กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.โคกเคียน


“ โครงการอาหารพื้นบ้านเพื่อสุขภาพกลุ่มเสี่ยง ”

ตำบลโคกเคียน อำเภอเมืองนราธิวาส จังหวัดนราธิวาส

หัวหน้าโครงการ
นายอภินันท์ เปาะอีแต

ชื่อโครงการ โครงการอาหารพื้นบ้านเพื่อสุขภาพกลุ่มเสี่ยง

ที่อยู่ ตำบลโคกเคียน อำเภอเมืองนราธิวาส จังหวัดนราธิวาส จังหวัด นราธิวาส

รหัสโครงการ 62 – L2492 -1-26 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 พฤษภาคม 2562 ถึง 2 พฤษภาคม 2562


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการอาหารพื้นบ้านเพื่อสุขภาพกลุ่มเสี่ยง จังหวัดนราธิวาส" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลโคกเคียน อำเภอเมืองนราธิวาส จังหวัดนราธิวาส

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.โคกเคียน ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการอาหารพื้นบ้านเพื่อสุขภาพกลุ่มเสี่ยง



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการอาหารพื้นบ้านเพื่อสุขภาพกลุ่มเสี่ยง " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลโคกเคียน อำเภอเมืองนราธิวาส จังหวัดนราธิวาส รหัสโครงการ 62 – L2492 -1-26 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 พฤษภาคม 2562 - 2 พฤษภาคม 2562 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 61,000.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.โคกเคียน เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

โรคเบาหวานและความดันโลหิตสูง นับเป็นปัญหาการเจ็บป่วยที่สำคัญและนำมาซึ่งความสูญเสียทรัพยากรในการดูแลรักษา มีผลกระทบต่อผู้ป่วยเองและผู้ดูแล ค่ารักษาพยาบาล ค่าใช้จ่ายในครอบครัว อาการป่วยเรื้อรังเป็นเวลานาน ไม่สามารถรักษาให้หายขาดได้ นอกจากจะเป็นโรคที่รักษาไม่หายแล้ว ยังเชื่อมโยงไปสู่ โรคแทรกซ้อนอื่นๆ อีกมากมาย เช่น โรคหัวใจและหลอดเลือด โรคไตเรื้อรัง สำหรับสาเหตุหลักที่ทำให้เกิดโรค คือ “กรรมพันธุ์” และ “สิ่งแวดล้อม” ในส่วนของกรรมพันธุ์นั้นเป็นปัจจัยเสี่ยงที่สำคัญขึ้นเรื่อยๆ เมื่อมีอายุมากขึ้น ขณะที่สิ่งแวดล้อมเป็นปัจจัยเสี่ยงที่เริ่มต้นตั้งแต่ในครรภ์แม่ แม้กรรมพันธุ์จะเป็นสิ่งที่แก้ไขไม่ได้ แต่ก็สามารถควบคุมปัจจัยเรื่องอาหารและสิ่งแวดล้อมเพื่อป้องกันโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูงได้ จากผลการวิจัยหลายชิ้นชี้ให้เห็นว่า การควบคุมอาหารอย่างดี รวมไปถึงการออกกำลังกายเป็นประจำนั้นส่งผลโดยตรงต่อการป้องกันโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูง โดยเฉพาะคนที่มีความเสี่ยงสูงทางกรรมพันธุ์ อีกทั้งยังเป็นการควบคุมโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูง รวมไปถึงป้องกันโรคแทรกซ้อนต่างๆ ได้ จากข้อมูลอัตราการป่วยด้วยโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูง โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลทั้ง 2 แห่ง พบว่า ประชาชนกลุ่มเสี่ยงนี้เพิ่มขึ้นเป็นลำดับ หากไม่ได้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรม มีแนวโน้มที่จะเกิดภาวะแทรกซ้อนต่างๆ ได้ในอนาคต       การรักษาโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูงโดยการให้ความสำคัญเฉพาะด้านการแพทย์อาจไม่เพียงพอ เพื่อการควบคุมโรคที่สมบูรณ์ ผู้ป่วยต้องได้รับความรู้เรื่องโรค รวมไปถึงความรู้เรื่องโภชนาการและการออกกำลังกายที่ถูกต้อง พร้อมทั้งได้รับการกระตุ้นการเปลี่ยนพฤติกรรมผ่านกิจกรรมต่างๆ เช่น ค่ายเบาหวานและความดันหรือผ่านทางกิจกรรมชมรมอย่างสม่ำเสมอ ซึ่งถ้าปฏิบัติตามอย่างเคร่งครัดตั้งแต่ระยะเริ่มต้น ก็จะสามารถใช้ชีวิตอย่างมีความสุขโดยปราศจากโรคแทรกซ้อนได้ ดังนั้น กองสาธารณสุขและสิ่งแวดล้อม องค์การบริหารส่วนตำบลโคกเคียน ได้ตระหนักถึงความสำคัญของการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมเกี่ยวกับการดูแลตนเองเพื่อลดภาวะแทรกซ้อนของโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูง จึงได้จัดโครงการ อาหารพื้นบ้านเพื่อสุขภาพกลุ่มเสี่ยงขึ้นโดยเน้นกิจกรรมการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการบริโภคอาหารที่เสี่ยงต่อการเกิดภาวะแทรกซ้อนของผู้ป่วยโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูงอย่างเข้มข้น

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อการพัฒนาทักษะการดูแลสุขภาพ การบริโภคอาหารที่ถูกต้อง
  2. เพื่อแก้ปัญหาประชาชนที่มีความเสี่ยงโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูง ลดลง

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. จัดอบรมผู้ประกอบอาหาร การปรุงอาหารเพื่อสุขภาพ
  2. จัดอบรมเชิงปฏิบัติการ การปรุงอาหารเพื่อสุขภาพจำนวน 10 ฐาน

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 220
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

  1. ประชาชนที่มีภาวะเสี่ยงเป็นโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูง มีความรู้ในการปรุงอาหารใน ชีวิตประจำวันได้อย่างเหมาะสม
  2. ประชาชนในกลุ่มเสี่ยงต่อการเกิดโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูง มีภาวะเสี่ยงลดลง

ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. จัดอบรมผู้ประกอบอาหาร การปรุงอาหารเพื่อสุขภาพ

วันที่ 1 พฤษภาคม 2562

กิจกรรมที่ทำ

  • ค่าป้ายไวนิลโครงการอาหารพื้นบ้านเพื่อสุขภาพกลุ่มเสี่ยง ขนาด 1.00 x 1.60 เมตร จำนวน 1 ป้าย เป็นเงิน 400 บาท
  • ค่าสมนาคุณวิทยากร จำนวน 6 ชั่วโมงๆละ 600 บาท เป็นเงิน 3,600 บาท
  • ค่าอาหารกลางวัน จำนวน 20 คน ๆ ละ 1 มื้อๆละ 50 บาท เป็นเงิน 1,000 บาท
  • ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม จำนวน 20 คน ๆ ละ 2 มื้อๆละ 25 บาท เป็นเงิน 1,000 บาท

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

  • ป้ายไวนิลโครงการอาหารพื้นบ้านเพื่อสุขภาพกลุ่มเสี่ยง ขนาด 1.00 x 1.60 เมตร จำนวน 1 ป้าย
  • วิทยากร จำนวน 6 ชั่วโมง
  • อาหารกลางวัน จำนวน 20 คน ๆ ละ 1 มื้อ
  • อาหารว่างและเครื่องดื่ม จำนวน 20 คน ๆ ละ 2 มื้อ

 

20 0

2. จัดอบรมเชิงปฏิบัติการ การปรุงอาหารเพื่อสุขภาพจำนวน 10 ฐาน

วันที่ 2 พฤษภาคม 2562

กิจกรรมที่ทำ

  • ค่าเช่าเต็นท์โดมขนาด 3.00 x 3.00 เมตร จำนวน 10 หลัง ๆ ละ 1000 บาท/วัน เป็นเงิน  10,000 บาท
  • ค่าสมนาคุณวิทยากรเชิงปฏิบัติการ จำนวน 10 คน ๆ ละ 5 ชั่วโมง ๆ ละ 600 บาท เป็นเงิน 30,000 บาท
  • ค่าอาหารกลางวัน จำนวน  200 คน ๆ ละ 1 มื้อ ๆ ละ 50 บาท เป็นเงิน 10,000 บาท
  • ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม จำนวน  200 คน ๆ ละ 1 มื้อ ๆ ละ 25 บาท เป็นเงิน  5,000 บาท

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

  • เต็นท์โดมขนาด 3.00 x 3.00 เมตร จำนวน 10 หลัง
  • วิทยากรเชิงปฏิบัติการ จำนวน 10 คน
  • อาหารกลางวัน จำนวน  200 คน ๆ ละ 1 มื้อ
  • อาหารว่างและเครื่องดื่ม จำนวน  200 คน ๆ ละ 1 มื้อ

 

200 0

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อการพัฒนาทักษะการดูแลสุขภาพ การบริโภคอาหารที่ถูกต้อง
ตัวชี้วัด : ร้อยละ 90
90.00

 

2 เพื่อแก้ปัญหาประชาชนที่มีความเสี่ยงโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูง ลดลง
ตัวชี้วัด : ร้อยละ 70
70.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 220
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 220
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อการพัฒนาทักษะการดูแลสุขภาพ การบริโภคอาหารที่ถูกต้อง (2) เพื่อแก้ปัญหาประชาชนที่มีความเสี่ยงโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูง ลดลง

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) จัดอบรมผู้ประกอบอาหาร การปรุงอาหารเพื่อสุขภาพ (2) จัดอบรมเชิงปฏิบัติการ การปรุงอาหารเพื่อสุขภาพจำนวน 10 ฐาน

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการอาหารพื้นบ้านเพื่อสุขภาพกลุ่มเสี่ยง จังหวัด นราธิวาส

รหัสโครงการ 62 – L2492 -1-26

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นายอภินันท์ เปาะอีแต )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด