กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์


โครงการ
“ โครงการเด็กลางา ยุคใหม่ สมวัยสมส่วน ประจำปีงบประมาณ 2562 ”
หมู่ 7 บ้านทุ่งใหญ่ ตำบลบ้านนา อำเภอจะนะ จังหวัดสงขลา



หัวหน้าโครงการ
นายเปารี ด่าโอะ




ชื่อโครงการ โครงการเด็กลางา ยุคใหม่ สมวัยสมส่วน ประจำปีงบประมาณ 2562

ที่อยู่ หมู่ 7 บ้านทุ่งใหญ่ ตำบลบ้านนา อำเภอจะนะ จังหวัดสงขลา จังหวัด สงขลา

รหัสโครงการ 62-L5184-2-10 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 2 มกราคม 2562 ถึง 30 กันยายน 2562

กิตติกรรมประกาศ

"โครงการเด็กลางา ยุคใหม่ สมวัยสมส่วน ประจำปีงบประมาณ 2562 จังหวัดสงขลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน หมู่ 7 บ้านทุ่งใหญ่ ตำบลบ้านนา อำเภอจะนะ จังหวัดสงขลา

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพเทศบาลตำบลบ้านนา ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการเด็กลางา ยุคใหม่ สมวัยสมส่วน ประจำปีงบประมาณ 2562



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการเด็กลางา ยุคใหม่ สมวัยสมส่วน ประจำปีงบประมาณ 2562 " ดำเนินการในพื้นที่ หมู่ 7 บ้านทุ่งใหญ่ ตำบลบ้านนา อำเภอจะนะ จังหวัดสงขลา รหัสโครงการ 62-L5184-2-10 ระยะเวลาการดำเนินงาน 2 มกราคม 2562 - 30 กันยายน 2562 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 12,200.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพเทศบาลตำบลบ้านนา เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

ภาวะทุพโภชนาการ หมายถึง ภาวะที่ร่างกายได้รับสารเบี่ยงเบนไปจากปกติ ทั้งการขาดสารอาหารและการได้รับสารอาหารเกิน เด็กปฐมวัย (อายุ 0 – 72 เดือน) เป็นวัยที่สำคัญที่สุดของชีวิตมนุษย์ เป็นวัยที่มีการเจริญเติบโตและพัฒนาการเร็วมากทำให้ร่างกายมีการเปลี่ยนแปลงอยู่เสมอ และเป็นวัยที่มีความเสี่ยงต่อการเป็นโรคขาดสารอาหาร การขาดสารอาหารอาจเกิดจากการได้รับสารอาหารน้อยกว่าปกติ หรือเนื่องจากความบกพร่องจากการกิน การย่อย การดูดซึม ซึ่งผลเสียจากการขาดสารอาหารทำให้เด็กมีการพัฒนาการสมองได้น้อย สติปัญญาต่ำ การเรียนรู้ช้า สำหรับผลกระทบทางร่างกายภายนอกที่มองเห็นได้ คือ เด็กจะมีรูปร่างเตี้ย เล็ก ซูบผอม ผิวหนังเหี่ยวย่น นอกจากนี้อวัยวะภายในต่างๆก็ได้รับผลกระทบเช่นกัน ทั้งหัวใจ ตับ ไตและกล้ามเนื้อ ส่วนในรายที่ได้รับอาหารมากเกินความต้องการ พลังงานส่วนเกินก็จะแปลงไปเป็นโคเลสเตอรอล เกาะจับแน่นอยู่ตามส่วนต่างๆ ของร่างกาย และอาจลุกลามเข้าสู่เส้นเลือด ผลที่ตามมาก็คือ โรคอ้วน โรคเบาหวาน โรคหัวใจ และโรคต่างๆ ผลการวิเคราะห์ข้อมูลจากรายงานโภชนาการเด็กอายุ 0 – 72 เดือน ในพื้นที่ หมู่ที่ 7 บ้านลางา อ.จะนะ จ.สงขลา งวดที่ 2 (ม.ค-มี.ค) ปี 2560 พบว่าเด็กชั่งน้ำหนักทั้งหมด 40 คน มีภาวะทุพโภชนาการ 12 คน คิดเป็นร้อยละ 30 (ภาวะโภชนาการต่ำ 9 คน,ภาวะโภชนาการเกิน 3 คน) งวดที่ 2 (ม.ค-มี.ค) ปี 2561 เด็กชั่งน้ำหนักทั้งหมด 41 คน มีภาวะทุพโภชนการ 14 คน คิดเป็นร้อยละ 41.46 (ภาวะโภชนการต่ำ 7 คน,ภาวะโภชนาการเกิน 10 คน) ซึ่งจะเห็นว่าเด็กมีภาวะทุพโภชนการเพิ่มขึ้นส่วนในปีงบประมาณ 2562 เดือนตุลาคม เด็กอายุ 0-72 เดือน ชั่งน้ำหนักทั้งหมด 25 คนมีภาวะทุพโภชนาการ 8 คน คิดเป็นร้อยละ 32 (ภาวะโภชนาการต่ำ 4 คน,ภาวะโภชนาการเกิน 4 คน)

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. 1.เพื่อให้ผู้ปกครองเด็กอายุ 0-72 เดือน มีความรู้เรื่องโภชนาการ และตระหนักถึงความสำคัญของการเฝ้าระวังภาวะโภชนาการ
  2. 2.เพื่อให้เด็กอายุ 0-72 เดือน มีภาวะโภชนาการอยู่ในเกณฑ์ปกติ

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. จัดอบรมให้ความรู้แก่ผู้ปกครองเด็กอายุ 0-72 เดือน รวมทั้งเสริมนมจืดให้แก่เด็กที่มีภาวะโภชนาการต่ำกว่าเกณฑ์

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน 50
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

-ผู้ปกครองเด็กอายุ 0 – 72 เดือน มีความรู้เรื่องโภชนาการ และตระหนักถึงความสำคัญของการเฝ้าระวังภาวะโภชนาการ -เด็ก 0 – 72 เดือน ที่มีภาวะทุพโภชนาการได้รับการแก้ไขจนมีน้ำหนักส่วนสูงและรูปร่างอยู่ใน เกณฑ์ปกติ


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. จัดอบรมให้ความรู้แก่ผู้ปกครองเด็กอายุ 0-72 เดือน รวมทั้งเสริมนมจืดให้แก่เด็กที่มีภาวะโภชนาการต่ำกว่าเกณฑ์

วันที่ 19 กันยายน 2562

กิจกรรมที่ทำ

1.สำรวจข้อมูลลและจัดทำทะเบียนประชากรกลุ่มเป้าหมาย 2.ดำเนินการติดตามภาวะโภชนาการ โดยการชั่งน้ำหนัก วัดส่วนสูง วัดรอบศรีษะ เด็กอายุ 0-72 เดือน ในพื้นที่ทุก 3 เดือน 3.จัดอบรมให้ความรู้แก่ผู้ปกครองของเด็กที่มีภาวะทุพโภชนาการต่ำกว่าเกณฑ์ พร้อมมอบนมเพื่อเสริมสร้างภาวะทุพโภชนาการแก่เด็กอายุ 6-72เดือน (ไม่ให้ต่ำกว่า 6 เดือน เนื่องจากเด็กจะต้องกินนมแม่อย่างเดียว)

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

จากการจัดอบรมผู้ปกครองให้ความร่วมมือเป็นอย่างดี รวมทั้งได้รับความรู้เรื่องภาวะโภชนาการ และการบริโภคอาหารที่มีประโยชน์ตามวัย

 

30 0

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

การดำเนินโครงการได้รับความร่วมมือจากผู้ปกครองเป็นอย่างดี เนื่องจากผู้ปกครองได้รับความรู้เรื่องภาวะโภชนาการ และการบริโภคอาหารที่มีประโยชน์ตามวัย อีกทั้งสามารถนำไปปฏิบัติได้

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 1.เพื่อให้ผู้ปกครองเด็กอายุ 0-72 เดือน มีความรู้เรื่องโภชนาการ และตระหนักถึงความสำคัญของการเฝ้าระวังภาวะโภชนาการ
ตัวชี้วัด : ผู้ปกครองเด็กอายุ 0-72 เดือน มีความรู้เรื่องโภชนาการไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
0.00

 

2 2.เพื่อให้เด็กอายุ 0-72 เดือน มีภาวะโภชนาการอยู่ในเกณฑ์ปกติ
ตัวชี้วัด : เด็กอายุ 0-72 เดือน มีภาวะทุพโภชนาการไม่เกิน ร้อยละ 30
0.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 50 39
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน 50 39
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1.เพื่อให้ผู้ปกครองเด็กอายุ 0-72 เดือน มีความรู้เรื่องโภชนาการ และตระหนักถึงความสำคัญของการเฝ้าระวังภาวะโภชนาการ (2) 2.เพื่อให้เด็กอายุ 0-72 เดือน มีภาวะโภชนาการอยู่ในเกณฑ์ปกติ

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) จัดอบรมให้ความรู้แก่ผู้ปกครองเด็กอายุ 0-72 เดือน รวมทั้งเสริมนมจืดให้แก่เด็กที่มีภาวะโภชนาการต่ำกว่าเกณฑ์

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการเด็กลางา ยุคใหม่ สมวัยสมส่วน ประจำปีงบประมาณ 2562 จังหวัด สงขลา

รหัสโครงการ 62-L5184-2-10

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นายเปารี ด่าโอะ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด