กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ควนกาหลง


“ โครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมกาหลง ลดเสี่ยง ลดภัย ลดโรค (ประเภทที่ 2) ”

ตำบลควนกาหลง อำเภอควนกาหลง จังหวัดสตูล

หัวหน้าโครงการ
นางสุดา ธรรมโชติ

ชื่อโครงการ โครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมกาหลง ลดเสี่ยง ลดภัย ลดโรค (ประเภทที่ 2)

ที่อยู่ ตำบลควนกาหลง อำเภอควนกาหลง จังหวัดสตูล จังหวัด สตูล

รหัสโครงการ เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 เมษายน 2562 ถึง 23 กันยายน 2562


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมกาหลง ลดเสี่ยง ลดภัย ลดโรค (ประเภทที่ 2) จังหวัดสตูล" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลควนกาหลง อำเภอควนกาหลง จังหวัดสตูล

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ควนกาหลง ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมกาหลง ลดเสี่ยง ลดภัย ลดโรค (ประเภทที่ 2)



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมกาหลง ลดเสี่ยง ลดภัย ลดโรค (ประเภทที่ 2) " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลควนกาหลง อำเภอควนกาหลง จังหวัดสตูล รหัสโครงการ ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 เมษายน 2562 - 23 กันยายน 2562 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 20,175.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ควนกาหลง เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

ปัจจุบันสังคมไทยมีการเปลี่ยนแปลง มีความเจริญก้าวหน้าทางด้านเทคโนโลยีสูงขึ้นทั้งทางด้านเศรษฐกิจ สังคม การคมนาคม อุตสาหกรรม รวมถึงการเปลี่ยนแปลงทางด้านศาสตร์การแพทย์และการสาธารณสุข จากการพัฒนาดังกล่าวส่งผลให้ชีวิตความเป็นอยู่ของมนุษย์มีการเปลี่ยนแปลงมาก ทำให้มนุษย์มีพฤติกรรมที่ไม่เหมาะสมในการดำเนินชีวิตในประจำวัน ขาดการดูแลสุขภาพในด้านปัจเจกบุคคลที่ส่งผลต่อปัญหาด้านสุขภาพสูงขึ้นโดยในปี พ.ศ.2550-2554 พบผู้ป่วยโรคเรื้อรัง 5 โรค (รายใหม่และรายเก่า) จำนวน 3,260,962 ราย แยกเป็นผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูง ซึ่งพบสูงสุด จำนวน 1,997,700 บาท รองลงมา คือ โรคเบาหวาน 1,025,337 ราย โรคเรื้อรัง ทางเดินหายใจส่วนล่าง 105,908 ราย โรคหัวใจขาดเลือด 72,527 ราย และโรคหลอดเลือดสมอง 59,490 ราย ซึ่งแนวโน้มระหว่างปี พ.ศ.2549-2554 พบว่า โรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูง มีอัตราผู้ป่วยสะสมเพิ่มขึ้น ส่วนโรคเรื้อรังทางเดินหายใจส่วนล่าง โรคหัวใจขาดเลือด และโรคหลอดเลือดสมอง มีแนวโน้มที่ลดลง (ที่มา : รายการการเฝ้าระวังโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง ปี พ.ศ.2554 สำนักระบาดวิทยา กรมควบคุมโรค กระทรวงสาธารณสุข) และจากการศึกษาข้อมูลเพิ่มเติม พบว่าจังหวัดสตูล ก็เป็นอีกจังหวัดหนึ่งที่มีผู้ป่วย โรคไม่ติดต่อเรื้อรังสูงติด 1 ใน 10 จังหวัด โดยปี พ.ศ.2544 โรคความดันโลหิตสูงมีอัตราป่วยสูงสุด จำนวน 3,978 ราย และโรคเบาหวานมีอัตราป่วย จำนวน 2,132 ราย (ที่มาสำนักนโยบายและยุทธศาสตร์ สำนักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข) ซึ่งโรคไม่ติดต่อเรื้อรังเหล่านี้ ไม่ได้เกิดจากการติดเชื้อโรค แต่เกิดจากการการมีวิถีชีวิตแบบสังคมเมืองสมัยใหม่ มีพฤติกรรมการรับประทานอาหารที่เปลี่ยนแปลงไป นิยมรับประทานอาหารจำพวกจานด่วนเพื่อความรวดเร็ว บริโภคอาหารรสชาติหวาน มัน เค็ม เพิ่มขึ้นรับประทานผักและผลไม้น้อยลง ขาดการออกกำลังกายอย่างสม่ำเสมอ และมีพฤติกรรมการสูบบุหรี่ การดื่มสุราเพิ่มขึ้นสุง ส่งผลให้มีการป่วยด้วยโรคไม่ติดต่อเรื้องรังเหล่านี้ จำเป็นต้องมีการส่งเสริมและให้ความรู้เพื่อลดความเสี่ยงในด้านต่างๆที่ก่อให้เกิดโรค เช่น การให้ความรู้เกี่ยวกับการออกกำลังกาย การรับประทานอาหาร การจัดการความเครียด เป็นต้น ดังนั้นกลุ่มแกนนำสุขภาพโรงพยาบาลควนกาหลง ได้ตระหนัก และเห็นถึงความสำคัญของการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม จึงได้จัดทำโครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมกาหลง ลดเสี่ยง ลดภัย ลดโรค ปีงบประมาณ 2562 เพื่อเป็นการส่งเสริมสุขภาพของคนในชุมชน และให้ความรู้การปรับเปลียนพฤติกรรมตามหลัก 3อ 2ส เพื่อให้ประชาชนกลุ่มเสี่ยงมีการดำเนินชีวิตที่เหมาะสม ปลอดภัย และห่างไกลโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. 1.เพื่อให้ประชากรกลุ่มเสี่ยงมีการปรับพฤติกรรมสุขภาพในการดำเนินชีวิตที่ถูกต้องเหมาะสม ตามหลัก 3อ 2ส 2.เพื่อให้ประชากรกลุ่มเสี่ยงมีความรู้เรื่องโรคไม่ติดต่อเรื้อรังได้ถูกต้อง

กิจกรรม/การดำเนินงาน

    กลุ่มเป้าหมาย

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
    กลุ่มวัยทำงาน
    กลุ่มผู้สูงอายุ
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

    ผลที่คาดว่าจะได้รับ

    1.ประชากรกลุ่มเสี่ยงมีความรู้ที่ถูกต้องเกี่ยวกับโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง 2.ประชากรกลุ่มเสี่ยงมีสุขภาพที่ดี มีการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพตามหลัก 3อ 2ส 3.ร้อยละ 80 ประชาชนกลุ่มเสี่ยงเข้าร่วมกิจกรรมปรับเปลี่ยนพฤติกรรมกาหลง ลดเสี่ยง ลดภัย ลดโรค


    ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

    วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
    ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
    กิจกรรมของโครงการ
    ผลผลิต*
    ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

    * ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
    ** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


    ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

    ผลการดำเนินโครงการ

    สรุปผลการดำเนินโครงการ

    ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
    บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
    บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
    ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

     

    ผลผลิตโครงการ

    วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
    1 1.เพื่อให้ประชากรกลุ่มเสี่ยงมีการปรับพฤติกรรมสุขภาพในการดำเนินชีวิตที่ถูกต้องเหมาะสม ตามหลัก 3อ 2ส 2.เพื่อให้ประชากรกลุ่มเสี่ยงมีความรู้เรื่องโรคไม่ติดต่อเรื้อรังได้ถูกต้อง
    ตัวชี้วัด : ร้อยละ 80 ของประชาชนกลุ่มเสี่ยงเข้าร่วมกิจกรรมปรับเปลี่ยนพฤติกรรมกาลง ลดเสี่ยง ลดภัย ลดโรค
    0.00

     

    ผู้เข้าร่วมโครงการ

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 0
    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
    กลุ่มวัยทำงาน -
    กลุ่มผู้สูงอายุ -
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

    บทคัดย่อ*

    โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1.เพื่อให้ประชากรกลุ่มเสี่ยงมีการปรับพฤติกรรมสุขภาพในการดำเนินชีวิตที่ถูกต้องเหมาะสม ตามหลัก 3อ 2ส  2.เพื่อให้ประชากรกลุ่มเสี่ยงมีความรู้เรื่องโรคไม่ติดต่อเรื้อรังได้ถูกต้อง

    ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่

    ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

    หมายเหตุ *

    • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
    • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

    ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

    ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

     

     

     


    โครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมกาหลง ลดเสี่ยง ลดภัย ลดโรค (ประเภทที่ 2) จังหวัด สตูล

    รหัสโครงการ

    ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

    ................................
    ( นางสุดา ธรรมโชติ )
    ผู้รับผิดชอบโครงการ
    ......./............/.......

    vertical_align_topไปบนสุด