กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลทุ่งกระบือ


“ โครงการพ่อแม่ห่วงใย หนูน้อยยิ้มใส เด็กทุ่งกระบือฟันดี เด็ก 0-3 ปี ”

ตำบลทุ่งกระบือ อำเภอย่านตาขาว จังหวัดตรัง

หัวหน้าโครงการ
ชมรม อสม.หมู่ที่ 2

ชื่อโครงการ โครงการพ่อแม่ห่วงใย หนูน้อยยิ้มใส เด็กทุ่งกระบือฟันดี เด็ก 0-3 ปี

ที่อยู่ ตำบลทุ่งกระบือ อำเภอย่านตาขาว จังหวัดตรัง จังหวัด ตรัง

รหัสโครงการ 62-L1504-2-10 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 เมษายน 2562 ถึง 30 สิงหาคม 2562


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการพ่อแม่ห่วงใย หนูน้อยยิ้มใส เด็กทุ่งกระบือฟันดี เด็ก 0-3 ปี จังหวัดตรัง" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลทุ่งกระบือ อำเภอย่านตาขาว จังหวัดตรัง

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลทุ่งกระบือ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการพ่อแม่ห่วงใย หนูน้อยยิ้มใส เด็กทุ่งกระบือฟันดี เด็ก 0-3 ปี



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการพ่อแม่ห่วงใย หนูน้อยยิ้มใส เด็กทุ่งกระบือฟันดี เด็ก 0-3 ปี " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลทุ่งกระบือ อำเภอย่านตาขาว จังหวัดตรัง รหัสโครงการ 62-L1504-2-10 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 เมษายน 2562 - 30 สิงหาคม 2562 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 11,150.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลทุ่งกระบือ เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

สุขภาพช่องปากมีความสำคัญต่อสุขภาพของทุกคน โดยเฉพาะในกลุ่มเด็กปฐมวัย โรคฟันผุในเด็กสามารถ พบได้ตั้งแต่ฟันเริ่มขึ้นในช่วงขวบปีแรก สาเหตุหลักที่ทำให้เด็กมีฟันผุ มาจากพฤติกรรมของมารดาในการเลี้ยงดูบุตรที่ไม่ถูกต้อง รวมถึงการดูแลทำความสะอาด ช่องปากไม่ถูกวิธี และมีพฤติกรรมการบริโภคที่ไม่เหมาะสม ก่อให้เกิดโรคฟันผุในฟันน้ำนมอย่างรุนแรง ทำให้เด็กเกิดความเจ็บปวด เคี้ยวอาหารไม่ได้ตามปกติ ได้รับสารอาหารไม่เพียงพอ และส่งผลต่อพัฒนาการของเด็กได้ นอกจากนี้ยังมีผลเสียต่อฟันแท้ของเด็กในอนาคตด้วย กล่าวคือ ฟันน้ำนมที่ถูกถอนหรือหลุดไปก่อนที่ฟันแท้จะขึ้นแทนที่ จะทำให้ฟันที่อยู่ติดกันล้มเอียง เข้าหาช่องว่าง ทำให้ฟันแท้ไม่สามารถขึ้นได้อย่างปกติตามตำแหน่งนั้น อาจจะขึ้นมาในลักษณะบิด ซ้อนกันหรือมีขนาดใหญ่ ไม่เหมาะสมกับใบหน้าของเด็ก ซึ่งจะเป็นปมด้อยทำให้เด็กไม่มั่นใจ ไม่กล้าในการแสดงออก   จากรายงานผลการสำรวจสภาวะสุขภาพช่องปากแห่งชาติครั้งที่ 8 ประเทศไทย พ.ศ. 2560 พบว่าสถานการณ์ในเด็กอายุ 3 ปี ซึ่งเป็นขวบปีแรกที่มีฟันน้ำนมขึ้นครบ 20 ซี่ มีฟันผุระยะเริ่มต้นร้อยละ 31.1 มีความชุกในการเกิดโรคฟันผุร้อยละ 52.9 มีค่าเฉลี่ยฟันผุ ถอน อุด (dmft) 2.8 ซี่/คน ความชุกของการเกิดฟันผุในเด็กอายุ 3 ปี พบสูงสุดในภาคกลางและภาคใต้ ร้อยละ 57.9 และ 57.0 ค่าเฉลี่ย ฟันผุ ถอน อุด 3.5 ซี่/คน และ 3.1 ซี่/คน ตามลำดับ และยังพบว่าประมาณร้อยละ 40.0 มีคราบจุลินทรีย์อยู่ในระดับเสี่ยงต่อการเกิดโรคฟันผุ พบฟันผุระยะเริ่มต้นในเด็กอายุ 3 ปี ร้อยละ 31.1
  จากผลสรุปการสำรวจสภาวะช่องปากของเด็ก 0-3 ปี หมู่ 2 บ้านคลองปะเหลียน ตำบลทุ่งกระบือ อำเภอย่านตาขาว จังหวัดตรัง พบว่า เด็กก่อนวัยเรียนกลุ่มนี้มีสภาวะฟันผุ ร้อยละ 50.91 ค่าเฉลี่ย ผุ อุด ถอน (dmft) 8.43 ซี่/คน ซึ่งนับว่าสูงมากเมื่อเทียบกับระดับอำเภอ ซึ่งอำเภอย่านตาขาว มีสภาวะฟันผุสูงเป็น 5 อันดับแรกของระดับอำเภอ คิดเป็น ร้อยละ 47.7 ระดับจังหวัด ร้อยละ 28.36 และระดับประเทศ ร้อยละ 31.1 ซึ่งการผุในระยะนี้มักเกี่ยวข้องกับการรับประทานอาหารว่างที่มีแป้งและน้ำตาล ร่วมกับการไม่ได้ทำความสะอาดฟัน และลักษณะการสัมผัสด้านประชิดที่กว้างและแน่นร่วมกับการไม่ได้ทำความสะอาดซอกฟัน ทำให้มีโอกาสผุมากขึ้น การลุกลามของโรคฟันผุในวัยนี้จะเป็นไปอย่างรวดเร็ว นอกจากนี้จากการสังเกตพฤติกรรมเสี่ยงของเด็ก พบปัญหาเด็กติดขวดนม การแปรงฟันที่ไม่สะอาด และไม่ถูกวิธี การทานขนมที่มีรสชาติหวานหลังการแปรงฟัน ประกอบกับปัจจัยเสี่ยงด้านการดูแลเด็ก 0-3 ปี ทั้งในเรื่องของอาหารระหว่างมื้อจะเน้นไปที่ขนมหวาน ปัจจัยต่างๆเหล่านี้ส่งผลให้เด็ก 0-3 ปี หมู่ 2 บ้านคลองปะเหลียน ตำบลทุ่งกระบือ อำเภอย่านตาขาว จังหวัดตรัง มีสภาวะฟันผุที่สูง   จากที่กล่าวมาเบื้องต้น จะเห็นว่าปัญหาของฟันน้ำนมผุในเด็กมีความเกี่ยวข้องกับพฤติกรรมการดูแลสุขภาพช่องปากเด็กของผู้ปกครองโดยตรง ในเรื่องของการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรม จะต้องดำเนินการหลายด้านประกอบกัน และเพื่อแก้ไขปัญหาฟันน้ำนมผุในเด็กได้อย่างมีประสิทธิภาพ ผู้จัดทำโครงการจึงได้เห็นถึงความสำคัญในการดูแลสุขภาพช่องปากของเด็ก เนื่องจากเด็กวัยนี้มีพัฒนาการการขึ้นของฟันเพิ่งขึ้นครบ 20 ซี่ พฤติกรรมการรับประทานอาหารจะเริ่มเปลี่ยนแปลง และเด็กเริ่มมีพฤติกรรมทางสังคมระยะเริ่มแรก จึงมีแนวโน้มที่จะเกิดพฤติกรรมสุขภาพช่องปากที่เหมาะสมถ้าได้รับการดูแลเอาใจใส่จากผู้ปกครองเป็นอย่างดี ดังนั้น ผู้ปกครองจึงมีบทบาทอย่างมากต่อการสร้างพฤติกรรมของเด็ก จึงได้จัดโครงการพ่อแม่ห่วงใย หนูน้อยยิ้มใส เด็กทุ่งกระบือฟันดี เด็ก 0-3 ปี บ้านคลองปะเหลียน ตำบลทุ่งกระบือ อำเภอย่านตาขาว จังหวัดตรัง เพื่อเป็นประโยชน์ในการนำผลการศึกษาที่ได้ไปใช้เป็นแนวทางการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมของผู้ปกครองในการดูแลสุขภาพช่องปากเด็กในรูปแบบที่เหมาะสมกับบริบทและมีประสิทธิภาพ แก้ปัญหาโรคฟันผุในเด็ก 0-3 ปี หมู่ 2 บ้านคลองปะเหลียน ตำบลทุ่งกระบือ อำเภอย่านตาขาว จังหวัดตรัง ในอนาคตต่อไปได้

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อให้ผู้ปกครองมีความรู้และทักษะในการดูแลสุขภาพช่องปากเด็กอย่างถูกต้อง
  2. เพื่อเกิดเครือข่ายการดูแลสุขภาพช่องปากให้แก่เด็กอย่างต่อเนื่อง โดย อสม. ครู ทันตบุคลากร และผู้ปกครอง
  3. เพื่อลดการเกิดโรคฟันผุในเด็ก 0-3 ปี

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. อบรมให้ความรู้การดูแลสุขภาพช่องปาก

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน 55
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน 55
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

  1. สร้างการมีส่วนร่วมของคนในชุมชนต่อการดูแลสุขภาพช่องปากเด็ก   2. ชุมชนตระหนักถึงความสำคัญของการดูแลสุขภาพช่องปากและฟัน   3. เด็กมีอนามัยช่องปากดี ส่งผลให้เด็กมีพัฒนาการ การเจริญเติบโตที่สมวัย   4. ผู้ปกครองมีทัศนคติที่ดีในการดูแลความสะอาดของช่องปากและฟันของเด็ก   5. อสม ร่วมแนะนำสื่อทางด้านทันตสุขภาพในห้องเรียน ให้มีอุปกรณ์ทำความสะอาดช่องปากรวมถึงมีความรู้ในการทำความสะอาดช่องปากที่ถูกวิธีศูนย์พัฒนาเด็กเล็กมี   6. มีการเฝ้าระวังปัญหาฟันผุ ทำให้ลดความเสี่ยงในการเกิดโรคและค่าใช้จ่ายในการรักษาทางทันตกรรมได้

ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อให้ผู้ปกครองมีความรู้และทักษะในการดูแลสุขภาพช่องปากเด็กอย่างถูกต้อง
ตัวชี้วัด :
0.00

 

2 เพื่อเกิดเครือข่ายการดูแลสุขภาพช่องปากให้แก่เด็กอย่างต่อเนื่อง โดย อสม. ครู ทันตบุคลากร และผู้ปกครอง
ตัวชี้วัด :
0.00

 

3 เพื่อลดการเกิดโรคฟันผุในเด็ก 0-3 ปี
ตัวชี้วัด :
0.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 110
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน 55
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน 55
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อให้ผู้ปกครองมีความรู้และทักษะในการดูแลสุขภาพช่องปากเด็กอย่างถูกต้อง (2) เพื่อเกิดเครือข่ายการดูแลสุขภาพช่องปากให้แก่เด็กอย่างต่อเนื่อง โดย อสม. ครู ทันตบุคลากร และผู้ปกครอง (3) เพื่อลดการเกิดโรคฟันผุในเด็ก 0-3 ปี

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) อบรมให้ความรู้การดูแลสุขภาพช่องปาก

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการพ่อแม่ห่วงใย หนูน้อยยิ้มใส เด็กทุ่งกระบือฟันดี เด็ก 0-3 ปี จังหวัด ตรัง

รหัสโครงการ 62-L1504-2-10

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( ชมรม อสม.หมู่ที่ 2 )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด