กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ยะรัง


“ โครงการสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรคด้วยวัคซีน ”

ตำบลยะรัง อำเภอยะรัง จังหวัดปัตตานี

หัวหน้าโครงการ
นางปาตีเม๊าะ สาและบิง

ชื่อโครงการ โครงการสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรคด้วยวัคซีน

ที่อยู่ ตำบลยะรัง อำเภอยะรัง จังหวัดปัตตานี จังหวัด ปัตตานี

รหัสโครงการ 62-L3032-05-02 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 17 เมษายน 2562 ถึง 28 เมษายน 2562


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรคด้วยวัคซีน จังหวัดปัตตานี" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลยะรัง อำเภอยะรัง จังหวัดปัตตานี

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ยะรัง ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรคด้วยวัคซีน



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรคด้วยวัคซีน " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลยะรัง อำเภอยะรัง จังหวัดปัตตานี รหัสโครงการ 62-L3032-05-02 ระยะเวลาการดำเนินงาน 17 เมษายน 2562 - 28 เมษายน 2562 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 26,225.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ยะรัง เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

งานสร้างเสริมภูมคุ้มกันโรค เป็นงานที่มีความสำคัญในการที่จะช่วยป้องกันการเกิดโรคและส่งเสริมสุขภาพพื้นฐานให้แก่ประชาชน ทำให้มีภูมิคุ้มกันต่อโรคที่สามารถป้องกันได้ด้วยวัคซีน ช่วยลดการสูญเสียทางเศรษฐกิจของประเทศทั้งทางทรัพยากรบุคคลและภาระค่าใช้จ่ายต่างๆในการดูแลรักษาผู้ป่วย ควบคุมการกระจายของโรค โรคที่ป้องกันได้ด้วยวัคซีนอาจเกิดการระบาดได้ถ้าไม่สามารถให้วัคซีนได้ครอบคลุมเพียงพอ หรือให้ไม่ครบจามจำนวนครั้งที่กำหนด ภูมิคุ้มกันที่สร้างจากวัคซีนมีระดับลดลง เมื่อเวลาผ่านไปต้องได้รับการกระตุ้นซ้ำ และประสิทธิภาพของวัคซีนลดลงได้จากปัจจัยต่างๆเช่น การเก็บรักษาวัคซีนไม่ได้มาตรฐาน เทคนิคการให้บริการหรือการฉีดวัคซีนเช่น ฉีดลึกหรือตื้นเกินไป ตามที่กระทรวงสาธารณสุขได้มีนโยบายให้ลดอัตราการเกิดโรคติดต่อที่ป้องกันได้ด้วยวัคซีนในทุกพื้นที่ตามพันธะสัญญานานาชาติว่าด้วยการกวาดล้างโรคโปลิโอและการกำจัดโรคหัดโดยกำหนดเป้าหมายไม่เกิน1ต่อล้านประชากรในปี2563และจากสถานการณ์การระบาดของโรคติดต่อที่ป้องกันได้ด้วยวัคซีนจังหวัดปัตตานี ปี 2561 พบว่า มีจำนวนผู้ป่วยโรคหัด มีผู้ป่วยสะสม171 รายอัตราป่วย 24.23 ต่อแสนประชากร พบผู้ป่วย11อำเภอ ยกเว้น อำเภอไม้แก่น โดยไม่มีรายงานการเสียชีวิต (ข้อมูลตั้งแต่วันที่1กันยายน2561 ถึง 18 ตุลาคม 2561)สถานการณ์โรคหัดอำเภอยะรัง มีจำนวนผู้ป่วยสะสม59ราย มีรายงานผู้ป่วยเสียชีวิต1 ราย และมีผู้ป่วยรายใหม่ 5 ราย (ศูนย์ระบาดวิทยาอำเภอยะรัง. 21 ตุลาคม 2561) จากการดำเนินงานสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรคด้วยวัคซีนไม่ครอบคลุมตามเกณฑ์อายุอำเภอยะรังมีจำนวนผู้ป่วยและยังพบว่าผู้ปกครองบางรายยังไม่เห็นถึงความสำคัญในการมารับบริการฉีดวัคซีน ซึ่งอาจส่งผลต่อการแพร่เชื้อของโรคระบาดจากโรคที่ป้องกันได้ด้วยวัคซีนได้ สำหรับพื้นที่ตำบลยะรัง ยังคงมีความเสี่ยงที่จะรับเชื้อและเกิดการระบาดได้หากมีผู้ติดเชื้อเดินทางเข้าออกในพื้นที่
ดังนั้น การดำเนินงานสร้างเสริมภูมิคุ้มกันด้วยวัคซีน นั้นจึงต้องมีนโยบายรณรงค์ให้ได้รับวัคซีนพื้นฐานและจำเป็นต้องดำเนินการเร่งรัด ติดตาม ค้นหาเด็กตามกลุ่มเป้าหมายให้มารับการฉีดวัคซีนทุกคน สามารถ ลด/ควบคุมสถานการณ์แพร่ระบาดของโรคหัดได้โดยเร่งด่วน เพื่อการป้องกันโรคที่อาจจะเกิดขึ้นกับเด็ก เพราะฉะนั้นการให้ผู้ปกครองและประชาชนมีความรู้ที่ถูกต้อง และมีความตระหนักในการพาบุตรหลานมารับบริการฉีดวัคซีน การประชาสัมพันธ์ ให้ความรู้ ติดตาม แก่ผู้ปกครองเด็ก และประชาชนในหมู่บ้านหรือชุมชน จึงเป็นมาตรการสำคัญที่จะช่วยเพิ่มระดับภูมิคุ้มกันต่อโรค และเป็นการป้องกันสุขภาพเด็กในพื้นที่ไม่ให้ติดเชื้อรวมถึงการลดโอกาสติดเชื้อจากภายนอกกลับเข้ามาระบาดได้ โดยผ่านการนำร่องจากอาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้านต้นทุเรียน จึงได้จัดโครงการเสริมสร้างภูมิคุ้มกันโรคด้วยวัคซีนขึ้น

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อสำรวจการแพร่ระบาดของโรคที่ควบคุมด้วยวัคซีนในพื้นที่ตำบลยะรัง
  2. เพื่อให้ประชาชนมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับการควบคุมโรคด้วยวัคซีนในวัยเด็กอายุ 0 – 5 ปี

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. ประชุมชี้แจงสถานการณ์การระบาดของโรค
  2. ภารกิจควบคุมการระบาดของโรคอย่างเร่งด่วน
  3. อบรมให้ความรู้

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 66
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

  1. ประชาชนได้รับความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับการควบคุมโรคด้วยวัคซีน
  2. ผู้ปกครองเด็กนักเรียนศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก องค์การบริหารส่วนตำบลยะรัง ได้รับความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับการควบคุมโรคด้วยวัคซีน ตลอดจนนำลูกหลานเข้ารับบริการวัคซีนที่โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลยะรัง
  3. ควบคุมการระบาดของโรคหัดในพื้นที่ได้

ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อสำรวจการแพร่ระบาดของโรคที่ควบคุมด้วยวัคซีนในพื้นที่ตำบลยะรัง
ตัวชี้วัด : 1. ร้อยละ 100 ประชาชนมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับการป้องกันและควบคุมการระบาดของโรคที่ควบคุมได้ด้วยวัคซีน
80.00 1.00

 

2 เพื่อให้ประชาชนมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับการควบคุมโรคด้วยวัคซีนในวัยเด็กอายุ 0 – 5 ปี
ตัวชี้วัด : ร้อยละ 100 เด็กอายุ 0 – 5 ได้รับวัคซีนครบตามมาตรฐานกระทรวงสาธารณสุข
90.00 1.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 66
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 66
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อสำรวจการแพร่ระบาดของโรคที่ควบคุมด้วยวัคซีนในพื้นที่ตำบลยะรัง (2) เพื่อให้ประชาชนมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับการควบคุมโรคด้วยวัคซีนในวัยเด็กอายุ 0 – 5 ปี

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) ประชุมชี้แจงสถานการณ์การระบาดของโรค (2) ภารกิจควบคุมการระบาดของโรคอย่างเร่งด่วน (3) อบรมให้ความรู้

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรคด้วยวัคซีน จังหวัด ปัตตานี

รหัสโครงการ 62-L3032-05-02

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นางปาตีเม๊าะ สาและบิง )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด