กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.โคกเคียน


“ โครงการส่งเสริม ป้องกันทันตสุขภาพตามกลุ่มวัย รพ.สต.โคกเคียน อำเภอเมืองนราธิวาส ปี 2562 ”

ตำบลโคกเคียน อำเภอเมืองนราธิวาส จังหวัดนราธิวาส

หัวหน้าโครงการ
นายพิรัช ตั้งผดุงวงค์

ชื่อโครงการ โครงการส่งเสริม ป้องกันทันตสุขภาพตามกลุ่มวัย รพ.สต.โคกเคียน อำเภอเมืองนราธิวาส ปี 2562

ที่อยู่ ตำบลโคกเคียน อำเภอเมืองนราธิวาส จังหวัดนราธิวาส จังหวัด นราธิวาส

รหัสโครงการ 62-L2492-1-27 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ ถึง


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการส่งเสริม ป้องกันทันตสุขภาพตามกลุ่มวัย รพ.สต.โคกเคียน อำเภอเมืองนราธิวาส ปี 2562 จังหวัดนราธิวาส" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลโคกเคียน อำเภอเมืองนราธิวาส จังหวัดนราธิวาส

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.โคกเคียน ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการส่งเสริม ป้องกันทันตสุขภาพตามกลุ่มวัย รพ.สต.โคกเคียน อำเภอเมืองนราธิวาส ปี 2562



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการส่งเสริม ป้องกันทันตสุขภาพตามกลุ่มวัย รพ.สต.โคกเคียน อำเภอเมืองนราธิวาส ปี 2562 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลโคกเคียน อำเภอเมืองนราธิวาส จังหวัดนราธิวาส รหัสโครงการ 62-L2492-1-27 ระยะเวลาการดำเนินงาน ยังไม่ระบุ - (ยังไม่ระบุ) ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 52,400.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.โคกเคียน เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

สุขภาพช่องปากเป็นส่วนหนึ่งของการมีสุขภาพดี ช่วยเสริมคุณภาพชีวิต เพราะปัญหาสุขภาพช่องปาก  จะส่งผลต่อระบบอื่นๆของร่างกาย ดังนั้นจำเป็นที่ต้องดูแลสุขภาพในช่องปากประชาชนให้ปราศจากโรคฟันผุและเหงือกอักเสบ ซึ่งในปัจจุบันแนวคิดการดูแลช่องปาก มิใช่การกำจัดโรคอย่างเดียวเท่านั้น แต่จะต้องดูแลสุขภาพช่องปากให้ดีตั้งแต่แรกเริ่มและคงสภาพที่ดีไว้ ปัญหาทันตสาธารณสุขที่สำคัญของจังหวัดนราธิวาส คือ โรคฟันผุ เป็นปัญหาที่เกิดขึ้นในทุกกลุ่มอายุของประชาชนชาวจังหวัดนราธิวาส โดยเฉพาะในกลุ่มเด็กปฐมวัยและในกลุ่มเด็กวัยเรียน จากผลการสำรวจสถานการณ์ทันตสุขภาพในเด็กกลุ่มอายุ ๓ ปีและ ๑๒ ปี ของจังหวัดนราธิวาส ปี ๒๕๖๑ พบว่าเด็กอายุ ๓ ปี    มีอัตราการเกิดโรคฟันผุในฟันน้ำนม ร้อยละ ๖๙.๑๘ และในเด็กอายุ ๑๒ ปี มีอัตราการเกิดโรคฟันผุในฟันแท้ ร้อยละ ๖๔.๕๐ สำหรับในกลุ่มผู้สูงอายุ มีฟัน ๔ คู่สบ ร้อยละ ๖๑.๕๗ผลจากการสำรวจสถานการณ์ทันตสุขภาพในเด็กกลุ่มอายุ ๓ ปีและ ๑๒ ปี ของ รพ.สต. โคกเคียน  ปี ๒๕๖๑ พบว่าเด็กอายุ ๓ ปี มีอัตราการเกิดโรคฟันผุในฟันน้ำนม ร้อยละ ๕๓.๓๓ และในเด็กอายุ ๑๒ ปี มีอัตราการเกิดโรคฟันผุในฟันแท้ ร้อยละ ๕๓.๓๒ ปี สำหรับในกลุ่มผู้สูงอายุ มีฟัน ๔ คู่สบ ร้อยละ ๖๘.๓๓ การแก้ไขปัญหาทันตสาธารณสุขจึงต้องกำหนดพัฒนางานทันตสาธารณสุขโดยให้กิจกรรมที่ดำเนินการสอดคล้องกับสาเหตุ ครอบคลุม กลุ่มเป้าหมายด้วยการผสมผสานทั้งการสร้างเสริมป้องกันทันตสุขภาพและรักษาทางทันตกรรม

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. กลุ่มหญิงตั้งครรภ์ ข้อที่ ๑. หญิงตั้งครรภ์รายใหม่ได้รับการตรวจสุขภาพช่องปากและให้ทันตสุขศึกษา ข้อที่ 2. หญิงตั้งครรภ์ทีมีปัญหาสุขภาพช่องปากได้รับบริการทันตกรรมตามความจำเป็น ข้อที่ 3. หญิงหลังคลอดได้รับการเยี่ยมหลังคลอดและได้ฝึกทักษะการทำความสะอาดช่องปากเด็กแรกเกิด
  2. กลุ่มเด็กอายุ ๐-๕ ปี (กลุ่มผู้ปกครอง) เด็กอายุ ๓ ปี มีฟันน้ำนมผุลดลง
  3. กลุ่มเด็กวัยเรียน เด็กอายุ ๑๒ ปี มีฟันแท้ผุลดลง

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. กิจกรรมอบรมเชิงปฏิบัติการในการดูแลทันตสุขภาพช่องปากให้กับหญิงตั้งครรภ์ ๕๐ คน
  2. กิจกรรมอบรมเชิงปฏิบัติการในการดูแลทันตสุขภาพช่องปากเด็ก ๐ - ๕ ปี แก่ผู้ปกครอง( ๑๐๐ คน)
  3. กิจกรรม อบรมเชิงปฏิบัติการแกนนำสุขภาพนักเรียน ( ๒ วัน )(รวม ๑๐๐ คน)

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

๑. หญิงตั้งครรภ์มีความรู้ความเข้าใจ ทัศนคติที่ดีและปรับเปลี่ยนพฤติกรรมในการดูแลสุขภาพช่องปากของตนเองและบุตร

๒. เด็กปฐมวัยที่มีฟันผุระยะเริ่มแรกลดลงหลังได้รับการทาฟลูออไรด์วานิชและผู้ปกครองมีความรู้ในการดูแลสุขภาพช่องปากของบุตรมากขึ้น

๓. เด็กนักเรียนมีสุขภาพช่องปากที่ดีขึ้นและปราศจากโรคฟันผุเพิ่มมากขึ้น

๔. กลุ่มวัยทำงานได้รับการตรวจสุขภาพช่องปากและได้รับบริการทันตกรรมเพิ่มมากขึ้น

๕. ผู้สูงอายุได้รับการตรวจสุขภาพช่องปากและเข้าถึงบริการมากขึ้น

๖. เกิดการพัฒนาและมีการจัดบริการส่งเสริม ป้องกันในระบบบริการปฐมภูมิ ในภาคีเครือข่าย    เด็กปฐมวัยและวัยเรียนโรคฟันผุลดลง ประชาชนทุกกลุ่มวัยได้รับการดูแลอย่างต่อเนื่องและมีคุณภาพชีวิตที่ดี


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 กลุ่มหญิงตั้งครรภ์ ข้อที่ ๑. หญิงตั้งครรภ์รายใหม่ได้รับการตรวจสุขภาพช่องปากและให้ทันตสุขศึกษา ข้อที่ 2. หญิงตั้งครรภ์ทีมีปัญหาสุขภาพช่องปากได้รับบริการทันตกรรมตามความจำเป็น ข้อที่ 3. หญิงหลังคลอดได้รับการเยี่ยมหลังคลอดและได้ฝึกทักษะการทำความสะอาดช่องปากเด็กแรกเกิด
ตัวชี้วัด : 1……ร้อยละ ๙๘………… 2……ร้อยละ ๔๕……….. 3………ร้อยละ ๗๐……..
1.00

 

2 กลุ่มเด็กอายุ ๐-๕ ปี (กลุ่มผู้ปกครอง) เด็กอายุ ๓ ปี มีฟันน้ำนมผุลดลง
ตัวชี้วัด : เด็ก ๓ ปี มีฟันผุ ไม่เกินร้อยละ๖๖
66.00

 

3 กลุ่มเด็กวัยเรียน เด็กอายุ ๑๒ ปี มีฟันแท้ผุลดลง
ตัวชี้วัด : เด็กอายุ ๑๒ ปี ไม่เกินร้อยละ๖๒
62.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 0
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) กลุ่มหญิงตั้งครรภ์ ข้อที่ ๑. หญิงตั้งครรภ์รายใหม่ได้รับการตรวจสุขภาพช่องปากและให้ทันตสุขศึกษา ข้อที่ 2. หญิงตั้งครรภ์ทีมีปัญหาสุขภาพช่องปากได้รับบริการทันตกรรมตามความจำเป็น ข้อที่ 3. หญิงหลังคลอดได้รับการเยี่ยมหลังคลอดและได้ฝึกทักษะการทำความสะอาดช่องปากเด็กแรกเกิด (2) กลุ่มเด็กอายุ ๐-๕ ปี (กลุ่มผู้ปกครอง) เด็กอายุ ๓ ปี มีฟันน้ำนมผุลดลง (3) กลุ่มเด็กวัยเรียน เด็กอายุ ๑๒ ปี มีฟันแท้ผุลดลง

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) กิจกรรมอบรมเชิงปฏิบัติการในการดูแลทันตสุขภาพช่องปากให้กับหญิงตั้งครรภ์  ๕๐ คน (2) กิจกรรมอบรมเชิงปฏิบัติการในการดูแลทันตสุขภาพช่องปากเด็ก ๐ - ๕ ปี แก่ผู้ปกครอง( ๑๐๐ คน) (3) กิจกรรม อบรมเชิงปฏิบัติการแกนนำสุขภาพนักเรียน ( ๒ วัน )(รวม  ๑๐๐  คน)

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการส่งเสริม ป้องกันทันตสุขภาพตามกลุ่มวัย รพ.สต.โคกเคียน อำเภอเมืองนราธิวาส ปี 2562 จังหวัด นราธิวาส

รหัสโครงการ 62-L2492-1-27

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นายพิรัช ตั้งผดุงวงค์ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด