โครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมกลุ่มเสี่ยงเฝ้าระวังโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูงในชุมชน รพ.สต.ทุ่งมะขาม
แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์
รายงานฉบับสมบูรณ์
โครงการ
“ โครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมกลุ่มเสี่ยงเฝ้าระวังโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูงในชุมชน รพ.สต.ทุ่งมะขาม ”
ตำบลคูหาใต้ อำเภอรัตภูมิ จังหวัดสงขลา
หัวหน้าโครงการ
นางสมพรชิตณรงค์ พยาบาลวิชาชีพชำนาญการ
ได้รับการสนับสนุนโดย กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลคูหาใต้
กันยายน 2560
ชื่อโครงการ โครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมกลุ่มเสี่ยงเฝ้าระวังโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูงในชุมชน รพ.สต.ทุ่งมะขาม
ที่อยู่ ตำบลคูหาใต้ อำเภอรัตภูมิ จังหวัดสงขลา จังหวัด สงขลา
รหัสโครงการ 60-L8402-1-03 เลขที่ข้อตกลง
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 มีนาคม 2560 ถึง 30 กันยายน 2560
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมกลุ่มเสี่ยงเฝ้าระวังโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูงในชุมชน รพ.สต.ทุ่งมะขาม จังหวัดสงขลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลคูหาใต้ อำเภอรัตภูมิ จังหวัดสงขลา
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลคูหาใต้ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมกลุ่มเสี่ยงเฝ้าระวังโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูงในชุมชน รพ.สต.ทุ่งมะขาม
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมกลุ่มเสี่ยงเฝ้าระวังโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูงในชุมชน รพ.สต.ทุ่งมะขาม " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลคูหาใต้ อำเภอรัตภูมิ จังหวัดสงขลา รหัสโครงการ 60-L8402-1-03 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 มีนาคม 2560 - 30 กันยายน 2560 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 49,500.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลคูหาใต้ เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ »
บทคัดย่อ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล »
วัตถุประสงค์โครงการ »
กิจกรรม/การดำเนินงาน »
กลุ่มเป้าหมาย »
ผลลัพธ์ที่ได้ »
การประเมินผล »
ปัญหาและอุปสรรค »
ข้อเสนอแนะ »
เอกสารประกอบอื่นๆ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
ปัจจุบัน ปัญหาสุขภาพของประชาชนเป็นเรื่องสำคัญที่ต้องได้รับการดูแล โดยคนไทยส่วนใหญ่ป่วยด้วย
โรคเรื้อรังหรือโรคจากวิถีชีวิตมากขึ้น เช่น โรคเบาหวาน ความดันโลหิต หัวใจ หลอดเลือดสมอง และโรคมะเร็ง จากข้อมูลการสำรวจสุขภาพประชาชนไทยโดยการตรวจร่างกาย พบว่าคนไทยอายุ ๑๕ ปีขึ้นไป ป่วยเป็นความดันโลหิตสูงถึง ๑๑.๕ ล้านคน ซึ่งได้รับการรักษาและควบคุมอาการได้ประมาณ ๑ ใน ๔ เท่านั้นยังมีผู้ที่มีความดันโลหิตสูงจำนวนมากที่ยังไม่เคยได้รับการวินิจฉัย ซึ่งกลุ่มนี้หากไม่ได้รับการดูแลจะเสี่ยงเกิดโรคแทรกซ้อนตามมาได้สูง
รายงานผลการคัดกรองโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูง ปีงบประมาณ 2559 จากการคัดกรองในประชากรอายุ 15 ปีขึ้นไป จำนวน 25,712,099 คน พบว่าเป็นกลุ่มปรกติ 18,941,875 คน กลุ่มเสี่ยงสูง 6,110,342 คน เป็นกลุ่มป่วยหรือสงสัยป่วยรายใหม่ 1,216,093 คนและจากรายงานข้อมูลกลุ่มเสี่ยงความดันโลหิตสูง ปีงบประมาณ 2559 ซึ่งป่วยความดันโลหิตสูงในปีงบประมาณ 2559 พบว่าจากกลุ่มเสี่ยง 6,932,121 คน ป่วยเป็นโรคความดันโลหิตสูง 646,344 คน คิดเป็นร้อยละ 10.21 และ จากกลุ่มปรกติ 15,891,978 คน ป่วยเป็นโรคความดันโลหิตสูง 653,533 คน คิดเป็นร้อยละ 4.11รวมป่วยเป็นโรคความดันโลหิตสูง ปี 2559 จำนวน 1,291,452 คน (ข้อมูล จาก 43 แฟ้มมาตรฐาน) จึงต้องให้หน่วยงานสาธารณสุขแต่ละพื้นที่ ช่วยกันคัดกรองกลุ่มเป้าหมาย ให้ครอบคลุมมากกว่าร้อยละ ๙๐ พร้อมประเมินผลการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ โดยทางสำนักงานธารณสุขอำเภอรัตภูมิได้เร่งรัดให้หน่วยงานสังกัด ได้แก่โรงพยาบาลส่งเสริมสุภาพตำบลทั้ง๑๑แห่ง เร่งดำเนินการตรวจคัดกรองประชากรอายุตั้งแต่๓๕ปีขึ้นไป เพื่อเฝ้าระวังการเกิดโรคและเร่งดำเนินการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพในกลุ่มเสี่ยง
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลทุ่งมะขามมีจำนวน1,06๘๐หลังคาเรือน ประชากรทั้งสิ้น๓,612คน ประชากรกลุ่มเป้าหมายตรวจคัดกรองโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูง อายุ ๓๕ ปีขึ้นไปจำนวน ๑,๘๕0คน มีผู้ป่วยโรคเบาหวาน จำนวน๑๔๒ราย เพิ่มขึ้นจากปี ๒๕๕๘จำนวน๗ รายผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูง จำนวน๓2๘รายเพิ่มขึ้นจากปี ๒๕๕8จำนวน๗ราย(ข้อมูลพื้นฐาน รพ.สต.ทุ่งมะขาม, ๒๕๕๙) ปี ๒๕๖๐ได้ดำเนินการตรวจคัดกรองโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูง พบว่า มีผู้ที่มีอายุ ๓๕ปีขึ้นไป เข้ารับการตรวจคัดกรองเบาหวานร้อยละ 9๕.๕๒ และ เข้ารับการตรวจคัดรองความดันโลหิตสูง ร้อยละ 9๗.๑๒ซึ่งต้องได้รับการคัดกรองอย่างต่อเนื่อง อย่างน้อยปีละ 1 ครั้ง พบว่า มีกลุ่มเสี่ยงโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูง จำนวน ๑,๒๕๘คน และกลุ่มเสี่ยงที่ต้องเฝ้าระวังและเข้ารับการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพป้องกันโรคฯ จำนวน๙๕คน
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลทุ่งมะขาม จึงได้เห็นปัญหา ภาวะสุขภาพของประชาชนในพื้นที่อาจจะเกิดขึ้น ที่สามารถส่งผลกระทบต่อสุขภาพจิตใจสังคม และเศรษฐกิจในครอบครัวจึงได้จัดทำโครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมกลุ่มเสี่ยง เฝ้าระวังโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูงในชุมชน โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลทุ่งมะขาม ประจำปี 2560 ขึ้น เพื่อป้องกันและเฝ้าระวังปัญหาสุขภาพด้วยโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูงกับประชาชนพื้นที่ในโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลทุ่งมะขาม
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- เพื่อคัดกรองประชาชนที่มีความเสี่ยงโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูง
- เพื่อปรับเปลี่ยนพฤติกรรมของประชาชนที่มีความเสี่ยงจากโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูง
กิจกรรม/การดำเนินงาน
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
1,849
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
๑ ประชากรเป้าหมาย อายุ ๓๕ ปีขึ้นไป ได้รับการคัดรองโรคฯและได้รับความรู้ สามารถปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพป้องกันโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูงได้
๒ ผู้ที่ได้รับการคัดกรองฯ ที่พบว่ามีความเสี่ยงของโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูง ได้เข้ารับการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพป้องกันโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูง
๓ ขยายกิจกรรมหมู่บ้านปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพในพื้นที่ รพ.สต.ทุ่งมะขาม เพิ่มขึ้นอย่างน้อย ๑ หมู่บ้าน
๔ อัตราป่วยโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูง ของโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลทุ่งมะขามลดลง
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ ผลผลิต* ผลผลิตที่ตั้งไว้ ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง
1. ค่าถ่ายเอกสารในการคัดกรอง
วันที่ 8 มีนาคม 2560กิจกรรมที่ทำ
ถ่ายเอกสารในการคัดกรองกลุ่มเสี่ยงโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูง
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
ถ่ายเอกสารในการคัดกรองกลุ่มเสี่ยงโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูง
0
0
2. ค่าถ่ายเอกสารแผ่นพับความรู้ด้านการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพแบบหน้าหลัง
วันที่ 8 มีนาคม 2560กิจกรรมที่ทำ
แผ่นพับความรู้ด้านการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพแบบหน้าหลัง
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
แผ่นพับความรู้ด้านการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพแบบหน้าหลัง
0
0
3. ค่าอาหารว่างและค่าเครื่องดื่มสำหรับกลุ่มเสี่ยงเบาหวานความดันโลหิตสูง
วันที่ 8 มีนาคม 2560กิจกรรมที่ทำ
ค่าอาหารว่างและค่าเครื่องดื่มสำหรับกลุ่มเสี่ยงเบาหวานความดันโลหิตสูง
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
ค่าอาหารว่างและค่าเครื่องดื่มสำหรับกลุ่มเสี่ยงเบาหวานความดันโลหิตสูง
0
0
4. เข็มเจาะปลายนิ้ว จำนวน 7 กล่อง
วันที่ 31 มีนาคม 2560กิจกรรมที่ทำ
เข็มเจาะปลายนิ้ว
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
เข็มเจาะปลายนิ้ว
0
0
5. ค่าอาหารว่างและค่าเครื่องดื่มสำหรับกลุ่มเสี่ยงเบาหวานความดันโลหิตสูง
วันที่ 31 มีนาคม 2560กิจกรรมที่ทำ
ค่าอาหารว่างและค่าเครื่องดื่มสำหรับกลุ่มเสี่ยงเบาหวานความดันโลหิตสูง
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
ค่าอาหารว่างและค่าเครื่องดื่มสำหรับกลุ่มเสี่ยงเบาหวานความดันโลหิตสูง
0
0
6. แผ่นตรวจน้ำตาลในเลือด สำหรับกลุ่มเสี่ยง
วันที่ 31 มีนาคม 2560กิจกรรมที่ทำ
ตรวจน้ำตาลในเลือด สำหรับกลุ่มเสี่ยง
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
ตรวจน้ำตาลในเลือด สำหรับกลุ่มเสี่ยง
0
0
7. ค่าแผนป้ายไวนิลในการประชาสัมพันธ์โครงการ
วันที่ 18 สิงหาคม 2560กิจกรรมที่ทำ
ไวนิลประชาสัมพันธ์กิจกรรมโครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมกลุ่มเสี่ยง เฝ้าระวังโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูงในชุมชน
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
ไวนิลประชาสัมพันธ์กิจกรรมโครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมกลุ่มเสี่ยง เฝ้าระวังโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูงในชุมชน
0
0
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ประชุมชี้แจงการดำเนินกิจกรรมและอบรมการตรวจคัดกรองกลุ่มเสี่ยงโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูงแก่อาสาสมัครสาธารณสุข จำนวน 74 คน และกำหนดการลงพื้นที่ตรวจคัดกรองกลุ่มเป้าหมายโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูง อายุ 35 ปี ขึ้นไป มีผู้เข้ารับการคัดกรอง จำนวน 1,227 คน คิดเป็นร้อยละ 97.30 พบว่า มีกลุ่มเสี่ยงโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูง จำนวน 102 คน โดยนัดกลุ่มเสี่ยงเข้ารับการตรวจซ้ำเพื่อยืนยันความเสี่ยงของโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูง หลังจากดำเนินการคัดกรองได้ ลงพื้นที่เพื่อคืนข้อมูลสู่ชุมชน นัดกลุ่มเป้าหมายกลุ่มเสี่ยงเข้าร่วมกิจกรรมปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ คลินิก DPAC ด้วยหลัก 3อ 2ส ในสถานบริการอย่างน้อย เดือนละ 1 ครั้ง จำนวน 6 เดือน รณรงค์การปลูกผักปลอดสารพิษไว้รับประทานในครัวเรือน การออกกำลังกายวันละอย่างน้อยวันละ 30 นาที ดำเนินการหมู่บ้านปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ จากการดำเนินการตรวจคัดกรองฯ พบว่า มีกลุ่มเสี่ยง จำนวน 102 คน มีกลุ่มเสี่ยงเข้ารับการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ จำนวน 95 คน คิดเป็นร้อยละ 93.14 มีผู้ป่วยเบาหวาน ประจำปี 2560 จำนวน 14 คน ผู้ป่วยรายใหม่โรคความดันโลหิตสูง จำนวน 25 คน และดำเนินกิจกรรมหมู่บ้านปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพที่ได้รับการคัดเลือก ได้แก่ รณรงค์ปลูกผักปลอดสารพิษไว้บริโภคในครัวเรือน จัดกิจกรรมออกกำลังกายในชุมชนอย่างน้อยสัปดาห์ละ 5 วันๆละ อย่างน้อย 30 นาที อย่างต่อเนื่อง เกิดแหล่งเรียนรู้ชุมชนประจำหมู่บ้าน เป็นต้น พร้อมทั้งประเมินผลและสรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ สถานการณ์ เป้าหมาย ผลผลิต อธิบาย
1
เพื่อคัดกรองประชาชนที่มีความเสี่ยงโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูง
ตัวชี้วัด : 1.1 ประชาชนกลุ่มเป้าหมายได้รับการคัดกรองด้วยแบบสอบถามเบื้องต้น(verbal screening) ไม่น้อยกว่า ร้อยละ 90
1.2 ประชาชนที่มีผ่านการคัดกรองด้วย (Verbal screening) ได้รับการตรวจยืนยันด้วย(DTX Strip test)ไม่น้อยกว่าร้อยละ 90 ของกลุ่มที่มีภาวะเสี่ยงเบาหวานและความดันโลหิตสูง
97.30
ประชาชนกลุ่มเป้าหมาย อายุ 35 ปีขึ้นไป ได้รับการคัดกรองโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูง จำนวน 1,227 คน
2
เพื่อปรับเปลี่ยนพฤติกรรมของประชาชนที่มีความเสี่ยงจากโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูง
ตัวชี้วัด : 2.1 ประชาชนที่มีความเสี่ยงจากโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูงมีความรู้และพฤติกรรมเพื่อการลดภาวะเสี่ยง ร้อยละ 60 ของจำนวนประชาชนที่มีภาวะเสี่ยง
2.2 ประชาชนที่มีภาวะเสี่ยงสามารถปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจนสามารถควบคุมภาวะเสี่ยงจากโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูง
93.14
ประชากรกลุ่มเสี่ยงโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูงได้รับการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม ลดโรคด้วยหลัก 3อ 2ส จำนวน 95 คน
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด
1849
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
-
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
-
กลุ่มวัยทำงาน
-
กลุ่มผู้สูงอายุ
-
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
-
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
-
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
-
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
1,849
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
-
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อคัดกรองประชาชนที่มีความเสี่ยงโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูง (2) เพื่อปรับเปลี่ยนพฤติกรรมของประชาชนที่มีความเสี่ยงจากโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูง
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *- บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
- หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค สาเหตุ ข้อเสนอแนะ
โครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมกลุ่มเสี่ยงเฝ้าระวังโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูงในชุมชน รพ.สต.ทุ่งมะขาม จังหวัด สงขลา
รหัสโครงการ 60-L8402-1-03
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
................................
( นางสมพรชิตณรงค์ พยาบาลวิชาชีพชำนาญการ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......
โครงการ
“ โครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมกลุ่มเสี่ยงเฝ้าระวังโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูงในชุมชน รพ.สต.ทุ่งมะขาม ”
ตำบลคูหาใต้ อำเภอรัตภูมิ จังหวัดสงขลา
หัวหน้าโครงการ
นางสมพรชิตณรงค์ พยาบาลวิชาชีพชำนาญการ
กันยายน 2560
ที่อยู่ ตำบลคูหาใต้ อำเภอรัตภูมิ จังหวัดสงขลา จังหวัด สงขลา
รหัสโครงการ 60-L8402-1-03 เลขที่ข้อตกลง
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 มีนาคม 2560 ถึง 30 กันยายน 2560
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมกลุ่มเสี่ยงเฝ้าระวังโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูงในชุมชน รพ.สต.ทุ่งมะขาม จังหวัดสงขลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลคูหาใต้ อำเภอรัตภูมิ จังหวัดสงขลา
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลคูหาใต้ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมกลุ่มเสี่ยงเฝ้าระวังโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูงในชุมชน รพ.สต.ทุ่งมะขาม
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมกลุ่มเสี่ยงเฝ้าระวังโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูงในชุมชน รพ.สต.ทุ่งมะขาม " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลคูหาใต้ อำเภอรัตภูมิ จังหวัดสงขลา รหัสโครงการ 60-L8402-1-03 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 มีนาคม 2560 - 30 กันยายน 2560 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 49,500.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลคูหาใต้ เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ | » |
บทคัดย่อ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล | » |
วัตถุประสงค์โครงการ | » |
กิจกรรม/การดำเนินงาน | » |
กลุ่มเป้าหมาย | » |
ผลลัพธ์ที่ได้ | » |
การประเมินผล | » |
ปัญหาและอุปสรรค | » |
ข้อเสนอแนะ | » |
เอกสารประกอบอื่นๆ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
ปัจจุบัน ปัญหาสุขภาพของประชาชนเป็นเรื่องสำคัญที่ต้องได้รับการดูแล โดยคนไทยส่วนใหญ่ป่วยด้วย
โรคเรื้อรังหรือโรคจากวิถีชีวิตมากขึ้น เช่น โรคเบาหวาน ความดันโลหิต หัวใจ หลอดเลือดสมอง และโรคมะเร็ง จากข้อมูลการสำรวจสุขภาพประชาชนไทยโดยการตรวจร่างกาย พบว่าคนไทยอายุ ๑๕ ปีขึ้นไป ป่วยเป็นความดันโลหิตสูงถึง ๑๑.๕ ล้านคน ซึ่งได้รับการรักษาและควบคุมอาการได้ประมาณ ๑ ใน ๔ เท่านั้นยังมีผู้ที่มีความดันโลหิตสูงจำนวนมากที่ยังไม่เคยได้รับการวินิจฉัย ซึ่งกลุ่มนี้หากไม่ได้รับการดูแลจะเสี่ยงเกิดโรคแทรกซ้อนตามมาได้สูง
รายงานผลการคัดกรองโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูง ปีงบประมาณ 2559 จากการคัดกรองในประชากรอายุ 15 ปีขึ้นไป จำนวน 25,712,099 คน พบว่าเป็นกลุ่มปรกติ 18,941,875 คน กลุ่มเสี่ยงสูง 6,110,342 คน เป็นกลุ่มป่วยหรือสงสัยป่วยรายใหม่ 1,216,093 คนและจากรายงานข้อมูลกลุ่มเสี่ยงความดันโลหิตสูง ปีงบประมาณ 2559 ซึ่งป่วยความดันโลหิตสูงในปีงบประมาณ 2559 พบว่าจากกลุ่มเสี่ยง 6,932,121 คน ป่วยเป็นโรคความดันโลหิตสูง 646,344 คน คิดเป็นร้อยละ 10.21 และ จากกลุ่มปรกติ 15,891,978 คน ป่วยเป็นโรคความดันโลหิตสูง 653,533 คน คิดเป็นร้อยละ 4.11รวมป่วยเป็นโรคความดันโลหิตสูง ปี 2559 จำนวน 1,291,452 คน (ข้อมูล จาก 43 แฟ้มมาตรฐาน) จึงต้องให้หน่วยงานสาธารณสุขแต่ละพื้นที่ ช่วยกันคัดกรองกลุ่มเป้าหมาย ให้ครอบคลุมมากกว่าร้อยละ ๙๐ พร้อมประเมินผลการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ โดยทางสำนักงานธารณสุขอำเภอรัตภูมิได้เร่งรัดให้หน่วยงานสังกัด ได้แก่โรงพยาบาลส่งเสริมสุภาพตำบลทั้ง๑๑แห่ง เร่งดำเนินการตรวจคัดกรองประชากรอายุตั้งแต่๓๕ปีขึ้นไป เพื่อเฝ้าระวังการเกิดโรคและเร่งดำเนินการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพในกลุ่มเสี่ยง
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลทุ่งมะขามมีจำนวน1,06๘๐หลังคาเรือน ประชากรทั้งสิ้น๓,612คน ประชากรกลุ่มเป้าหมายตรวจคัดกรองโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูง อายุ ๓๕ ปีขึ้นไปจำนวน ๑,๘๕0คน มีผู้ป่วยโรคเบาหวาน จำนวน๑๔๒ราย เพิ่มขึ้นจากปี ๒๕๕๘จำนวน๗ รายผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูง จำนวน๓2๘รายเพิ่มขึ้นจากปี ๒๕๕8จำนวน๗ราย(ข้อมูลพื้นฐาน รพ.สต.ทุ่งมะขาม, ๒๕๕๙) ปี ๒๕๖๐ได้ดำเนินการตรวจคัดกรองโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูง พบว่า มีผู้ที่มีอายุ ๓๕ปีขึ้นไป เข้ารับการตรวจคัดกรองเบาหวานร้อยละ 9๕.๕๒ และ เข้ารับการตรวจคัดรองความดันโลหิตสูง ร้อยละ 9๗.๑๒ซึ่งต้องได้รับการคัดกรองอย่างต่อเนื่อง อย่างน้อยปีละ 1 ครั้ง พบว่า มีกลุ่มเสี่ยงโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูง จำนวน ๑,๒๕๘คน และกลุ่มเสี่ยงที่ต้องเฝ้าระวังและเข้ารับการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพป้องกันโรคฯ จำนวน๙๕คน
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลทุ่งมะขาม จึงได้เห็นปัญหา ภาวะสุขภาพของประชาชนในพื้นที่อาจจะเกิดขึ้น ที่สามารถส่งผลกระทบต่อสุขภาพจิตใจสังคม และเศรษฐกิจในครอบครัวจึงได้จัดทำโครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมกลุ่มเสี่ยง เฝ้าระวังโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูงในชุมชน โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลทุ่งมะขาม ประจำปี 2560 ขึ้น เพื่อป้องกันและเฝ้าระวังปัญหาสุขภาพด้วยโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูงกับประชาชนพื้นที่ในโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลทุ่งมะขาม
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- เพื่อคัดกรองประชาชนที่มีความเสี่ยงโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูง
- เพื่อปรับเปลี่ยนพฤติกรรมของประชาชนที่มีความเสี่ยงจากโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูง
กิจกรรม/การดำเนินงาน
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้ | |
---|---|---|
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | ||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | ||
กลุ่มวัยทำงาน | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | ||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | 1,849 | |
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] |
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
๑ ประชากรเป้าหมาย อายุ ๓๕ ปีขึ้นไป ได้รับการคัดรองโรคฯและได้รับความรู้ สามารถปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพป้องกันโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูงได้
๒ ผู้ที่ได้รับการคัดกรองฯ ที่พบว่ามีความเสี่ยงของโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูง ได้เข้ารับการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพป้องกันโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูง
๓ ขยายกิจกรรมหมู่บ้านปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพในพื้นที่ รพ.สต.ทุ่งมะขาม เพิ่มขึ้นอย่างน้อย ๑ หมู่บ้าน
๔ อัตราป่วยโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูง ของโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลทุ่งมะขามลดลง
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์** กิจกรรมของโครงการ | ผลผลิต* | |
---|---|---|
ผลผลิตที่ตั้งไว้ | ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง | |
1. ค่าถ่ายเอกสารในการคัดกรอง |
||
วันที่ 8 มีนาคม 2560กิจกรรมที่ทำถ่ายเอกสารในการคัดกรองกลุ่มเสี่ยงโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูง ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นถ่ายเอกสารในการคัดกรองกลุ่มเสี่ยงโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูง
|
0 | 0 |
2. ค่าถ่ายเอกสารแผ่นพับความรู้ด้านการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพแบบหน้าหลัง |
||
วันที่ 8 มีนาคม 2560กิจกรรมที่ทำแผ่นพับความรู้ด้านการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพแบบหน้าหลัง ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นแผ่นพับความรู้ด้านการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพแบบหน้าหลัง
|
0 | 0 |
3. ค่าอาหารว่างและค่าเครื่องดื่มสำหรับกลุ่มเสี่ยงเบาหวานความดันโลหิตสูง |
||
วันที่ 8 มีนาคม 2560กิจกรรมที่ทำค่าอาหารว่างและค่าเครื่องดื่มสำหรับกลุ่มเสี่ยงเบาหวานความดันโลหิตสูง ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นค่าอาหารว่างและค่าเครื่องดื่มสำหรับกลุ่มเสี่ยงเบาหวานความดันโลหิตสูง
|
0 | 0 |
4. เข็มเจาะปลายนิ้ว จำนวน 7 กล่อง |
||
วันที่ 31 มีนาคม 2560กิจกรรมที่ทำเข็มเจาะปลายนิ้ว ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นเข็มเจาะปลายนิ้ว
|
0 | 0 |
5. ค่าอาหารว่างและค่าเครื่องดื่มสำหรับกลุ่มเสี่ยงเบาหวานความดันโลหิตสูง |
||
วันที่ 31 มีนาคม 2560กิจกรรมที่ทำค่าอาหารว่างและค่าเครื่องดื่มสำหรับกลุ่มเสี่ยงเบาหวานความดันโลหิตสูง ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นค่าอาหารว่างและค่าเครื่องดื่มสำหรับกลุ่มเสี่ยงเบาหวานความดันโลหิตสูง
|
0 | 0 |
6. แผ่นตรวจน้ำตาลในเลือด สำหรับกลุ่มเสี่ยง |
||
วันที่ 31 มีนาคม 2560กิจกรรมที่ทำตรวจน้ำตาลในเลือด สำหรับกลุ่มเสี่ยง ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นตรวจน้ำตาลในเลือด สำหรับกลุ่มเสี่ยง
|
0 | 0 |
7. ค่าแผนป้ายไวนิลในการประชาสัมพันธ์โครงการ |
||
วันที่ 18 สิงหาคม 2560กิจกรรมที่ทำไวนิลประชาสัมพันธ์กิจกรรมโครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมกลุ่มเสี่ยง เฝ้าระวังโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูงในชุมชน ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นไวนิลประชาสัมพันธ์กิจกรรมโครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมกลุ่มเสี่ยง เฝ้าระวังโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูงในชุมชน
|
0 | 0 |
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ประชุมชี้แจงการดำเนินกิจกรรมและอบรมการตรวจคัดกรองกลุ่มเสี่ยงโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูงแก่อาสาสมัครสาธารณสุข จำนวน 74 คน และกำหนดการลงพื้นที่ตรวจคัดกรองกลุ่มเป้าหมายโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูง อายุ 35 ปี ขึ้นไป มีผู้เข้ารับการคัดกรอง จำนวน 1,227 คน คิดเป็นร้อยละ 97.30 พบว่า มีกลุ่มเสี่ยงโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูง จำนวน 102 คน โดยนัดกลุ่มเสี่ยงเข้ารับการตรวจซ้ำเพื่อยืนยันความเสี่ยงของโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูง หลังจากดำเนินการคัดกรองได้ ลงพื้นที่เพื่อคืนข้อมูลสู่ชุมชน นัดกลุ่มเป้าหมายกลุ่มเสี่ยงเข้าร่วมกิจกรรมปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ คลินิก DPAC ด้วยหลัก 3อ 2ส ในสถานบริการอย่างน้อย เดือนละ 1 ครั้ง จำนวน 6 เดือน รณรงค์การปลูกผักปลอดสารพิษไว้รับประทานในครัวเรือน การออกกำลังกายวันละอย่างน้อยวันละ 30 นาที ดำเนินการหมู่บ้านปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ จากการดำเนินการตรวจคัดกรองฯ พบว่า มีกลุ่มเสี่ยง จำนวน 102 คน มีกลุ่มเสี่ยงเข้ารับการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ จำนวน 95 คน คิดเป็นร้อยละ 93.14 มีผู้ป่วยเบาหวาน ประจำปี 2560 จำนวน 14 คน ผู้ป่วยรายใหม่โรคความดันโลหิตสูง จำนวน 25 คน และดำเนินกิจกรรมหมู่บ้านปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพที่ได้รับการคัดเลือก ได้แก่ รณรงค์ปลูกผักปลอดสารพิษไว้บริโภคในครัวเรือน จัดกิจกรรมออกกำลังกายในชุมชนอย่างน้อยสัปดาห์ละ 5 วันๆละ อย่างน้อย 30 นาที อย่างต่อเนื่อง เกิดแหล่งเรียนรู้ชุมชนประจำหมู่บ้าน เป็นต้น พร้อมทั้งประเมินผลและสรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ | สถานการณ์ | เป้าหมาย | ผลผลิต | อธิบาย | |
---|---|---|---|---|---|
1 | เพื่อคัดกรองประชาชนที่มีความเสี่ยงโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูง ตัวชี้วัด : 1.1 ประชาชนกลุ่มเป้าหมายได้รับการคัดกรองด้วยแบบสอบถามเบื้องต้น(verbal screening) ไม่น้อยกว่า ร้อยละ 90 1.2 ประชาชนที่มีผ่านการคัดกรองด้วย (Verbal screening) ได้รับการตรวจยืนยันด้วย(DTX Strip test)ไม่น้อยกว่าร้อยละ 90 ของกลุ่มที่มีภาวะเสี่ยงเบาหวานและความดันโลหิตสูง |
97.30 | ประชาชนกลุ่มเป้าหมาย อายุ 35 ปีขึ้นไป ได้รับการคัดกรองโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูง จำนวน 1,227 คน |
||
2 | เพื่อปรับเปลี่ยนพฤติกรรมของประชาชนที่มีความเสี่ยงจากโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูง ตัวชี้วัด : 2.1 ประชาชนที่มีความเสี่ยงจากโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูงมีความรู้และพฤติกรรมเพื่อการลดภาวะเสี่ยง ร้อยละ 60 ของจำนวนประชาชนที่มีภาวะเสี่ยง 2.2 ประชาชนที่มีภาวะเสี่ยงสามารถปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจนสามารถควบคุมภาวะเสี่ยงจากโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูง |
93.14 | ประชากรกลุ่มเสี่ยงโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูงได้รับการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม ลดโรคด้วยหลัก 3อ 2ส จำนวน 95 คน |
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
---|---|---|---|
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด | 1849 | ||
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | |||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | - | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | - | ||
กลุ่มวัยทำงาน | - | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | - | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | |||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | - | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | - | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | - | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | 1,849 | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] | - |
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อคัดกรองประชาชนที่มีความเสี่ยงโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูง (2) เพื่อปรับเปลี่ยนพฤติกรรมของประชาชนที่มีความเสี่ยงจากโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูง
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค | สาเหตุ | ข้อเสนอแนะ |
---|---|---|
|
|
|
โครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมกลุ่มเสี่ยงเฝ้าระวังโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูงในชุมชน รพ.สต.ทุ่งมะขาม จังหวัด สงขลา
รหัสโครงการ 60-L8402-1-03
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
( นางสมพรชิตณรงค์ พยาบาลวิชาชีพชำนาญการ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......