กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ทุ่งนุ้ย


“ โครงการควบคุมป้องกันโรคมาลาเรียในชุมชน รพ.สต.บ้านควนบ่อทอง ปี2562 ”

ตำบลทุ่งนุ้ย อำเภอควนกาหลง จังหวัดสตูล

หัวหน้าโครงการ
นายวีรวัฒน์ ล่าโยค

ชื่อโครงการ โครงการควบคุมป้องกันโรคมาลาเรียในชุมชน รพ.สต.บ้านควนบ่อทอง ปี2562

ที่อยู่ ตำบลทุ่งนุ้ย อำเภอควนกาหลง จังหวัดสตูล จังหวัด สตูล

รหัสโครงการ 62-L5281-1-14 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 พฤษภาคม 2562 ถึง 30 กันยายน 2562


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการควบคุมป้องกันโรคมาลาเรียในชุมชน รพ.สต.บ้านควนบ่อทอง ปี2562 จังหวัดสตูล" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลทุ่งนุ้ย อำเภอควนกาหลง จังหวัดสตูล

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ทุ่งนุ้ย ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการควบคุมป้องกันโรคมาลาเรียในชุมชน รพ.สต.บ้านควนบ่อทอง ปี2562



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการควบคุมป้องกันโรคมาลาเรียในชุมชน รพ.สต.บ้านควนบ่อทอง ปี2562 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลทุ่งนุ้ย อำเภอควนกาหลง จังหวัดสตูล รหัสโครงการ 62-L5281-1-14 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 พฤษภาคม 2562 - 30 กันยายน 2562 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 16,700.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ทุ่งนุ้ย เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

โรคไข้มาลาเรีย เป็นปัญหาด้านสาธารณสุขที่ส่งผลกระทบต่อชีวิตและสุขภาพของประชาชน โดยจังหวัดสตูลเป็นพื้นที่หนึ่งที่มีการระบาดของโรคมาลาเรีย อย่างต่อเนื่องทุกปีจึงได้มีการเน้นให้มีการควบคุมโรคมาลาเรียเป็นนโยบายหลักของงานด้านสาธารณสุข สาเหตุจากยุงก้นปล่องที่เป็นพาหะนำโรคเมื่อยุงก้นปล่องกัดและดูดเลือดคนที่มีเชื้อมาลาเรียเข้าไป เชื้อจะเพิ่มจำนวนในยุงโดยใช้เวลาประมาณ 10-12 วัน เมื่อยุงก้นปล่องที่มีเชื้อมาลาเรียนี้ไปกัดคนอื่น ก็จะปล่อยเชื้อมาลาเรียจากต่อมน้ำลายเข้าสู่คนอีก จึงทำให้คนที่ถูกยุงกัดเป็นไข้มาลาเรีย ซึ่งอาจเริ่มมีอาการป่วยหลังจากถูกยุงก้นปล่องกัดประมาณ 10-14 วัน อาการที่สำคัญได้แก่ มีอาการไข้หนาวสั่น ปวดศีรษะ อ่อนเพลีย ปวดท้อง ท้องร่วง ในกรณีที่ทำการตรวจวินิจฉัยและรักษาให้ถูกต้องช้าเกินไปอาจมีอาการรุนแรงและเสียชีวิตได้ โรคนี้ทำให้บั่นทอนแรงงานจากการขาดงาน และมีผลต่อการศึกษาจากการขาดเรียนทำให้เด็กมีการเรียนรู้ช้า ในพื้นที่หรือช่วงระยะเวลาที่มีการแพร่ระบาดและมีการเจ็บป่วยจำนวนมากอาจทำให้เกิดความสูญเสียทางเศรษฐกิจ ได้แก่ ค่ารักษาพยาบาล การประกอบอาชีพ และภาระการดูแลผู้เจ็บป่วยของสมาชิกในครอบครัว โรคไข้มาลาเรียสามารถป้องกันได้ และรักษาให้หายขาดได้ ขณะเดียวกันเมื่อเป็นแล้วก็อาจเป็นอีกได้ถ้าถูกยุงที่มีเชื้อมากัดอีกการป้องกันได้แก่ การนอนในมุ้งใส่เสื้อผ้ามิดชิดปกคลุมแขนขา ทาสารป้องกันยุง และการกำจัดแหล่งเพาะพันธุ์ยุงก้นปล่องที่อยู่ใกล้ชุมชน ประกอบกับสภาพพื้นที่ของตำบลที่มีสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อการระบาดของโรค นอกจากนี้พฤติกรรมสุขภาพของประชาชนในพื้นที่ ทำให้ไม่มีการตื่นตัวร่วมกันป้องกันและควบคุมโรคมาลาเรีย เช่น การนอนไม่กางมุ้ง เป็นต้นจึงทำให้โรคไข้มาลาเรียจะมีการระบาดตลอดปี และมีการระบาดในทุกกลุ่มอายุ
ดังนั้นโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านควนบ่อทอง ได้เล็งเห็นถึงความสำคัญในการควบคุมปัญหาดังกล่าว จึงมีการจัดทำโครงการ ในพื้นที่รับผิดชอบ เพื่อรณรงค์ป้องกันโรคมาลาเรียขึ้น และเพื่อลดจำนวนผู้ป่วยด้วยโรคนำโดยแมลง

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อควบคุมจำนวนผู้ป่วยมาลาเรีย ในพื้นที่ให้ลดน้อยลง
  2. เพื่อให้ประชาชน มีความรู้และมีพฤติกรรมการป้องกันและควบคุมโรคมาลาเรีย
  3. เพื่อให้ชุมชนมีส่วนร่วมในการแก้ปัญหาเพื่อลดระดับการระบาดของโรค

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. 1. จัดอบรมให้ความรู้เรื่องโรคมาลาเรียแก่ประชาชน

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน 85
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

1.ประชาชนมีความรู้ในการควบคุมป้องกันโรคมาลาเรีย 2. จำนวนผู้ป่วยด้วยโรคมาลาเรียในพื้นที่มีจำนวนลดลง 3. ชุมชนมีส่วนร่วมในการแก้ปัญหา 4. ประชาชนมีการตื่นตัวและเฝ้าระวังในการดูแลตนเองให้ปลอดภัยจากโรคติดต่อที่นำโดยแมลง


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อควบคุมจำนวนผู้ป่วยมาลาเรีย ในพื้นที่ให้ลดน้อยลง
ตัวชี้วัด : ลดอัตราป่วยด้วยโรคมาลาเรียลง
0.00

 

2 เพื่อให้ประชาชน มีความรู้และมีพฤติกรรมการป้องกันและควบคุมโรคมาลาเรีย
ตัวชี้วัด : ประชาชนมีส่วนร่วมในการแก้ไขปัญหาการระบาดของโรค โดยชุมชนได้อย่างมีประสิทธิภาพ
0.00

 

3 เพื่อให้ชุมชนมีส่วนร่วมในการแก้ปัญหาเพื่อลดระดับการระบาดของโรค
ตัวชี้วัด :
0.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 85
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน 85
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อควบคุมจำนวนผู้ป่วยมาลาเรีย ในพื้นที่ให้ลดน้อยลง (2) เพื่อให้ประชาชน มีความรู้และมีพฤติกรรมการป้องกันและควบคุมโรคมาลาเรีย (3) เพื่อให้ชุมชนมีส่วนร่วมในการแก้ปัญหาเพื่อลดระดับการระบาดของโรค

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) 1. จัดอบรมให้ความรู้เรื่องโรคมาลาเรียแก่ประชาชน

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการควบคุมป้องกันโรคมาลาเรียในชุมชน รพ.สต.บ้านควนบ่อทอง ปี2562 จังหวัด สตูล

รหัสโครงการ 62-L5281-1-14

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นายวีรวัฒน์ ล่าโยค )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด