โครงการส่งเสริมสุขภาพอนามัยแม่และเด็กสร้างสายสัมพันธ์แม่ลูก
แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์
รายงานฉบับสมบูรณ์
โครงการ
“ โครงการส่งเสริมสุขภาพอนามัยแม่และเด็กสร้างสายสัมพันธ์แม่ลูก ”
ตำบลยะหา อำเภอยะหา จังหวัดยะลา
หัวหน้าโครงการ
น.ส.วิลดาดือราซอลีมา
ได้รับการสนับสนุนโดย กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ยะหา
กันยายน 2560
ชื่อโครงการ โครงการส่งเสริมสุขภาพอนามัยแม่และเด็กสร้างสายสัมพันธ์แม่ลูก
ที่อยู่ ตำบลยะหา อำเภอยะหา จังหวัดยะลา จังหวัด ยะลา
รหัสโครงการ 60-L4150-1-13 เลขที่ข้อตกลง
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 27 มีนาคม 2560 ถึง 26 กันยายน 2560
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการส่งเสริมสุขภาพอนามัยแม่และเด็กสร้างสายสัมพันธ์แม่ลูก จังหวัดยะลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลยะหา อำเภอยะหา จังหวัดยะลา
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ยะหา ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการส่งเสริมสุขภาพอนามัยแม่และเด็กสร้างสายสัมพันธ์แม่ลูก
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการส่งเสริมสุขภาพอนามัยแม่และเด็กสร้างสายสัมพันธ์แม่ลูก " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลยะหา อำเภอยะหา จังหวัดยะลา รหัสโครงการ 60-L4150-1-13 ระยะเวลาการดำเนินงาน 27 มีนาคม 2560 - 26 กันยายน 2560 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 13,250.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ยะหา เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ »
บทคัดย่อ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล »
วัตถุประสงค์โครงการ »
กิจกรรม/การดำเนินงาน »
กลุ่มเป้าหมาย »
ผลลัพธ์ที่ได้ »
การประเมินผล »
ปัญหาและอุปสรรค »
ข้อเสนอแนะ »
เอกสารประกอบอื่นๆ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
ปัญหาสุขภาพอนามัยแม่และเด็ก เป็นปัญหาสำคัญที่จะส่งผลต่อการเจริญเติบโตและพัฒนาการของเด็กตั้งแต่อยู่ในครรภ์ ยังส่งผลต่อสุขภาพมารดาตั้งแต่ตั้งครรภ์และอาจส่งผลในระยะคลอดได้ สถานการณ์สุขภาพของแม่และเด็กอำเภอยะหา จังหวัดยะลาปี 2558 – 2560(ตค-กพ) มีรายงานการตายของมารดาปี 2558 จำนวน 1 ราย คิดเป็นอัตราส่วน 111.48 ต่อแสนการเกิดมีชีพ สาเหตุจาก Uterine ruptureปี 2559 จำนวน 2 ราย คิดเป็นอัตราส่วน 369ต่อแสนการเกิดมีชีพ สาเหตุจาก รายที่1 Anaphylactic shock R/O Amniotic embolism มีสาเหตุร่วม PPH รายที่ 2 septic shock หลังผ่าตัด อัตราทารกตายปริกำเนิด 12.14 , 8.46, 4.18 ต่อพันการเกิดสาเหตุจาก สำลักน้ำคร่ำ คลอดก่อนกำหนด อัตราทารกน้ำหนักน้อยกว่า 2,500 กรัมร้อยละ 7.36,8.08, 2.08 สาเหตุจาก คลอดก่อนกำหนด ครรภ์แฝดอัตราหญิงตั้งครรภ์ที่มีภาวะโลหิตจางขณะใกล้คลอด ร้อยละ 18.10, 21.56 21.39 เนื่องจากสาเหตุ ไม่รับประทานยาต่อเนื่อง จาก อาการข้างเคียง คลื่นไส้ อาเจียน ลืมรับประทานยา ผล OF DCIP Positive ฝากครรภ์ช้า เกิน 26 wksตามลำดับ ดังนั้น ในการแก้ไขปัญหางานอนามัยแม่และเด็ก จำเป็นจะต้องดำเนินการในหลายด้านไปพร้อมกันทั้งส่งเสริมและสนับสนุน การพัฒนาศักยภาพเจ้าหน้าที่สาธารณสุขในการดูแลมารดา ตั้งแต่ มารดาตั้งครรภ์คลอดหลังคลอดให้มีภาวะโภชนาการที่ดี และปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการบริโภคของประชาชนให้เหมาะสม โดยเฉพาะหญิงตั้งครรภ์และหญิงให้นมบุตร
ดังนั้น โรงพยาบาลสมเด็จพระยุพราชยะหา จึงได้จัดทำโครงการส่งเสริมสุขภาพอนามัยแม่และเด็ก สร้างสายสัมพันธ์แม่ลูก โดยชุมชนมีส่วน เพื่อเสริมสร้างความเข้มแข็งการบริการสุขภาพงานอนามัยแม่และเด็กอย่างมีคุณภาพ เพื่อสร้างเครือข่ายสุขภาพระดับชุมชน เน้นให้มีการสร้างเสริมสุขภาพ
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- 1. เพื่อส่งเสริมสุขภาพหญิงตั้งครรภ์และทารกในครรภ์ให้สมบูรณ์แข็งแรง น้ำหนักดี พัฒนาการสมวัยมีความตระหนักในการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่ ลดภาวะโลหิตจางในหญิงตั้งครรภ์
2. เพื่อส่งเสริมการบริการสุขภาพของหญิงวัยเจริญพันธ์ที่สงสัยตั้งครรภ์ ให้ได้รับบริการฝากครรภ์เร็วที่สุด ก่อน 12 สัปดาห์
3.เพื่อสร้างเครือข่ายและพัฒนาบุคลากรที่เกี่ยวข้องให้สามารถดำเนินงานแก้ไขปัญหางานอนามัยแม่และเด็ก ในพื้นที่รับผิดชอบ
กิจกรรม/การดำเนินงาน
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
175
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
- หญิงตั้งครรภ์และครอบครัวมีความรู้ความตระหนักในการดูแลตนเอง สามารถเฝ้าระวังภาวะเสี่ยง มีการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่อย่างเดียว 6 เดือน และเลี้ยงดูเด็กปฐมวัยให้มีพัฒนาการสมวัย
- สถาบันครอบครัวเข้มแข็งสามารถดูแลลูกอย่างมีคุณภาพตั้งแต่วัยทารกจนถึงวัยรุ่นให้มีการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่เหมาะสมและการตั้งครรภ์ในวัยรุ่นลดลง
3.บุคลากรผู้ให้บริการงานด้านอนามัยแม่และเด็กได้แลกเปลี่ยนเรียนรู้และเพิ่มพูนทักษะความสามารถ ให้สามารถจัดบริการให้ได้มาตรฐานโรงพยาบาล
- อสม.ในพื้นที่และมีความใกล้ชิดกับประชาชน มีความรู้ และสามารถให้คำแนะนำการดูแลตนเองเบื้องต้นให้กับประชาชนได้
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ ผลผลิต* ผลผลิตที่ตั้งไว้ ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
กิจกรรมที่ 1 จัดเวทีประชาคมหมู่บ้าน คืนข้อมูลสู่ชุมชน ร่วมกันแก้ไขปัญหาโลหิตจางในหญิงตั้งครรภ์
จัดเวทีประชาคม
ค้นหาปัญหา
1. กินยาแล้วมีอาการคลื่นไส้
2. เริ่มกินยาบำรุงเลือดช้า หญิงตั้งครรภ์ฝากครรภ์ช้า ไม่ทราบว่าตนเองตั้งครรภ์
3. โภชนาการอาหาร
4. ลืมกินยา
แนวทางแก้ปัญหา
1.ให้ตระหนักถึงความสำคัญของการกินยา
2.ให้สามีคอยดูแล ซักถามการกินยา เพื่อป้องกันการลืมกินยา
3.รณรงค์เสียงตามสายในมัสยิด
กิจกรรมที่ 2 จัดกิจกรรมรณรงค์ รักเรา.....ไม่จืดจาง (แก้ไขภาวะโลหิตจางในหญิงตั้งครรภ์) เฝ้าระวังภาวะเสี่ยงสูงในหญิงตั้งครรภ์โดยผู้ดูแลในครอบครัว
- ประชาชนทุกกลุ่มวัยโดยเฉพาะหญิงวัยเจริญพันธ์ หญิงตั้งครรภ์ และหฺลังคลอดตระหนักเห็นความสำคัญในการเฝ้าระวังภาวะโลหิตจาง ที่จะส่งผลต่อบุตร และการคลอด
- จัดทำสื่อรณรงค์ส่งเสริมสุขภาพหญิงตั้งครรภ์
สรุปผลคะแนน ร้อยละของผู้เข้าอบรมได้คะแนนก่อน คะแนน 5, 4, 3 คะแนน คิดเป็นร้อยละ 46.66, 30.33 และ 23.30 ตามลำดับ คะแนนหลังรณรงค์ คะแนน 5, 4, 3 คิดเป็นร้อยละ 93.33, 6.66 และ 0 ตามลำดับ ซึ่งพบว่ามีคะแนนดีขึ้นมากกว่าหลังจากรณรงค์ แลกเปลี่ยนเรียนรู้
กิจกรรมที่ 3 พัฒนาระบบโรงเรียนพ่อแม่เพื่อหญิงตั้งครรภ์คุณภาพ
- เจ้าหน้าที่และสมาชิก อสม.แม่อาสา จัดทำคู่มือโรงเรียนพ่อแม่ มีคู่มือโรงเรียนพ่อแม่หลักสูตร 1 และ หลักสูตร 2 ตามมาตรฐานงานฝากครรภ์ มีห้องโรงเรียนพ่อแม่เป็นสัดส่วน
- ให้บริการโรงเรียนพ่อแม่ อบรมหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด เพื่อให้ได้รับการส่งเสริมสุขภาพขณะตั้งครรภ์และเฝ้าระวังภาวะเสี่ยง ทุกวัน พฤหัส สัปดาห์ที่ 2 และ สัปดาห์ที่ 4
กิจกรรมที่ 4 จัดตั้งชมรม “นมแม่” รณรงค์ส่งเสริมการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่ตามบริบทชุมชน
ตำบลยะหาเกิดชมรมแม่อาสาที่ชัดเจน มีการจัดตั้งกรรมการชมรม โดยมีผู้อำนวยการโรงพยาบาลเป็นประธานอำนวยการ และ นางสาวมีเนาะ พุ่มพ์ทอง เป็นประธานชมรมแม่อาสา
ปัญหา/อุปสรรค
- ประชาชนกลุ่มเป้าหมายไม่มีความสะดวกในการเดินทางเข้าอบรม
- วัฒนธรรมความเชื่อและขนบธรรมเนียมประเพณี
แนวทางการแก้ไข
- การจัดอบรมในพื้นที่ศูนย์กลางชุมชน ในมัสยิด หรือ สถานที่พบปะชุมชน
- การให้ข้อมูลที่เห็นชัดเจน มีผู้นำให้คำปรึกษาสุขภาพ
- ชี้ให้เห็นถึงกระทบของภาวะโลหิตจางในทุกกลุ่มวัย
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ สถานการณ์ เป้าหมาย ผลผลิต อธิบาย
1
1. เพื่อส่งเสริมสุขภาพหญิงตั้งครรภ์และทารกในครรภ์ให้สมบูรณ์แข็งแรง น้ำหนักดี พัฒนาการสมวัยมีความตระหนักในการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่ ลดภาวะโลหิตจางในหญิงตั้งครรภ์
2. เพื่อส่งเสริมการบริการสุขภาพของหญิงวัยเจริญพันธ์ที่สงสัยตั้งครรภ์ ให้ได้รับบริการฝากครรภ์เร็วที่สุด ก่อน 12 สัปดาห์
3.เพื่อสร้างเครือข่ายและพัฒนาบุคลากรที่เกี่ยวข้องให้สามารถดำเนินงานแก้ไขปัญหางานอนามัยแม่และเด็ก ในพื้นที่รับผิดชอบ
ตัวชี้วัด : 1. อัตราการฝากครรภ์ก่อน 12 สัปดาห์ ร้อยละ 60
หญิงตั้งครรภ์ จำนวน 61 คน มีการฝากครรภ์ครั้งแรกในอายุครรภ์ก่อน/เท่ากับ 12 สัปดาห์ ร้อยละ 60 คิดเป็นจำนวน 37 คน
2. อัตราการฝากครรภ์ครบ 5 ครั้งตามเกณฑ์ ร้อยละ 65
หญิงคลอด จำนวน 35 คน มีการฝากครรภ์ครบ 5 ครั้งตามเกณฑ์ร้อยละ 65 คิดเป็น จำนวน23 คน
3. ภาวะโลหิตจางในหญิงตั้งครรภ์ใกล้คลอดไม่เกินร้อยละ10
หญิงคลอด จำนวน 35 คนมีภาวะโลหิตจางใกล้คลอดไม่เกินร้อยละ 10 คิดเป็นจำนวนไม่เกิน 4 คน
4. เยี่ยมมารดาทารกหลังคลอดครบ 3 ครั้งตามเกณฑ์ ร้อยละ 65
มารดาหลังคลอด 6 สัปดาห์ จำนวน 40 คน มีมารดาทารกหลังคลอดได้รับการดูแลหลังคลอดครบ 3 ครั้งตามเกณฑ์ ร้อยละ 65 คิดเป็น จำนวน 26 คน
5. ร้อยละของเด็กตั้งแต่ทารกแรกเกิดจนถึงอายุต่ำกว่า 6 เดือน แรก มีค่าเฉลี่ยกินนมแม่อย่างเดียวไม่น้อยกว่าร้อยละ 50
เด็กทารกแรกเกิดถึง6 เดือนจำนวน 86 คน กินนมแม่อย่างเดียว ไม่น้อยกว่าร้อยละ 50 คิดเป็น จำนวน 43 คน
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด
175
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
-
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
-
กลุ่มวัยทำงาน
-
กลุ่มผู้สูงอายุ
-
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
175
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
-
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
-
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
-
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
-
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1. เพื่อส่งเสริมสุขภาพหญิงตั้งครรภ์และทารกในครรภ์ให้สมบูรณ์แข็งแรง น้ำหนักดี พัฒนาการสมวัยมีความตระหนักในการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่ ลดภาวะโลหิตจางในหญิงตั้งครรภ์
2. เพื่อส่งเสริมการบริการสุขภาพของหญิงวัยเจริญพันธ์ที่สงสัยตั้งครรภ์ ให้ได้รับบริการฝากครรภ์เร็วที่สุด ก่อน 12 สัปดาห์
3.เพื่อสร้างเครือข่ายและพัฒนาบุคลากรที่เกี่ยวข้องให้สามารถดำเนินงานแก้ไขปัญหางานอนามัยแม่และเด็ก ในพื้นที่รับผิดชอบ
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *- บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
- หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค สาเหตุ ข้อเสนอแนะ
โครงการส่งเสริมสุขภาพอนามัยแม่และเด็กสร้างสายสัมพันธ์แม่ลูก จังหวัด ยะลา
รหัสโครงการ 60-L4150-1-13
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
................................
( น.ส.วิลดาดือราซอลีมา )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......
โครงการ
“ โครงการส่งเสริมสุขภาพอนามัยแม่และเด็กสร้างสายสัมพันธ์แม่ลูก ”
ตำบลยะหา อำเภอยะหา จังหวัดยะลา
หัวหน้าโครงการ
น.ส.วิลดาดือราซอลีมา
กันยายน 2560
ที่อยู่ ตำบลยะหา อำเภอยะหา จังหวัดยะลา จังหวัด ยะลา
รหัสโครงการ 60-L4150-1-13 เลขที่ข้อตกลง
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 27 มีนาคม 2560 ถึง 26 กันยายน 2560
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการส่งเสริมสุขภาพอนามัยแม่และเด็กสร้างสายสัมพันธ์แม่ลูก จังหวัดยะลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลยะหา อำเภอยะหา จังหวัดยะลา
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ยะหา ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการส่งเสริมสุขภาพอนามัยแม่และเด็กสร้างสายสัมพันธ์แม่ลูก
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการส่งเสริมสุขภาพอนามัยแม่และเด็กสร้างสายสัมพันธ์แม่ลูก " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลยะหา อำเภอยะหา จังหวัดยะลา รหัสโครงการ 60-L4150-1-13 ระยะเวลาการดำเนินงาน 27 มีนาคม 2560 - 26 กันยายน 2560 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 13,250.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ยะหา เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ | » |
บทคัดย่อ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล | » |
วัตถุประสงค์โครงการ | » |
กิจกรรม/การดำเนินงาน | » |
กลุ่มเป้าหมาย | » |
ผลลัพธ์ที่ได้ | » |
การประเมินผล | » |
ปัญหาและอุปสรรค | » |
ข้อเสนอแนะ | » |
เอกสารประกอบอื่นๆ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
ปัญหาสุขภาพอนามัยแม่และเด็ก เป็นปัญหาสำคัญที่จะส่งผลต่อการเจริญเติบโตและพัฒนาการของเด็กตั้งแต่อยู่ในครรภ์ ยังส่งผลต่อสุขภาพมารดาตั้งแต่ตั้งครรภ์และอาจส่งผลในระยะคลอดได้ สถานการณ์สุขภาพของแม่และเด็กอำเภอยะหา จังหวัดยะลาปี 2558 – 2560(ตค-กพ) มีรายงานการตายของมารดาปี 2558 จำนวน 1 ราย คิดเป็นอัตราส่วน 111.48 ต่อแสนการเกิดมีชีพ สาเหตุจาก Uterine ruptureปี 2559 จำนวน 2 ราย คิดเป็นอัตราส่วน 369ต่อแสนการเกิดมีชีพ สาเหตุจาก รายที่1 Anaphylactic shock R/O Amniotic embolism มีสาเหตุร่วม PPH รายที่ 2 septic shock หลังผ่าตัด อัตราทารกตายปริกำเนิด 12.14 , 8.46, 4.18 ต่อพันการเกิดสาเหตุจาก สำลักน้ำคร่ำ คลอดก่อนกำหนด อัตราทารกน้ำหนักน้อยกว่า 2,500 กรัมร้อยละ 7.36,8.08, 2.08 สาเหตุจาก คลอดก่อนกำหนด ครรภ์แฝดอัตราหญิงตั้งครรภ์ที่มีภาวะโลหิตจางขณะใกล้คลอด ร้อยละ 18.10, 21.56 21.39 เนื่องจากสาเหตุ ไม่รับประทานยาต่อเนื่อง จาก อาการข้างเคียง คลื่นไส้ อาเจียน ลืมรับประทานยา ผล OF DCIP Positive ฝากครรภ์ช้า เกิน 26 wksตามลำดับ ดังนั้น ในการแก้ไขปัญหางานอนามัยแม่และเด็ก จำเป็นจะต้องดำเนินการในหลายด้านไปพร้อมกันทั้งส่งเสริมและสนับสนุน การพัฒนาศักยภาพเจ้าหน้าที่สาธารณสุขในการดูแลมารดา ตั้งแต่ มารดาตั้งครรภ์คลอดหลังคลอดให้มีภาวะโภชนาการที่ดี และปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการบริโภคของประชาชนให้เหมาะสม โดยเฉพาะหญิงตั้งครรภ์และหญิงให้นมบุตร ดังนั้น โรงพยาบาลสมเด็จพระยุพราชยะหา จึงได้จัดทำโครงการส่งเสริมสุขภาพอนามัยแม่และเด็ก สร้างสายสัมพันธ์แม่ลูก โดยชุมชนมีส่วน เพื่อเสริมสร้างความเข้มแข็งการบริการสุขภาพงานอนามัยแม่และเด็กอย่างมีคุณภาพ เพื่อสร้างเครือข่ายสุขภาพระดับชุมชน เน้นให้มีการสร้างเสริมสุขภาพ
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- 1. เพื่อส่งเสริมสุขภาพหญิงตั้งครรภ์และทารกในครรภ์ให้สมบูรณ์แข็งแรง น้ำหนักดี พัฒนาการสมวัยมีความตระหนักในการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่ ลดภาวะโลหิตจางในหญิงตั้งครรภ์ 2. เพื่อส่งเสริมการบริการสุขภาพของหญิงวัยเจริญพันธ์ที่สงสัยตั้งครรภ์ ให้ได้รับบริการฝากครรภ์เร็วที่สุด ก่อน 12 สัปดาห์ 3.เพื่อสร้างเครือข่ายและพัฒนาบุคลากรที่เกี่ยวข้องให้สามารถดำเนินงานแก้ไขปัญหางานอนามัยแม่และเด็ก ในพื้นที่รับผิดชอบ
กิจกรรม/การดำเนินงาน
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้ | |
---|---|---|
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | ||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | ||
กลุ่มวัยทำงาน | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | ||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | 175 | |
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] |
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
- หญิงตั้งครรภ์และครอบครัวมีความรู้ความตระหนักในการดูแลตนเอง สามารถเฝ้าระวังภาวะเสี่ยง มีการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่อย่างเดียว 6 เดือน และเลี้ยงดูเด็กปฐมวัยให้มีพัฒนาการสมวัย
- สถาบันครอบครัวเข้มแข็งสามารถดูแลลูกอย่างมีคุณภาพตั้งแต่วัยทารกจนถึงวัยรุ่นให้มีการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่เหมาะสมและการตั้งครรภ์ในวัยรุ่นลดลง 3.บุคลากรผู้ให้บริการงานด้านอนามัยแม่และเด็กได้แลกเปลี่ยนเรียนรู้และเพิ่มพูนทักษะความสามารถ ให้สามารถจัดบริการให้ได้มาตรฐานโรงพยาบาล
- อสม.ในพื้นที่และมีความใกล้ชิดกับประชาชน มีความรู้ และสามารถให้คำแนะนำการดูแลตนเองเบื้องต้นให้กับประชาชนได้
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์** กิจกรรมของโครงการ | ผลผลิต* | |
---|---|---|
ผลผลิตที่ตั้งไว้ | ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง |
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
กิจกรรมที่ 1 จัดเวทีประชาคมหมู่บ้าน คืนข้อมูลสู่ชุมชน ร่วมกันแก้ไขปัญหาโลหิตจางในหญิงตั้งครรภ์
จัดเวทีประชาคม
ค้นหาปัญหา
1. กินยาแล้วมีอาการคลื่นไส้
2. เริ่มกินยาบำรุงเลือดช้า หญิงตั้งครรภ์ฝากครรภ์ช้า ไม่ทราบว่าตนเองตั้งครรภ์
3. โภชนาการอาหาร
4. ลืมกินยา
แนวทางแก้ปัญหา
1.ให้ตระหนักถึงความสำคัญของการกินยา
2.ให้สามีคอยดูแล ซักถามการกินยา เพื่อป้องกันการลืมกินยา
3.รณรงค์เสียงตามสายในมัสยิด
กิจกรรมที่ 2 จัดกิจกรรมรณรงค์ รักเรา.....ไม่จืดจาง (แก้ไขภาวะโลหิตจางในหญิงตั้งครรภ์) เฝ้าระวังภาวะเสี่ยงสูงในหญิงตั้งครรภ์โดยผู้ดูแลในครอบครัว
- ประชาชนทุกกลุ่มวัยโดยเฉพาะหญิงวัยเจริญพันธ์ หญิงตั้งครรภ์ และหฺลังคลอดตระหนักเห็นความสำคัญในการเฝ้าระวังภาวะโลหิตจาง ที่จะส่งผลต่อบุตร และการคลอด
- จัดทำสื่อรณรงค์ส่งเสริมสุขภาพหญิงตั้งครรภ์
สรุปผลคะแนน ร้อยละของผู้เข้าอบรมได้คะแนนก่อน คะแนน 5, 4, 3 คะแนน คิดเป็นร้อยละ 46.66, 30.33 และ 23.30 ตามลำดับ คะแนนหลังรณรงค์ คะแนน 5, 4, 3 คิดเป็นร้อยละ 93.33, 6.66 และ 0 ตามลำดับ ซึ่งพบว่ามีคะแนนดีขึ้นมากกว่าหลังจากรณรงค์ แลกเปลี่ยนเรียนรู้
กิจกรรมที่ 3 พัฒนาระบบโรงเรียนพ่อแม่เพื่อหญิงตั้งครรภ์คุณภาพ
- เจ้าหน้าที่และสมาชิก อสม.แม่อาสา จัดทำคู่มือโรงเรียนพ่อแม่ มีคู่มือโรงเรียนพ่อแม่หลักสูตร 1 และ หลักสูตร 2 ตามมาตรฐานงานฝากครรภ์ มีห้องโรงเรียนพ่อแม่เป็นสัดส่วน
- ให้บริการโรงเรียนพ่อแม่ อบรมหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด เพื่อให้ได้รับการส่งเสริมสุขภาพขณะตั้งครรภ์และเฝ้าระวังภาวะเสี่ยง ทุกวัน พฤหัส สัปดาห์ที่ 2 และ สัปดาห์ที่ 4
กิจกรรมที่ 4 จัดตั้งชมรม “นมแม่” รณรงค์ส่งเสริมการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่ตามบริบทชุมชน
ตำบลยะหาเกิดชมรมแม่อาสาที่ชัดเจน มีการจัดตั้งกรรมการชมรม โดยมีผู้อำนวยการโรงพยาบาลเป็นประธานอำนวยการ และ นางสาวมีเนาะ พุ่มพ์ทอง เป็นประธานชมรมแม่อาสา
ปัญหา/อุปสรรค
- ประชาชนกลุ่มเป้าหมายไม่มีความสะดวกในการเดินทางเข้าอบรม
- วัฒนธรรมความเชื่อและขนบธรรมเนียมประเพณี
แนวทางการแก้ไข
- การจัดอบรมในพื้นที่ศูนย์กลางชุมชน ในมัสยิด หรือ สถานที่พบปะชุมชน
- การให้ข้อมูลที่เห็นชัดเจน มีผู้นำให้คำปรึกษาสุขภาพ
- ชี้ให้เห็นถึงกระทบของภาวะโลหิตจางในทุกกลุ่มวัย
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ | สถานการณ์ | เป้าหมาย | ผลผลิต | อธิบาย | |
---|---|---|---|---|---|
1 | 1. เพื่อส่งเสริมสุขภาพหญิงตั้งครรภ์และทารกในครรภ์ให้สมบูรณ์แข็งแรง น้ำหนักดี พัฒนาการสมวัยมีความตระหนักในการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่ ลดภาวะโลหิตจางในหญิงตั้งครรภ์
2. เพื่อส่งเสริมการบริการสุขภาพของหญิงวัยเจริญพันธ์ที่สงสัยตั้งครรภ์ ให้ได้รับบริการฝากครรภ์เร็วที่สุด ก่อน 12 สัปดาห์
3.เพื่อสร้างเครือข่ายและพัฒนาบุคลากรที่เกี่ยวข้องให้สามารถดำเนินงานแก้ไขปัญหางานอนามัยแม่และเด็ก ในพื้นที่รับผิดชอบ ตัวชี้วัด : 1. อัตราการฝากครรภ์ก่อน 12 สัปดาห์ ร้อยละ 60 หญิงตั้งครรภ์ จำนวน 61 คน มีการฝากครรภ์ครั้งแรกในอายุครรภ์ก่อน/เท่ากับ 12 สัปดาห์ ร้อยละ 60 คิดเป็นจำนวน 37 คน 2. อัตราการฝากครรภ์ครบ 5 ครั้งตามเกณฑ์ ร้อยละ 65 หญิงคลอด จำนวน 35 คน มีการฝากครรภ์ครบ 5 ครั้งตามเกณฑ์ร้อยละ 65 คิดเป็น จำนวน23 คน 3. ภาวะโลหิตจางในหญิงตั้งครรภ์ใกล้คลอดไม่เกินร้อยละ10 หญิงคลอด จำนวน 35 คนมีภาวะโลหิตจางใกล้คลอดไม่เกินร้อยละ 10 คิดเป็นจำนวนไม่เกิน 4 คน 4. เยี่ยมมารดาทารกหลังคลอดครบ 3 ครั้งตามเกณฑ์ ร้อยละ 65 มารดาหลังคลอด 6 สัปดาห์ จำนวน 40 คน มีมารดาทารกหลังคลอดได้รับการดูแลหลังคลอดครบ 3 ครั้งตามเกณฑ์ ร้อยละ 65 คิดเป็น จำนวน 26 คน 5. ร้อยละของเด็กตั้งแต่ทารกแรกเกิดจนถึงอายุต่ำกว่า 6 เดือน แรก มีค่าเฉลี่ยกินนมแม่อย่างเดียวไม่น้อยกว่าร้อยละ 50 เด็กทารกแรกเกิดถึง6 เดือนจำนวน 86 คน กินนมแม่อย่างเดียว ไม่น้อยกว่าร้อยละ 50 คิดเป็น จำนวน 43 คน |
|
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
---|---|---|---|
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด | 175 | ||
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | |||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | - | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | - | ||
กลุ่มวัยทำงาน | - | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | - | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | |||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | 175 | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | - | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | - | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | - | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] | - |
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1. เพื่อส่งเสริมสุขภาพหญิงตั้งครรภ์และทารกในครรภ์ให้สมบูรณ์แข็งแรง น้ำหนักดี พัฒนาการสมวัยมีความตระหนักในการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่ ลดภาวะโลหิตจางในหญิงตั้งครรภ์
2. เพื่อส่งเสริมการบริการสุขภาพของหญิงวัยเจริญพันธ์ที่สงสัยตั้งครรภ์ ให้ได้รับบริการฝากครรภ์เร็วที่สุด ก่อน 12 สัปดาห์
3.เพื่อสร้างเครือข่ายและพัฒนาบุคลากรที่เกี่ยวข้องให้สามารถดำเนินงานแก้ไขปัญหางานอนามัยแม่และเด็ก ในพื้นที่รับผิดชอบ
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค | สาเหตุ | ข้อเสนอแนะ |
---|---|---|
|
|
|
โครงการส่งเสริมสุขภาพอนามัยแม่และเด็กสร้างสายสัมพันธ์แม่ลูก จังหวัด ยะลา
รหัสโครงการ 60-L4150-1-13
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
( น.ส.วิลดาดือราซอลีมา )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......