื้ออาหาร การจัดเก็บยาไม่เหมาะสม ไม่มีความรู้เรื่องยาเสื่อมสภาพ ยาหมดอายุ ดังนั้นการใช้ยาอย่างปลอดภัย ในเขต อบต.เขาชัยสนเป็นรูปแบบหนึ่งของความร่วมมือระหว่าง รพ.เขาชัยสน รพสต.ในพื้นที่ อสม.และชุมชน เพื่อค้นหาและแก้ปัญหาการใช้ยาในผู้สูงอายุเป็นรายบุคคล เป็นกลวิธีที่ส่งเสริมให้เกิดการใช้ยาอย่างปลอดภัยในชุมชน และส่งผลให้ลดปัญหาทั้งในส่วนของสังคมและเศรษฐกิจด้านสุขภาพในพื้นที่ได้ต่อไป

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อให้ผู้ป่วยโรคเรื้อรังที่เป็นผู้สูงอายุ ใช้ยาได้ถูกต้องปลอดภัยเพิ่มขึ้น
  2. เพื่อให้ อสม.มีความรู้ในการใช้ยาได้ถูกต้องเพิ่มขึ้น

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. 1 อบรม อสม 60 คน เจ้าหน้าที่ รพสต.และ รพ.รวม 70 คน ประเมินความรู้ก่อนหลัง การอบรม 2 เก็บข้อมูลการใช้ยาในครัวเรือนของผู้ป่วยกลุ่มเป้าหมาย จำนวน 150 คน โดย จนท รพสต. จำนวน 2 ครั้งก่อนและหลังการลงเยี่ยมของ อสม. 3. อสม.ลงติดตามการใช้ยาหลังได้รับความรู้จำนวน

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ 70
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

ผู้ป่วยโรคเรื้อรังที่เป็นผู้สูงสูงอายุใช้ยาได้ถูกต้อง ปลอดภัยเพิ่มขึ้นและส่งผลให้ควบคุมความรุนแรงและลดภาวะแทรกซ้อนที่เกิดจกการใช้ยาได้


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

ตัวชี้วัดความสำเร็จ 1.กลุ่มเป้าหมายใช้ยาได้ถูกต้องเพิ่มขึ้นร้อยละ 80 1.อสม.มีความรู้ในการใช้ยาได้ถูกต้องร้อยละ 80

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อให้ผู้ป่วยโรคเรื้อรังที่เป็นผู้สูงอายุ ใช้ยาได้ถูกต้องปลอดภัยเพิ่มขึ้น
ตัวชี้วัด : กลุ่มเป้าหมายใช้ยาได้ถูกต้องเพิ่มขึ้นร้อยละ 80
0.00 90.00

 

2 เพื่อให้ อสม.มีความรู้ในการใช้ยาได้ถูกต้องเพิ่มขึ้น
ตัวชี้วัด : อสม.มีความรู้ในการใช้ยาได้ถูกต้องร้อยละ 80
0.00 90.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 70 70
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ 70 70
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด 0
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง 0
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

สภาพปัจจุบันพบว่าผู้สูงอายุ ส่วนใหญ่มีปัญหาสุขภาพจากการเจ็บป่วยด้วยโรคเรื้อรังและมีความรุนแรงของโรคมากกว่ากลุ่มวัยอื่น อันเป็นผลสืบเนื่องมาจากความเสื่อมสภาพด้านร่างกายของผู้สูงอายุ พฤติกรรมสุขภาพและการดูแลควบคุม โรคเรื้อรังที่ไม่เหมาะสมในอดีต โดยพบว่าปัญหาสุขภาพที่เกิดจากการเจ็บป่วยด้วยโรคเรื้อรังที่มักพบใน ผู้สูงอายุ ได้แก่ โรคความดันโลหิตสูง โรคเบาหวาน โรคหัวใจ โรคหลอดเลือดในสมองตีบ ตามลำดับ มักจะพบปัญหาจากการใช้ยา ไม่เหมาะสมในผู้ป่วยสูงอายุ เนื่องจากผู้ป่วยกลุ่มนี้มักเป็นโรคเรื้อรัง ส่วนใหญ่จึงมีการใช้ยาหลายชนิด พร้อมๆกัน และเป็นการใช้อย่างต่อเนื่อง การใช้ยาพร้อมๆ กันหลายชนิด ยังอาจเพิ่มความเสี่ยงต่อการเกิดผลไม่พึงประสงค์จากยา อันตรกิริยาระหว่างยา จากสถานการณ์ดังกล่าวย่อม ส่งผลให้อัตราการรับบริการผู้ป่วยสูงอายุจากปัญหาการใช้ยาไม่เหมาะสมมีแนวโน้มเพิ่มขึ้น       พฤติกรรมการใช้ยาของผู้ป่วยสูงอายุโรคเรื้อรังในชุมชนเชียงทอง อ.เมือง จ.ตาก ด้านความสม่ำเสมอใน การใช้ยา การปฏิบัติเมื่อเกิดอาการไม่พึงประสงค์จากยา การปฏิบัติเมื่อพบยาเสื่อมสภาพ การปฏิบัติเมื่อพบยาหมดอายุ การเก็บรักษายา การบริหารยา การปฏิบัติเมื่อไม่ทราบวิธีใช้ ยา และการตรวจสอบวิธีใช้ยาก่อนใช้ มีระดับพฤติกรรมเหมาะสมร้อยละ 100, 90.5, 80.5, 77.0, 70.1, 64.4, 59.6 และร้อยละ 52.9 ตามลำดับ ส่วนการตรวจสอบวันหมดอายุมีระดับ พฤติกรรมไม่เหมาะสมร้อยละ 69.0
      การให้บริการผู้ป่วยโรคเรื้อรังใน รพ.เขาชัยสน มักพบปัญหาในการใช้ยาในกลุ่มผู้สูงอายุ ร้อยละ 21.2 ด้วยปัจจัยและสาเหตุหลายอย่าง เช่น การบริหารยาที่ไม่ถูกต้องด้วยสาเหตุอ่านหนังสือไม่ออก มองไม่เห็น ไม่มีผู้ดูแล การกินยาไม่สัมพันธ์กับมื้ออาหาร การจัดเก็บยาไม่เหมาะสม ไม่มีความรู้เรื่องยาเสื่อมสภาพ ยาหมดอายุ ดังนั้นการใช้ยาอย่างปลอดภัย ในเขต อบต.เขาชัยสนเป็นรูปแบบหนึ่งของความร่วมมือระหว่าง รพ.เขาชัยสน รพสต.ในพื้นที่ อสม.และชุมชน เพื่อค้นหาและแก้ปัญหาการใช้ยาในผู้สูงอายุเป็นรายบุคคล เป็นกลวิธีที่ส่งเสริมให้เกิดการใช้ยาอย่างปลอดภัยในชุมชน และส่งผลให้ลดปัญหาทั้งในส่วนของสังคมและเศรษฐกิจด้านสุขภาพในพื้นที่ได้ต่อไป

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อให้ผู้ป่วยโรคเรื้อรังที่เป็นผู้สูงอายุ ใช้ยาได้ถูกต้องปลอดภัยเพิ่มขึ้น (2) เพื่อให้ อสม.มีความรู้ในการใช้ยาได้ถูกต้องเพิ่มขึ้น

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) 1 อบรม อสม 60 คน เจ้าหน้าที่ รพสต.และ รพ.รวม 70 คน ประเมินความรู้ก่อนหลัง การอบรม 2 เก็บข้อมูลการใช้ยาในครัวเรือนของผู้ป่วยกลุ่มเป้าหมาย จำนวน 150 คน โดย จนท รพสต. จำนวน 2 ครั้งก่อนและหลังการลงเยี่ยมของ อสม. 3. อสม.ลงติดตามการใช้ยาหลังได้รับความรู้จำนวน

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


ใช้ยาอย่างปลอดภัย จังหวัด พัทลุง

รหัสโครงการ 2562-L3310-1-09

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นางอภิญญา เพ็ชรศรี )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด