กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ละงู


“ โครงการลูกรักฟันดี เริ่มที่ผู้ปกครอง ปีงบประมาณ 2562 ”

ตำบลละงู อำเภอละงู จังหวัดสตูล

หัวหน้าโครงการ
นางสาวกูวรรณ์นิสา สตอหลง

ชื่อโครงการ โครงการลูกรักฟันดี เริ่มที่ผู้ปกครอง ปีงบประมาณ 2562

ที่อยู่ ตำบลละงู อำเภอละงู จังหวัดสตูล จังหวัด สตูล

รหัสโครงการ 62-L5313-01-12 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 พฤษภาคม 2562 ถึง 30 กันยายน 2562


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการลูกรักฟันดี เริ่มที่ผู้ปกครอง ปีงบประมาณ 2562 จังหวัดสตูล" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลละงู อำเภอละงู จังหวัดสตูล

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ละงู ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการลูกรักฟันดี เริ่มที่ผู้ปกครอง ปีงบประมาณ 2562



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการลูกรักฟันดี เริ่มที่ผู้ปกครอง ปีงบประมาณ 2562 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลละงู อำเภอละงู จังหวัดสตูล รหัสโครงการ 62-L5313-01-12 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 พฤษภาคม 2562 - 30 กันยายน 2562 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 25,300.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ละงู เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

โรคและความผิดปกติในช่องปากของเด็กเล็กมีหลายประการ แต่ปัญหาที่ชัดเจนที่สุดคือโรคฟันผุ ซึ่งโรคฟันผุเกิด จากแบคทีเรียที่อาศัยอยู่ในช่องปากร่วมกับเศษอาหารและน้ำลาย สะสมเป็นคราบขี้ฟันหรือคราบแบคทีเรีย ซึ่งมีลักษณะ เหนียวเกาะติดแน่นอยู่ตามผิวฟัน ไม่สามารถหลุดออกจากการบ้วนน้ำหรือการเช็ดเพียงอย่างเดียว จําเป็นต้องแปรงฟัน และใช้ไหมขัดฟันเพื่อกําจัดเชื้อโรคเหล่านี้ แบคทีเรียเหล่านี้สามารถเปลี่ยนน้ำตาลและแป้งให้เป็นกรดที่มีฤทธิ์ทําลายผิว ฟันจนเกิดเป็นรูเล็กๆ เมื่อรูเล็กๆ ขยายใหญ่ขึ้น เด็กจะเริ่มมีอาการเสียวฟัน และปวดฟันได้ ประเทศไทยพบว่าโรคฟันผุ ในเด็กเล็กยังคงเพิ่มขึ้น โดยเฉพาะเด็กในเขตชนบท ซึ่งเริ่มมีฟันผุตั้งแต่อายุ ๔ เดือน และปัจจุบันพบว่าเด็กอายุ ๒ ปีฟันผุ มากถึงร้อยละ ๕๒ เฉลี่ย ๓ ซี่ต่อคน เด็กเป็นโรคฟันผุตั้งแต่ก่อนอายุ 5 ขวบ และเพิ่มขึ้นอย่างรวดเร็วมากในช่วงเด็ก อายุ 6-7 ขวบ และการที่เด็กมีฟันพุผู้ใหญ่กลับคิดว่าเป็นเรื่องธรรมดา แต่จริงแล้วฟันผุเป็นเรื่องอันตราย เพราะเด็กมีภูมิต้านทานน้อย แม้จะไม่อันตรายถึงแก่ชีวิตแต่ก็ทําให้เด็กเจ็บปวดทรมานและเสียสุขภาพ
จากการสํารวจของสํานักทันตสาธารณสุข ในปี พ.ศ. ๒๕61 พบว่าเด็กอายุ 1 ขวบครึ่งถึง 7 ขวบ มีผู้ปกครอง แปรงฟันให้เพียงร้อยละ ๒๓ นอกจากนี้มีการศึกษาที่รายงานว่า พ่อแม่ถึงร้อยละ ๕๔ ยอมรับว่าตนเองมีปัญหาไม่ สามารถแปรงฟันให้เด็กได้ไม่ดีหรือไม่ได้แปรงเลย สาเหตุมีทั้งเด็กไม่ยอม แปรงไม่เป็นเพราะไม่เคยแปรง หรือไม่กล้า แปรงฟันให้เพราะกลัวเด็กเจ็บ การแปรงฟันแม้จะเป็นเรื่องชีวิตประจําวันพื้นๆ แต่มีความสําคัญมาก เพราะการแปรงฟัน เป็นการรักษาสุขอนามัยช่องปากและป้องกันโรคในช่องปากได้อย่างง่าย และได้ผลดีที่สุด ผู้ปกครองควรแปรงฟันให้เด็ก ตั้งแต่ฟันน้ำนมซี่แรกเริ่มขึ้นและต่อเนื่องจนกว่าเด็กจะแปรงฟันได้เอง วันละ ๒ ครั้ง เช้า-เย็น โดยใช้ยาสีฟันผสมฟลูออไรด์ บีบเล็กน้อยพอชื้นที่ปลายขนแปรง จะช่วยลดโอกาสฟันผุได้ถึงร้อยละ 1๕-๓๐ เพราะการแปรงฟันด้วยยาสีพื้นผสมฟลูออไรด์เป็นกลวิธีการส่งเสริมสุขภาพช่องปากที่สําคัญที่สุด จากการปฏิบัติงานทางด้านทันตสาธารณสุขที่ผ่านมา พบว่าในเขต รพ.สต.ละงู เด็กอายุต่ำกว่า 3 ปีมีฟันผุ เพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่อง โดยปี ๒๕๖๐ ถึง ๒๕61 พบว่าเด็กในเขต รพ.สต.ละงูมีอัตราโรคฟันผุ ร้อยละ ๕๖.๒๕ และร้อยละ 8๒.61 ตามลําดับ และมีผู้ปกครองบางส่วนยังใช้ผ้าเช็ดทําความสะอาดฟันให้ลูก ซึ่งการใช้วิธีดังกล่าวจะทําให้เด็กฟันผุ ได้ง่าย เพราะฟันไม่ได้รับฟลูออไรด์ และมีเชื้อแบคทีเรียอยู่ในช่องปาก โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตําบลละงู ได้เห็น ความสําคัญของปัญหาดังกล่าวจึงจัดทําโครงการลูกรักฟันดี เริ่มที่ผู้ปกครอง ปีงบประมาณ ๒๕๖๒ ขึ้น โดยมีเป้าหมาย หลักคือเพื่อให้ผู้ปกครองเด็กมีความรู้ในการดูแลสุขภาพช่องปากของเด็ก สามารถแปรงฟันอย่างถูกวิธีให้เด็กได้ มี ทัศนคติที่ดีทางด้านทันตกรรม ตลอดจนเด็กในเขตตําบลละงูมีอัตราฟันผุลดลง

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. 1.ผู้ปกครองมีความรู้และทัศนคติที่ดีเกี่ยวกับทันตสุขภาพในเด็ก 5.เพื่อให้อสม.เข้ามามีส่วนร่วมในการดูแลสุขภาพช่องปากของเด็กก่อนปฐมวัย
  2. 2.ผุ้ปกครองสามารถทำความสะอาดช่องปากของเด็กได้อย่างถูกต้อง
  3. 3.เพื่อลดอัตราฟันผุในเด็กก่อนปฐมวัย
  4. 4.เพื่อให้เด็กได้รับบริการทางทันตกรรม และได้เคลือบฟลูออไรด์วานิชทุกคน
  5. 5.เพื่อให้อสม.เข้ามามีส่วนร่วมในการดูแลสุขภาพช่องปากของเด็กก่อนปฐมวัย

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. กิจกรรมอบรมเชิงปฏิบัติการเรื่องโรคในช่องปาก การดูแลช่องปากและภาวะแทรกซ้อนให้แก่ผู้ปกครองเด็ก อายุ 0-2 ปี
  2. กิจกรรมอบรมเชิงปฏิบัติการเรื่องโรคฟันในช่องปาก การดูแลช่องปากและภาวะแทรกซ้อนให้แกแกนนำอสม.ด้านทันตสาธารณสุข
  3. กิจกรรมเจ้าหน้าที่ออกตรวจฟันเด็กได้รับการฝึกแปรงฟัน ทุก3เดือน เพื่อติดตามและเฝ้าระวังการเกิดโรคฟันผุในเด็ก

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน 120
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน 120
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

1.ผู้ปกครองของเด็กมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับการดูแลสุขภาพในช่องปาก และสามารถนำความรู้ที่ได้รับไปใช้ในการดูแลสุขภาพของเด็กและรอบข้างได้อย่างมีคุณภาพ ตลอดจนให้ความสำคัญและมีทัศนิที่ดีในด้านทันตกรรม 2.แกนนำอสม.มีความรู้ ความเข้าใจในการดูแลสุขภาพช่องปากของเด็กก่อนปฐมวัย


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. กิจกรรมอบรมเชิงปฏิบัติการเรื่องโรคฟันในช่องปาก การดูแลช่องปากและภาวะแทรกซ้อนให้แกแกนนำอสม.ด้านทันตสาธารณสุข

วันที่ 22 สิงหาคม 2562

กิจกรรมที่ทำ

ดำเนินการอบรมให้ความรู้แก่ อสม.

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ผู้เข้าร่วมอบรมมีความรู้ความเข้าใจ

 

20 0

2. กิจกรรมอบรมเชิงปฏิบัติการเรื่องโรคในช่องปาก การดูแลช่องปากและภาวะแทรกซ้อนให้แก่ผู้ปกครองเด็ก อายุ 0-2 ปี

วันที่ 2 กันยายน 2562

กิจกรรมที่ทำ

อบรมการดูแลช่องปากและฝึกแปรงฟันแบบลงมือปฏิบัติ วันละ 1 หมู่บ้าน จำนวน 5 หมู่บ้าน ทั้งหมดจำนวน 5 วัน

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ผู้เข้าร่วมมีความรู้ความเข้าใจ

 

120 0

3. กิจกรรมเจ้าหน้าที่ออกตรวจฟันเด็กได้รับการฝึกแปรงฟัน ทุก3เดือน เพื่อติดตามและเฝ้าระวังการเกิดโรคฟันผุในเด็ก

วันที่ 27 กันยายน 2562

กิจกรรมที่ทำ

ติดตามสุขภาพช่องปากกลุ่มเป้าหมาย

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ประเมินสุขภาพช่องปากผู้เข้าร่วมโครงการ

 

20 0

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

ผู้ปกครองและเด็กมีความรู้และทัศนคติที่ดีขึ้นเกี่ยวกับทันตสุขภาพฟันและการดูแลช่องปากเด็ก เด็ก 0-3 ปี มีสุขภาวะด้านทันตสุขภาพที่ดีขึ้น

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 1.ผู้ปกครองมีความรู้และทัศนคติที่ดีเกี่ยวกับทันตสุขภาพในเด็ก 5.เพื่อให้อสม.เข้ามามีส่วนร่วมในการดูแลสุขภาพช่องปากของเด็กก่อนปฐมวัย
ตัวชี้วัด : ผู้ปกครองของเด็กมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับการดูแลสุขภาพในช่องปาก และสามารถนำความรู้ที่ได้ปรับใช้ในการดูแลสุขภาพของเด็กและคนรอบข้างได้อย่างมีคุณภาพ
0.00

 

2 2.ผุ้ปกครองสามารถทำความสะอาดช่องปากของเด็กได้อย่างถูกต้อง
ตัวชี้วัด : ร้อยละ 60 เด็ก 0-2 ปี ผุ้ปกครองได้รับการฝึกแปรงฟันแบบลงมือปฏิบัติและ plaque control
0.00

 

3 3.เพื่อลดอัตราฟันผุในเด็กก่อนปฐมวัย
ตัวชี้วัด : ร้อยละ 60 ของเด็กต่ำกว่า 3 ปีได้รับบริการป้องกันฟันผุด้วยการทาฟลูออไรด์วานิช ร้อยละ 40 ตวามครอบคลุมของเด็กอายุ 18 เดือน-2ปี 11 เดืนอ29วันได้รับการทาฟลูออไรด์วานิช อย่างน้อย 2 ครั้งต่อปี
0.00

 

4 4.เพื่อให้เด็กได้รับบริการทางทันตกรรม และได้เคลือบฟลูออไรด์วานิชทุกคน
ตัวชี้วัด : ร้อยละ 60 ของเด็กต่ำกว่า 3 ปี ได้รับบริการป้องกันฟันผุด้วยการทาฟลูออไรด์วานิช ร้อยละ 60 เด็ก 0-2 ปี ได้รับการตรวจสุขภาพช่องปาก
0.00

 

5 5.เพื่อให้อสม.เข้ามามีส่วนร่วมในการดูแลสุขภาพช่องปากของเด็กก่อนปฐมวัย
ตัวชี้วัด : แกนนำอสม.มีความรู้ ความเข้าใจในการดูแลสุขภาพช่องปากของเด็กก่อนปฐมวัย
0.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 240
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน 120
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน 120
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1.ผู้ปกครองมีความรู้และทัศนคติที่ดีเกี่ยวกับทันตสุขภาพในเด็ก 5.เพื่อให้อสม.เข้ามามีส่วนร่วมในการดูแลสุขภาพช่องปากของเด็กก่อนปฐมวัย (2) 2.ผุ้ปกครองสามารถทำความสะอาดช่องปากของเด็กได้อย่างถูกต้อง (3) 3.เพื่อลดอัตราฟันผุในเด็กก่อนปฐมวัย (4) 4.เพื่อให้เด็กได้รับบริการทางทันตกรรม และได้เคลือบฟลูออไรด์วานิชทุกคน (5) 5.เพื่อให้อสม.เข้ามามีส่วนร่วมในการดูแลสุขภาพช่องปากของเด็กก่อนปฐมวัย

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) กิจกรรมอบรมเชิงปฏิบัติการเรื่องโรคในช่องปาก การดูแลช่องปากและภาวะแทรกซ้อนให้แก่ผู้ปกครองเด็ก อายุ 0-2 ปี (2) กิจกรรมอบรมเชิงปฏิบัติการเรื่องโรคฟันในช่องปาก การดูแลช่องปากและภาวะแทรกซ้อนให้แกแกนนำอสม.ด้านทันตสาธารณสุข (3) กิจกรรมเจ้าหน้าที่ออกตรวจฟันเด็กได้รับการฝึกแปรงฟัน ทุก3เดือน เพื่อติดตามและเฝ้าระวังการเกิดโรคฟันผุในเด็ก

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการลูกรักฟันดี เริ่มที่ผู้ปกครอง ปีงบประมาณ 2562 จังหวัด สตูล

รหัสโครงการ 62-L5313-01-12

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นางสาวกูวรรณ์นิสา สตอหลง )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด