กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ละงู


“ โครงการหนูมะพร้าววัยใสใส่ใจสุขภาพ ”

ตำบลละงู อำเภอละงู จังหวัดสตูล

หัวหน้าโครงการ
นายปรีชา หมีนคลาน

ชื่อโครงการ โครงการหนูมะพร้าววัยใสใส่ใจสุขภาพ

ที่อยู่ ตำบลละงู อำเภอละงู จังหวัดสตูล จังหวัด สตูล

รหัสโครงการ 62-L5313-2-05 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 เมษายน 2562 ถึง 30 กันยายน 2562


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการหนูมะพร้าววัยใสใส่ใจสุขภาพ จังหวัดสตูล" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลละงู อำเภอละงู จังหวัดสตูล

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ละงู ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการหนูมะพร้าววัยใสใส่ใจสุขภาพ



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการหนูมะพร้าววัยใสใส่ใจสุขภาพ " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลละงู อำเภอละงู จังหวัดสตูล รหัสโครงการ 62-L5313-2-05 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 เมษายน 2562 - 30 กันยายน 2562 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 39,900.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ละงู เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

ประเทศไทยมีการเปลี่ยนแปลงไปอย่างรวดเร็วโดยได้รับผลกระทบจากกระแสการเปลี่ยนแปลงของโลกรวมทั้งการเปลี่ยนแปลงทางด้าานการเมือง เศรษฐกิจ สังคม การแข่งขันทางการตลาด การสือ่สารและการคมนาคมตลอดจนการใช้เทคโนโลยีในการพัฒนา ซึ่งทำให้วิถีการดำเนินชีวิตของเราเปลี่ยนแปลงไปเนื่องจากสภาพแวดล้อมที่ไม่สมดุลเกิดปัญหาความเสื่อมโทรมของสิ่งแวดลอ้มทั้งทางด้าน อากาศ น้ำ
อาหาร ประชาชนมีชีวิตความเป็นอยู่ที่แออัดและมีพฤติกรรมที่เอื้อต่อการเกิดโรค จากการดำเนินชีวิตและการมีพฤติกรรมสุขภาพไม่เหมาะสมขาดความสนใจและละเลยต่อการดูแลสุขภาพโดยเฉพาะสุขภาพของเด็กและเยาวชน เช่น การดูแลสุขภาพช่องปากและฟัน บริโภคอาหารที่ไม่เหมาะสม ่ขาดการออกกำลังกาย ขาดความเอาใจใส่ในเรืองสุขบัญญัติ และสุขภาพองค์รวม(Holistic Health System) หรืออีกนัยหนึ่งคือการที่จะมีสุขภาพดีอย่างยั่งยื่นและสุขภาพดีถ้วนหน้านั้นต้องนำเอาหลักการสุขภาพองค์รวมมาแก้ปัญหาโดยมองว่าสุขภาพมิใช่เป็นเพื่ยงการต้้งรับเพื่อซ่อมสุขภาพเท่านั้นแต่ควรส่งเสริมสนับสนุนให้เกิดการดูแลสุขภาพโดยให้ประชาชนสามารถสร้างเสริมสุขภาพที่ดีด้วยตนเอง สุขภาพเป็นสิ่งสำคัญสำหรับมนุษย์ทุกคนเริ่มตั้งแต่เกิดจนตาย การมีสุขภาพที่ดีย่อมก่อให้เกิดความพร้อมในการปฏิบัติงานอย่างเต็มความสามารถมีประสิทธิภาพงานเต็มที่ และการมีสุขภาพดีเป็นเครื่องบ่งชี้ถึงการมีคุณภาพชีวิตที่ดีด้วย เด็กเล็ก เด้กก่อนวัยเรียน เป็นกลุ่มเป้าหมายที่สำคัญอย่างยิ่งของการพัฒนา   พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวภูมิพลอดุลยเดช รัชกาลที่ ๙ ในปีเด็กสากล พุทธศักราช ๒๕๒๒ พระราชดำรัสว่า เด็กเป็นผู้ที่รับช่วงทุกสิ่งทุกอย่างจากผู้ใหญ่รวมทั้งภาระความรับผิดชอบในการธำรงรักษา ความสุขสงบของประชากรโลก จากพระราชดำรัสจะเห็นได้ว่า เด็กและเยาวชนเป็นบุคคลสำคัญในการพัฒนาประเทศต่อจากผู้ใหญ่ ในฐานะครู ผู้ปกครองเด็กเป็นบุคคลทีมีความสำคัญในการปลูกฝังและเตรียมความพร้อมให้เด็กทั้งด้านร่างกาย สังคม อารมณ์ และสติปัญญา ดังนั้นเด็กและเยาวชนควรได้รับการส่งเสริมการดูแล เรื่องสุขบัญญัติการดูแลสุขภาพช่องปากและฟัน การบริโภคอาหารที่ถูกโภชนาการ การออกกำลังกาย การเสริมสร้างสุขภาพและสุขภาพองค์รวม(Holistic Health System)การที่ส่งเสริมให้ผู้ปกครองมีความรู้และได้ตระหนักถึงความสำคัญของการดูแลสุขภาพช่องปากในเด็ก และรณรงค์ให้เห็นความสำคัญของเด็กเล็กฟันดี และควรให้เด็กและเยาวชนรู้จักใช้ชีวิตประจำวันโดยนำสุขบัญญัติที่ดี การดูแลสุขภาพโดยการออกกำลังกายการส่งเสริมสุขภาพผ่านกิจกรรมด้านกีฬา นันทนาการในวัยเด็กถือว่าการออกกำลังกายยังช่วยให้เด็กเล็กมีการตัดสินใจดีขึ้น ประสาทและกล้ามเนื้อมีความสัมพันธ์กันและเป็นการปูพื้นฐานทักษะ ทำให้เด็กรู้จัดควบคุมกล้ามเนื้อในการเคลื่อนไหวไดดี การเคลื่อนไหวในขั้นยากๆเมือเติบโตขึ้นและการออกกำลังกายนั้นสามรถช่วยลดอัตราความเครียดเสริมสร้างสมาธิของเด็กซึ่งช่วยในการพัฒนาการของเด็กและเยาวชนได้เป็นอยย่างดีในด้านร่างกาย อารมณ์ สังคมและสติปัญญา สำนักส่งเสริมสุขภาพกรมอนามัยกระทรวงสาธารณสุข(๒๕๔๕)กล่าวถึงแนวคิดโรงเรียนส่งเสริมสุขภาพการดำเนินงานการพัฒนาที่มีความครอบคลุมทุกมิติด้านสุขภาพและสิ่งแวดล้อมโดยสร้างกระบวนการเรียนรู้ร่วมกันของทุกคนท้ังในโรงเรียนและชุมชนให้สามารถนำความรู้และทักษะด้านสุขภาพมาประยุกต์ใข้ในชีวิตประจำวันด้วยการดูแลใส่ใจสุขภาพของตนเองและผู้อื่นรวมทั้งสามารถตัดสินใจในการควบคุมสภาวการณ์ที่มีผลกระทบต่อสุขภาพโดยเฉพาะนักเรียนจะได้รับการปลูกฝังทัศนคติฝึกทักษะและพฤติกรรมมสุขภาพที่เหมาะสมสมาชิกในชุมชนมีสุขภาพกายและสุขภาพจิตที่ดีอยู่ในสิ่งแวดล้อมที่สะอาดและปลอดภัยทำให้บรรลุเป้าหมายของการพัฒนนาคนให้มีคุณภาพชีวิตที่ดีและอยู่ในสังคมอย่างมีความสุข ประกอบกับกองทุนหลักประกันสุขภาพในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่มีเจตนารมณ์ในการสร้างการมีส่วนร่วมขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นให้เขามามีบทบาทในการดูแลสุขภาพของประชาชนในพื้นที่่สนับสนุนให้ประชาชนได้แสดงบทบาทในการพึ่งตนเองด้านสุขภาพ การดูแลสุขภาพตนเอง การสร้างเสริมสุขภาพ การป้องกันโรค การฟื้นฟูสมรรถภาพที่จำเป็นต่อสุขภาพ ตระหนักต่อการปรับเปลีียนพฤติกรรมสุขภาพและการดำรงชีวิต สมารถดูแลสุขภาพได้ด้วยตนเองและการสร้างกลไกในสังคมที่จะต้องเข้ามาร่วมกันแก้ปัญหาต่างๆที่มีผลต่อสุขภาพให้ลุล่วง(สำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ(สปสช) ๒๕๕๗)กำหนดวัตถุประสงค์ของกองทุนหลักประกันสุขภาพในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่ เพื่อสนับสนุนและส่งเสิรมการจัดบริการหรือสถานบริการหรือหน่วยงานสาธารณสุขหรือหน่วยงานอื่นหรือสนับสนุนและส่งเสริมให้กลุ่มหรือองค์กรประชาชนดำเนินกิจกรรมด้านสาธารณสุขในพื้นที่เพื่อให้กลุ่มแม่และเด็ก กลุ่มผู้สูงอายุ กลุ่มคนพิการกลุ่มผุ้ประกอบอาชีพที่มีความเสรียงและกลุ่มผู้ป่วยโรคเรื่้อรังที่อยู่ในพื้นที่สามารถเข้าถึงบริการสาธารณสุขได้อย่างทั่วถึงและมีประสิทธิภาพมากขึ้น โดยส่งเสริมกระบวนการมีส่วนร่วมตามความพร้อมความเหมาะสมและความต้องการของประชาชนในพื้นที่           โรงเรียนบ้านห้วยมะพร้าวสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาสตูล และกองทุนหลักประกันสุขภาพองค์การบริหารส่วนตำบลละงู ในฐานะสถาบันที่พัฒนาเด็กเล็ก เด็กก่อนวัยเรียน ได้เล่งเห็นความสำคัญในการยกระดับคุณภาพชีวิตเด็กและเยาวชน เนื่องจากเป็นกลุ่มเป้าหมายหลักตามประกาศคณะอนุกรรมการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคฯ พ.ศ.๒๕๕๗ ที่ต้องส่งเสริมพัฒนาการ กระบวนการเรียนรู้และประสบการณ์ความฉลาดทางผัญญาและอารมณ์ในกลุ่มเด็กเล็ก เด็กก่อนวับเรยน เด็กวับเรียนและเยาวชน สถานศึกษา ชุม่ชน และครู บุคลากร ผู้ปกครองมีบมบาทสำคัญยิ่งในการสรางเสริมสุขภาพการป้องกันโรค การปลูกฝังพฤติกรรมสถขำาพ ท้้งด้านการดูแลสุขภาพตนเองและดูแลความสะอาดของสิ่งแวดล้อม อันจะะส่งผลให้มีพฤติรรมสุขภาพที่ดีเมือเติบโตเป็นผู้ใหญ่การเพิ่มพูนความรู้และทักษะด้านต่างๆเพื่อให้สามารถดูแลเด็กได้ดียิ่งขึ้น จึงได้การดำเนินโครงการหนูมะพร้าววัยใสใส่ใจสุขภาพ จากกองทนุหลักประกันสุขภาพองค์การบริหารส่วนตำบลละงูเพื่อดำเนินกิจกรรมการส่งเสริมสุขภาพของนักเรียนอย่างต่อเนื่องสามารถพัฒนาและยกระดับคุณภาพของโรงเรียนด้านการจัดการสุขภาพนำมาซึ่งการผ่านการประเมินและรับรองการเป็นโรงเรียนส่งเสริมสุขภาพในโอกาสต่อไป

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อส่งเสริมและพัฒนาให้เด็กระดับปฐมวัยมีสุขภาพช่องปากที่ดีและฟันที่แข็งแรง
  2. เพื่อเฝ้าระวังและติดตามภาวะโภชนาการของนักเรียนระดับปฐมวัยที่มีความเสี่ยงต่อภาวะทุพโภชนาการ
  3. เพื่อส่งเสริมและพัฒนาให้เด็กระดับปฐมวัยมีสุขภาพที่แข็งแรง
  4. เพื่อให้ผู้ปกครองนักเรียนมีความรู้ความเข้าใจการส่งเสริมพัฒนาการที่เหมาะสมตามช่วงวัยเด็กก่อนวัยเรียน

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. กิจกรรมหนูมะพร้าวฟันดียิ้มสวย
  2. กิจกรรมโภชนาการดีที่ห้วยมะพร้าว
  3. กิจกรรมมหัศจรรย์สื่อสร้างสรรค์พัฒนาการเด็กปฐมวัย
  4. กิจกรรมรายงานผลการประเมินโครงการ

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน 45
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน 40
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

-เด็กระดับปฐมวัยมีสุขภาพช่องปากที่ดีและฟันที่แข็งแรง -มีการเฝ้าระวังและติดตามภาวะโภชนาการของนักเรียนระดับปฐมวัยที่มีความเสี่ยงต่อภาวะทุพโภชนาการ -เด็กระดับปฐมวัยมีสุขภาพแข็งแรง -นักเรียนพัฒนาการที่เหมาะสมตามช่วงวัยเด็กก่อนวัยเรียน


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. กิจกรรมหนูมะพร้าวฟันดียิ้มสวย

วันที่ 14 พฤษภาคม 2563

กิจกรรมที่ทำ

ให้ความรู้การส่งเสริมสุขภาพ การป้องกันฟันผุ ในเด็กก่อนวัยเรียน

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

สามารถนำความรู้ที่ได้รับไปปรับใช้ทันตสุขภาพที่ดีอย่างถูกวิธี

 

0 0

2. กิจกรรมโภชนาการดีที่ห้วยมะพร้าว

วันที่ 14 พฤษภาคม 2563

กิจกรรมที่ทำ

ให้ความรู้และสร้างความตระหนักถึงการดูแลสุขภาพการเลือกรับประมานอาหารที่มีประโยชน์
บริโภคอาหารที่สุก สะอาดและปลอดภัย

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ผุู้เข้าร่วมมีความรู้และสามารถนำไปใช้ในชีวิตประจำวันได้

 

0 0

3. กิจกรรมมหัศจรรย์สื่อสร้างสรรค์พัฒนาการเด็กปฐมวัย

วันที่ 14 พฤษภาคม 2563

กิจกรรมที่ทำ

จัดกิจกรรมการสร้างสรรค์สื่อเพื่อพัฒนาเด็กก่อนวัยเรียน ด้านอารมณ์จิตใจด้านทักษะชีวิต  ด้านการเรียนรู้ กิจกรรมฝึกทักษะสร้างสื่อเพื่อส่งเสริมพัฒนาการเด็กปฐมวัย

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ผู้เข้าร่วมโครงการมีความรู้และสามารถนำไปใช้ในชีวิตประจำวันได้

 

0 0

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

การดำเนินโครงการหนูมะพร้าววัยใสใส่ใจสุขภาพ พบว่าโดยรวมมีค่าเฉลี่ยอยู่ในระดับที่มากที่สุดทุกข้อ ผ่านเกณฑ์การประเมินที่กำหนดไว้ โดยผู้ปกครอง ครู สามารถนำความรู้ ความเข้าใจ ที่ได้รับเกี่ยวกับการจัดการโภชนาการที่ดี การดูสุขภาพปากและฟัน การส่งเสริมพัฒนาการที่เหมาะสมตามช่วงวัยของเด็ก สามารถนำไปปรับใช้กับนักเรียนระดับปฐมวัยในชีวิตประจำวันได้

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อส่งเสริมและพัฒนาให้เด็กระดับปฐมวัยมีสุขภาพช่องปากที่ดีและฟันที่แข็งแรง
ตัวชี้วัด : นักเรียนระดับปฐมวัยร้อยละ ๙๐ มีสุขภาพช่องปากที่ดีและฟันที่แข็งแรง
0.00 0.00

 

2 เพื่อเฝ้าระวังและติดตามภาวะโภชนาการของนักเรียนระดับปฐมวัยที่มีความเสี่ยงต่อภาวะทุพโภชนาการ
ตัวชี้วัด : นักเรียนกลุ่มเสี่ยงที่มีภาวะทุพโภชนาการร้อยละ ๘๐ มีภาวะโภชนาการสมส่วน
0.00

 

3 เพื่อส่งเสริมและพัฒนาให้เด็กระดับปฐมวัยมีสุขภาพที่แข็งแรง
ตัวชี้วัด : นักเรียนร้อยละ ๘๐ มีสุขภาพที่แข็งแรงและสมบุรณ์
0.00

 

4 เพื่อให้ผู้ปกครองนักเรียนมีความรู้ความเข้าใจการส่งเสริมพัฒนาการที่เหมาะสมตามช่วงวัยเด็กก่อนวัยเรียน
ตัวชี้วัด : ผู้ปกครองร้อยละ ๘๐ มีความรู้เกี่ยวกับการส่งเสริมัฒนาการที่เหมาะสมตามช่วงวัยเด็กก่อนวัยเรียน
0.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 85
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน 45
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน 40
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อส่งเสริมและพัฒนาให้เด็กระดับปฐมวัยมีสุขภาพช่องปากที่ดีและฟันที่แข็งแรง (2) เพื่อเฝ้าระวังและติดตามภาวะโภชนาการของนักเรียนระดับปฐมวัยที่มีความเสี่ยงต่อภาวะทุพโภชนาการ (3) เพื่อส่งเสริมและพัฒนาให้เด็กระดับปฐมวัยมีสุขภาพที่แข็งแรง (4) เพื่อให้ผู้ปกครองนักเรียนมีความรู้ความเข้าใจการส่งเสริมพัฒนาการที่เหมาะสมตามช่วงวัยเด็กก่อนวัยเรียน

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) กิจกรรมหนูมะพร้าวฟันดียิ้มสวย (2) กิจกรรมโภชนาการดีที่ห้วยมะพร้าว (3) กิจกรรมมหัศจรรย์สื่อสร้างสรรค์พัฒนาการเด็กปฐมวัย (4) กิจกรรมรายงานผลการประเมินโครงการ (5)  (6)

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการหนูมะพร้าววัยใสใส่ใจสุขภาพ จังหวัด สตูล

รหัสโครงการ 62-L5313-2-05

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นายปรีชา หมีนคลาน )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด