กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.นาเกตุ


“ โครงการการจัดการขยะในชุมชนตำบลนาเกตุ ปี 2560 ”

ตำบลนาเกตุ อำเภอโคกโพธิ์ จังหวัดปัตตานี

หัวหน้าโครงการ
นางเจะรอหะนี บ่อเตย

ชื่อโครงการ โครงการการจัดการขยะในชุมชนตำบลนาเกตุ ปี 2560

ที่อยู่ ตำบลนาเกตุ อำเภอโคกโพธิ์ จังหวัดปัตตานี จังหวัด ปัตตานี

รหัสโครงการ 60-LNK-2-12 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 เมษายน 2017 ถึง 30 เมษายน 2017


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการการจัดการขยะในชุมชนตำบลนาเกตุ ปี 2560 จังหวัดปัตตานี" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลนาเกตุ อำเภอโคกโพธิ์ จังหวัดปัตตานี

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.นาเกตุ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการการจัดการขยะในชุมชนตำบลนาเกตุ ปี 2560



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการการจัดการขยะในชุมชนตำบลนาเกตุ ปี 2560 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลนาเกตุ อำเภอโคกโพธิ์ จังหวัดปัตตานี รหัสโครงการ 60-LNK-2-12 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 เมษายน 2017 - 30 เมษายน 2017 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 60,180.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.นาเกตุ เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

สถานการณ์ปัญหาขยะ ปัญหาขยะจะทวีความรุนแรงขึ้น เนื่องจากสภาพเศรษฐกิจและสังคมที่เปลี่ยนแปลงไปการขยายตัวของประชากรและการอยู่อาศัยในเขตเมือง ซึ่งเป็นรูปแบบการดำเนินชีวิตที่ก่อให้เกิดปริมาณขยะมากกว่าการอาศัยอยู่ในชนบท การขยายตัวทางเศรษฐกิจและการแข่งขันทางอุตสาหกรรม ทำให้ผู้ผลิตพยายามพัฒนารูปแบบใหม่ ๆ เช่น อุปกรณ์อิเล็คโทรนิกส์เช่น คอมพิวเตอร์ โทรศัพท์มือถือ ที่ออกสู่ตลาดอย่างต่อเนื่อง เพื่อรองรับพฤติกรรมของผู้บริโภคที่มีความเป็นวัตถุนิยมมากขึ้น ส่งผลปริมาณขยะเพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่อง ในอัตราที่เพิ่มขึ้น ธนาคารโลกรายงานว่า เมื่อปี 1990 โลกของเรา มีประชากรที่อาศัยในเขตเมืองประมาณ 220 ล้านหรือ 13% ของประชากรโลก และก่อให้เกิดขยะประมาณ 300,000 ตัน/วัน แต่เพียงสิบปีผ่านไป ประชากรที่อาศัยในเขตเมืองจำนวนเพิ่มขึ้นเป็น 2.9 พันล้านคน 49% ของประชากรโลก ทำให้เกิดปริมาณขยะเพิ่มขึ้นเป็น 3 ล้านตัน/วัน จากการสำรวจสถานการณ์ขยะมูลฝอยของประเทศไทย กรมควบคุมมลพิษ พบว่าปริมาณขยะมูลฝอยที่เกิดขึ้นทั่วประเทศมีจำนวนเพิ่มสูงขึ้นในทุกปี โดยในปี 2556 มีปริมาณขยะมูลฝอยเพิ่มขึ้นจากปี 2555 ถึง 2 ล้านตัน และในปี 2557 มีปริมาณขยะมูลฝอยชุมชนประมาณ 26.19 ล้านตัน ซึ่งขยะที่ได้เก็บขนและนำไปกำจัดโดย อปท. จำนวน 4,422 แห่ง พบว่ามีขยะร้อยละ 75 ของปริมาณขยะที่เกิดขึ้นทั้งประเทศเป็นขยะมูลฝอยที่ถูกนำไปกำจัดยังสถานที่ที่ถูกต้องประมาณ 7.88 ล้านถูกต้อง ขณะเดียวกันในพื้นที่อีก 3,355 แห่งไม่มีการให้บริการเก็บขนขยะ ประชาชนจะดำเนินการกำจัดขยะในครัวเรือนเอง โดยการเทกอง เผาในที่โล่ง และลักลอบทิ้งในพื้นที่สาธารณะ ซึ่งมีจำนวนขยะคิดเป็นร้อยละ 25 ของปริมาณขยะที่เกิดขึ้นทั้งประเทศ นอกจากนี้ยังพบว่าปริมาณขยะมูลฝอยในชุมชนที่ถูกนำกลับมาใช้ประโยชน์ได้มีปริมาณลดลง ทั้งนี้เนื่องจากประชาชนมีการดำเนินการคัดแยกขยะมูลฝอยลดลง และเมื่อพิจารณาอัตราการผลิตขยะต่อคนต่อวัน ในระยะ 5 ปีที่ผ่านมาพบว่า มีอัตราเพิ่มขึ้น โดยในปี 2551 มีอัตราการผลิตขยะต่อคนเท่ากับ 0.3 กก./คน/วัน แต่ในปี 2557 มีจำนวนเพิ่มขึ้นเป็น 1.11 กิโลกรัม/คน/วัน แสดงให้เห็นถึงการขาดความตระหนัก ความเข้าใจ และความรับผิดชอบของสมาชิกในชุมชนตั้งแต่ระดับครัวเรือนซึ่งถือเป็นจุดเริ่มต้นที่สำคัญที่สุด จากการสำรวจข้อมูลในพื้นที่ตำบลนาเกตุ ปรากฏว่ามีข้อมูลเกี่ยวกับขยะดังนี้ ข้อมูลสถานการณ์ขยะขององค์การบริหารส่วนตำบลนาเกตุ ปี 2559 ประกอบด้วย 1. ขยะมูลฝอยทั่วไป ประมาณ 504 ตันต่อปี 2. ขยะอินทรีย์ ประมาณ 124 ตันต่อปี 3. ขยะรีไซเคิล ประมาณ 450 ตันต่อปี 4. ขยะอันตราย ประมาณ 3 กิโลกรัม ข้อมูลขยะมูลฝอยขององค์การบริหารส่วนตำบลนาเกตุ ปี 2560 ประกอบด้วย 1. เศษอาหาร 25.42 กิโลกรัมต่อวัน 2. กระดาษ 43.15 กิโลกรัมต่อวัน 3. พลาสติก 52.75 กิโลกรัมต่อวัน 4. แก้ว 26.55 กิโลกรัมต่อวัน 5. โลหะ 22.80 กิโลกรัมต่อวัน 6. ไม้ ,ใบไม้ 14.25 กิโลกรัมต่อวัน 7. อื่นๆ 4.17 กิโลกรัมต่อวัน รวมขยะทั้งสิ้น 189.09 กิโลกรัมต่อวัน
จากปัญหาดังกล่าวเครือข่ายสุขภาพชุมชนตำบลนาเกตุ จึงได้จัดทำโครงการอบรมให้ความรู้เกี่ยวกับการจัดการขยะในชุมชนตำบลนาเกตุ หมู่ที่ 1 , 2 , 3, 4 , 6 และ 7 ขึ้น โดยขอรับงบประมาณสนับสนุนจากกองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่น

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. ชุมชนตระหนักและเข้าใจในการจัดการขยะเพื่อสุขภาพที่ดี
  2. ครัวเรือนมีการคัดแยกขยะและใช้ประโยชน์จากขยะ
  3. ปริมาณขยะที่ต้องจัดการลดลง
  4. เพื่อสร้างสิ่งแวดล้อมที่ดีในชุมชน ประชาชนมีสุขภาพดี ปราศจากขยะที่ไม่เกิดประโยชน์

กิจกรรม/การดำเนินงาน

    กลุ่มเป้าหมาย

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
    กลุ่มวัยทำงาน
    กลุ่มผู้สูงอายุ
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

    ผลที่คาดว่าจะได้รับ

    1. ทำให้ชุมชนตระหนักและเข้าใจในการจัดการขยะเพื่อสุขภาพที่ดี
    2. ครัวเรือนสามารถคัดแยกขยะและใช้ประโยชน์จากขยะ
    3. สามารถลดปริมาณขยะที่ต้องจัดการลดลง
    4. สามารถสร้างสิ่งแวดล้อมที่ดีในชุมชน ประชาชนมีสุขภาพดี ปราศจากขยะที่ไม่เกิดประโยชน์

    ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

    วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
    ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
    กิจกรรมของโครงการ
    ผลผลิต*
    ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

    * ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
    ** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


    ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

    ผลการดำเนินโครงการ

    สรุปผลการดำเนินโครงการ

    ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
    บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
    บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
    ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

     

    ผลผลิตโครงการ

    วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
    1 ชุมชนตระหนักและเข้าใจในการจัดการขยะเพื่อสุขภาพที่ดี
    ตัวชี้วัด : ทำให้ชุมชนตระหนักและเข้าใจในการจัดการขยะเพื่อสุขภาพที่ดี

     

    2 ครัวเรือนมีการคัดแยกขยะและใช้ประโยชน์จากขยะ
    ตัวชี้วัด : ครัวเรือนมีการคัดแยกขยะและใช้ประโยชน์จากขยะ

     

    3 ปริมาณขยะที่ต้องจัดการลดลง
    ตัวชี้วัด : สามารถลดปริมาณขยะที่ต้องจัดการลดลง

     

    4 เพื่อสร้างสิ่งแวดล้อมที่ดีในชุมชน ประชาชนมีสุขภาพดี ปราศจากขยะที่ไม่เกิดประโยชน์
    ตัวชี้วัด : สามารถสร้างสิ่งแวดล้อมที่ดีในชุมชน ประชาชนมีสุขภาพดี ปราศจากขยะที่ไม่เกิดประโยชน์

     

    ผู้เข้าร่วมโครงการ

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 0
    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
    กลุ่มวัยทำงาน -
    กลุ่มผู้สูงอายุ -
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

    บทคัดย่อ*

    โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ชุมชนตระหนักและเข้าใจในการจัดการขยะเพื่อสุขภาพที่ดี (2) ครัวเรือนมีการคัดแยกขยะและใช้ประโยชน์จากขยะ (3) ปริมาณขยะที่ต้องจัดการลดลง (4) เพื่อสร้างสิ่งแวดล้อมที่ดีในชุมชน ประชาชนมีสุขภาพดี ปราศจากขยะที่ไม่เกิดประโยชน์

    ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่

    ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

    หมายเหตุ *

    • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
    • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

    ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

    ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

     

     

     


    โครงการการจัดการขยะในชุมชนตำบลนาเกตุ ปี 2560 จังหวัด ปัตตานี

    รหัสโครงการ 60-LNK-2-12

    ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

    ................................
    ( นางเจะรอหะนี บ่อเตย )
    ผู้รับผิดชอบโครงการ
    ......./............/.......

    vertical_align_topไปบนสุด