กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ทุ่งหมอ


“ หนูน้อยกินผัก รักสุขภาพ ”

ตำบลทุ่งหมอ อำเภอสะเดา จังหวัดสงขลา

หัวหน้าโครงการ
นายอานนท์ ทองน้อย

ชื่อโครงการ หนูน้อยกินผัก รักสุขภาพ

ที่อยู่ ตำบลทุ่งหมอ อำเภอสะเดา จังหวัดสงขลา จังหวัด สงขลา

รหัสโครงการ 62-L5247-3-03 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 15 กรกฎาคม 2562 ถึง 31 มีนาคม 2563


กิตติกรรมประกาศ

"หนูน้อยกินผัก รักสุขภาพ จังหวัดสงขลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลทุ่งหมอ อำเภอสะเดา จังหวัดสงขลา

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ทุ่งหมอ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
หนูน้อยกินผัก รักสุขภาพ



บทคัดย่อ

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อส่งเสริมให้เด็กมีภาวะโภชนาการตามเกณฑ์อายุ (2) เพื่อส่งเสริมให้เด็กมีพัฒนาการทางร่างกายและสมองเจริญเติบโตสมวัย (3) เพื่อส่งเสริมให้เด็กมีเจตคติที่ดีต่อการรับประทานผัก (4) เพื่อส่งเสริมให้ครูผู้ดูแลเด็ก ผู้ดูแลเด็ก ผู้ปฏิบัติหน้ที่ผู้ดูแลเด็ก เจ้าหน้าที่ที่เกี่ยวข้อง และผู้ประกอบอาหารกลางวันในศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก อบต.ทุ่งหมอ มีความรู้ ความเข้าใจถึงภาวะโภชนาการในเด็ก

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) สำรวจข้อมูลภาวะโภชนาการ (2) จัดอบรมให้ความรู้เกี่ยวกับวิธีการเลือกผักที่ปลอดสารพิษ การจัดอาหารและภาวะโภชนาการในเด็ก (3) กิจกรรมการปลูกผักสวนครัวและเพาะเห็ดนางฟ้า

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

ภาวะโภชนาการเกินและภาวะขาดสารอาหารในเด็กไทยเป็นปัญหาสำคัญที่ควรให้ความสำคัญและทุกคนจะต้องร่วมมือกันเพื่อแก้ปัญหาที่เกิดขึ้นอย่างจริงจัง สาเหตุสำคัญที่ทำให้เด็กไทยวัยเรียน ผอม เตี้ย อ้วน เพราะพฤติกรรมทางโภชนาการและสุขภาพที่ไม่พึงประสงค์ การกินอาหารไม่ครบ 3 มื้อ กินผัก ผลไม้น้อยลง การบริโภคขนมกรุบกรอบและน้ำอัดลมเพิ่มขึ้น และกิจกรรมทางกายและการออกกำลังกายน้อยลง ล้วนเป็นปัจจัยที่ส่งผลกระทบต่อสุขภาพของเด็กไทย โดยเฉพาะอาหารที่ไม่เป็นที่โปรดปรานของเด็ก เห็นจะไม่พ้นผัก และผลไม้ ซึ่งเป็นอาหารที่จะให้สารพวกวิตามินทั้งหลาย อันเป็นตัวการสำคัญในกระบวนการเจริญเติบโต และพัฒนาการต่างๆ ของเด็ก โดยเฉพาะในเด็กปฐมวัยซึ่งเป็นวัยที่อยู่ในระยะสำคัญของชีวิต เป็นวัยรากฐานของพัฒนาการ การเจริญเติบโตทั้งร่างกาย จิตใจอารมณ์ สังคมและสติปัญญา จึงเป็นวัยที่มีความสำคัญ เหมาะสมที่สุดในการวางพื้นฐาน เพื่อยกระดับการพัฒนาคุณภาพชีวิต โดยเฉพาะเด็กปฐมวัยเป็นระยะร่างกายและสมอง มีการเจริญเติบโตอย่างรวดเร็วจำเป็นต้องได้รับการเลี้ยงดูที่ดีที่สุด เพื่อส่งเสริมพัฒนาการรอบด้าน อาหารและภาวะโภชนาการที่ดี เป็นปัจจัยที่มีความสำคัญต่อการเจริญเติบโตและพัฒนาของเด็ก แต่ในปัจจุบันเด็กก่อนวัยเรียนไม่ค่อยชอบทานผัก หรือถ้าหารได้ทานผัก ผักส่วนใหญ่ผู้ปกครองซื้อมากจากตลาด ทำให้เด็กอยู่ในภาวะความเสี่ยงทางด้านสุขภาพอย่างน่าเป็นห่วง เนื่องจากเด็กต้องบริโภคอาหารผัก ที่ไม่ปลอดภัยไม่ปลอดสารพิษ ทำให้มีการสะสมสารพิษภายในร่างกายเป็นระยะเวลานาน อาจก่อให้เกิดภาวะความเสี่ยงต่อการเจ็บป่วยและการเกิดโรคและการเกิดโรคชนิดต่างๆ ได้ และแนวทางการป้องกันและแก้ไขปัญหาภาวะความเสี่ยงด้านสุขภาพต้องให้กระบวนการเรียนรู้ที่หลากหลายที่กระตุ้นให้เด็ก และผู้ปกครอง ได้เห็นคุณค่าและความสำคัญของการดูแลสุขภาพที่สามารถปฏิบัติได้จริงในชีวิตประจำวัน การส่งเสริมกิจกรรมทางสุขภาพที่มีความหลากหลายวิธีควบคู่กันไป จะช่วยสร้างโอกาสให้สุขภาพเด็กไทยได้รับการคุ้มครองอย่างปลอดภัย ในการนี้ ศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก องค์การบริหารส่วนตำบลทุ่งหมอ ได้เล็งเห็นความสำคัญของประโยชน์ของผัก ภาวะโภชนาการและการดูแลสุขภาพในเด็กก่อนวัยเรียน จึงได้จัดทำโครงการ หนูน้อยกินผัก รักสุขภาพขึ้นใน ศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก องค์การบริหารส่วนตำบลทุ่งหมอ เพื่อให้เด็กได้ลงมือปลูกผักด้วยตัวเอง ได้ทานผักที่ปลอดสารพิษ เพื่อจะได้มีสุขภาพสมบูรณ์แข็งแรง มีการเจริญเติบโตของสมองและร่างกายเหมาะสมตามวัย เติบโตเป็นทรัพยากรบุคคลที่มีคุณค่า และเป็นอนาคตที่สำคัญของประเทศชาติต่อไป

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อส่งเสริมให้เด็กมีภาวะโภชนาการตามเกณฑ์อายุ
  2. เพื่อส่งเสริมให้เด็กมีพัฒนาการทางร่างกายและสมองเจริญเติบโตสมวัย
  3. เพื่อส่งเสริมให้เด็กมีเจตคติที่ดีต่อการรับประทานผัก
  4. เพื่อส่งเสริมให้ครูผู้ดูแลเด็ก ผู้ดูแลเด็ก ผู้ปฏิบัติหน้ที่ผู้ดูแลเด็ก เจ้าหน้าที่ที่เกี่ยวข้อง และผู้ประกอบอาหารกลางวันในศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก อบต.ทุ่งหมอ มีความรู้ ความเข้าใจถึงภาวะโภชนาการในเด็ก

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. สำรวจข้อมูลภาวะโภชนาการ
  2. จัดอบรมให้ความรู้เกี่ยวกับวิธีการเลือกผักที่ปลอดสารพิษ การจัดอาหารและภาวะโภชนาการในเด็ก
  3. กิจกรรมการปลูกผักสวนครัวและเพาะเห็ดนางฟ้า
  4. กิจกรรมการพัฒนาติดตามในรายที่มีปัญหาทางโภชนาการและส่งเสริมการจัดเมนูอาหารให้นักเรียนได้รับประทานผักมากขึ้น

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน 89
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

  1. เด็กปฐมวัยในศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก องค์การบริหารส่วนตำบลทุ่งหมอ มีภาวะโภชนาการตามวัย
  2. เด็กปฐมวัยในศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก องค์การบริหารส่วนตำบลทุ่งหมอมีเจตคติที่ดีต่อการรับประทานผัก
  3. ครู ผู้ปกครองและผู้ประกอบอาหารให้ศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก มีความรู้ ความเข้าใจ ถึงภาวะโภชนาการในเด็ก

ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. สำรวจข้อมูลภาวะโภชนาการ

วันที่ 22 กรกฎาคม 2562

กิจกรรมที่ทำ

ชั่งน้ำหนัก และวัดส่วนสูง พร้อมทั้งแปลผลโดยใช้กราฟแสดงเกณฑ์อ้างอิงการเจริญเติบโตสำหรับเด็ก 2-7 ปี และสรุปผล

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

  1. จากการติดตามชั่งน้ำหนักและวัดส่วนสูงเด็กเป็นประจำทุกเดือน พบว่าเด็กที่มีน้ำหนักตามเกณฑ์อายุ มีแนวโน้มเพิ่มขึ้นจาก 62 คน ในเดือนมิถุนายน 2562 เป็น 73 คน ในเดือนมกราคม 2563 คิดเป็นร้อยละ 89.02

 

0 0

2. กิจกรรมการปลูกผักสวนครัวและเพาะเห็ดนางฟ้า

วันที่ 5 สิงหาคม 2562

กิจกรรมที่ทำ

  1. ครูร่วมกันวางแผนงานในการจัดทำกิจกรรมและมอบหมายหน้าที่ที่รับผิดชอบ
  2. จัดเตรียมสถานที่ อุปกรณ์ต่างๆ โดยให้เด็กๆ ได้มีส่วนร่วมและลงมือทำ
  3. การเพาะเห็ดนางฟ้า ให้เด็กๆ มีส่วนร่วมในกระบวนการต่างๆ เช่น การจัดวางก้อนเห็ด การเฝ้าติดตามผลผลิตและการเก็บเกี่ยวผลผลิต โดยครูจะคอยดูแลให้คำแนะนำ
  4. การปลูกผักต่างๆ ให้เด็กได้ลงมือปฏิบัติ ตั้งแต่การเตรียมดิน การเพาะปลูกเมล็ดพันธ์ุ การดูแลรักษาและการเก็บเกี่ยวผลผลิต โดยครูคอยดูแลให้คำแนะนำ

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ผลปรากฎว่า เมื่อนำผักที่เด็กๆ ปลูกมาปรุงเป็นอาหารกลางวัน เด็กๆ ก็รับประทานอย่างภาคภูมิใจและมีพฤติกรรมการทางผักที่ดีขึ้น สังเกตได้จากเด็กที่ไม่รับประทานผักมีการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมไปในทางที่ดีและมีแนวโน้มดีขึ้นตามลำดับ

 

0 0

3. จัดอบรมให้ความรู้เกี่ยวกับวิธีการเลือกผักที่ปลอดสารพิษ การจัดอาหารและภาวะโภชนาการในเด็ก

วันที่ 9 ธันวาคม 2562

กิจกรรมที่ทำ

เชิญวิทยากรเชิญวิทยากรด้านโภชนาการมาให้ความรู้แก่กลุ่มเป้าหมาย เกี่ยวกับภาวะโภชนาการในเด็ก โดยวิทยากรจากโรงพยาบาลปาดังเบซาร์ อำเภอสะเดา จังหวัดสงขลา

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

กลุ่มเป้าหมายเข้าร่วมการอบรม และให้ความร่วมมือเป็นอย่างดี มีความรู้ความเข้าใจถึงภาวะโภชนาการในเด็ก

 

96 0

4. กิจกรรมการพัฒนาติดตามในรายที่มีปัญหาทางโภชนาการและส่งเสริมการจัดเมนูอาหารให้นักเรียนได้รับประทานผักมากขึ้น

วันที่ 3 กุมภาพันธ์ 2563

กิจกรรมที่ทำ

  1. ปรับปรุงเมนูอาหารกลางวันให้เด็กได้มีโอกาสรับประทานผักมากขึ้น
  2. ส่งเสริมให้เด็กรับประทานผัก โดยผ่านการร่วมกิจกรรมต่างๆของโครงการ "หนูน้อยกินผัก รักสุขภาพ" และสอดแทรกในกระบวนการจัดประสบการณ์ 3.นำผัก ผลผลิต จากการจัดกิจกรรมของโครงการ "หนูน้อยกินผัก รักสุขภาพ" มาปรุงเป็นอาหารกลางวันให้เด็กได้รับประทาน

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ผลปรากฎว่า เมื่อนำผักที่เด็กๆ ปลูกมาปรุงเป็นอาหารกลางวัน เด็กๆ ก็รับประทานอย่างภาคภูมิใจและมีพฤติกรรมการทางผักที่ดีขึ้น สังเกตได้จากเด็กที่ไม่รับประทานผักมีการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมไปในทางที่ดีและมีแนวโน้มดีขึ้นตามลำดับ

 

0 0

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

  1. จากการติดตามชั่งน้ำหนักและวัดส่วนสูงเด็กเป็นประจำทุกเดือน พบว่าเด็กที่มีน้ำหนักตามเกณฑ์อายุ มีแนวโน้มเพิ่มขึ้นจาก 62 คน ในเดือนมิถุนายน 2562 เป็น 73 คน ในเดือนมกราคม 2563 คิดเป็นร้อยละ 89.02
  2. จากการประเมินและทดสอบพัฒนาการเด็กทั้ง 4 ด้านในภาคเรียนที่ 1 และภาคเรียนที่ 2 (ครั้งที่ 1) จากคุณลักษณะที่พึงประสงค์ตามหลักสูตรการศึกษาปฐมวัยพุทธศักราช 2560 พบว่า เด็กมีพัฒนาการทางด้านร่างกายอยู่ในระดับดี จำนวนทั้งสิ้น 74 คน คิดเป็นร้อยละ 90.24 และมีพัฒนาการทางด้านสติปัญญาอยู่ในระดับดี จำนวนทั้งสิ้น 71 คน คิดเป็นร้อยละ 86.58
  3. ผลปรากฎว่า เมื่อนำผักที่เด็กๆ ปลูกมาปรุงเป็นอาหารกลางวัน เด็กๆ ก็รับประทานอย่างภาคภูมิใจและมีพฤติกรรมการทางผักที่ดีขึ้น สังเกตได้จากเด็กที่ไม่รับประทานผักมีการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมไปในทางที่ดีและมีแนวโน้มดีขึ้นตามลำดับ
  4. จากการจัดกิจกรรมอบรมให้ความรู้พบว่าผู้ปกครองได้ให้ความร่วมมือเป็นอย่างดีและเข้าร่วมกิจกรรมครบทุกคน

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อส่งเสริมให้เด็กมีภาวะโภชนาการตามเกณฑ์อายุ
ตัวชี้วัด : เด็กร้อยละ 80 มีภาวะโภชนาการตามเกณฑ์อายุ
80.00 89.02

 

2 เพื่อส่งเสริมให้เด็กมีพัฒนาการทางร่างกายและสมองเจริญเติบโตสมวัย
ตัวชี้วัด : เด็กร้อยละ 80 มีพัฒนาการทางร่างกายและสมองเจริญเติบโตสมวัย
80.00 86.58

 

3 เพื่อส่งเสริมให้เด็กมีเจตคติที่ดีต่อการรับประทานผัก
ตัวชี้วัด : พฤติกรรมการทานผักของเด็ก (เด็กทานผักเหลือร้อยละ 0 ) (เด็กร้อยละ 90 ทานผักหมดจาน)
90.00 95.00

 

4 เพื่อส่งเสริมให้ครูผู้ดูแลเด็ก ผู้ดูแลเด็ก ผู้ปฏิบัติหน้ที่ผู้ดูแลเด็ก เจ้าหน้าที่ที่เกี่ยวข้อง และผู้ประกอบอาหารกลางวันในศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก อบต.ทุ่งหมอ มีความรู้ ความเข้าใจถึงภาวะโภชนาการในเด็ก
ตัวชี้วัด : เจ้าหน้าที่ที่เกี่ยวข้องมีความรู้ ความเข้าใจถึงภาวะโภชนาการของเด็กร้อยละ 100
100.00 100.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 89 100
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน 89 82
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน 0 18
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อส่งเสริมให้เด็กมีภาวะโภชนาการตามเกณฑ์อายุ (2) เพื่อส่งเสริมให้เด็กมีพัฒนาการทางร่างกายและสมองเจริญเติบโตสมวัย (3) เพื่อส่งเสริมให้เด็กมีเจตคติที่ดีต่อการรับประทานผัก (4) เพื่อส่งเสริมให้ครูผู้ดูแลเด็ก ผู้ดูแลเด็ก ผู้ปฏิบัติหน้ที่ผู้ดูแลเด็ก เจ้าหน้าที่ที่เกี่ยวข้อง และผู้ประกอบอาหารกลางวันในศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก อบต.ทุ่งหมอ มีความรู้ ความเข้าใจถึงภาวะโภชนาการในเด็ก

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) สำรวจข้อมูลภาวะโภชนาการ (2) จัดอบรมให้ความรู้เกี่ยวกับวิธีการเลือกผักที่ปลอดสารพิษ การจัดอาหารและภาวะโภชนาการในเด็ก (3) กิจกรรมการปลูกผักสวนครัวและเพาะเห็ดนางฟ้า

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


ส่วนที่ 3 ประเมินคุณค่าโครงการ

แบบประเมินคุณค่าของโครงการที่เกี่ยวข้องกับการสร้างเสริมสุขภาพ

ชื่อโครงการ หนูน้อยกินผัก รักสุขภาพ

รหัสโครงการ 62-L5247-3-03 ระยะเวลาโครงการ 15 กรกฎาคม 2562 - 31 มีนาคม 2563

แบบประเมินคุณค่าของโครงการที่เกี่ยวข้องกับการสร้างเสริมสุขภาพ เป็นการคุณค่าที่เกิดจากโครงการในมิติต่อไปนี้

  • ความรู้ด้านการสร้างเสริมสุขภาพและนวัตกรรมเชิงระบบสุขภาพชุมชน
  • การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่มีผลต่อสุขภาวะ
  • การปรับเปลี่ยนสิ่งแวดล้อมที่เอื้อต่อสุขภาวะ
  • ผลกระทบเชิงบวกและนโยบายสาธารณะที่เอื้อต่อการสร้างสุขภาวะชุมชน
  • กระบวนการชุมชน
  • มิติสุขภาวะปัญญา / สุขภาวะทางจิตวิญญาณ

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่

1. เกิดความรู้ หรือ นวัตกรรมชุมชน

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. ความรู้ใหม่ / องค์ความรู้ใหม่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. สิ่งประดิษฐ์ / ผลผลิตใหม่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. กระบวนการใหม่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. วิธีการทำงาน / การจัดการใหม่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. การเกิดกลุ่ม / โครงสร้างในชุมชนใหม่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
6. แหล่งเรียนรู้ใหม่

กิจกรรมอบรมให้ความรู้ผู้ปกครอง เรื่อง อาหารที่มีคุณค่าทางอาหารเหมือนกับอาหารเช้าปกติ เช่น การกินขนมปังแทนข้าว การดื่มนมเพื่อเสริมโปรตีนแทนเนื้อสัตว์

สรุปผลโครงการและเอกสารประกอบการอบรม เป็นแผ่นพับเรื่อง เมนูอาหารสำหรับเด็กก่อนวัยเรียน ของโครงการหนูน้อยกินผัก รักสุขภาพ

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
99. อื่นๆ

 

 

 

2. เกิดการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่เอื้อต่อสุขภาพ

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. การดูแลสุขอนามัยส่วนบุคคล

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. การบริโภค

เด็กมีพฤติกรรมการกินผักเพิ่มมากขึ้น

สรุปผลโครงการหนูน้อยกินผัก รักสุขภาพ

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. การออกกำลังกาย

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. การลด ละ เลิก อบายมุข เช่น การพนัน เหล้า บุหรี่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. การลดพฤติกรรมเสี่ยง เช่น พฤติกรรมเสี่ยงทางเพศ การขับรถโดยประมาท

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
6. การจัดการอารมณ์ / ความเครียด

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
7. การดำรงชีวิต / วิถีชีวิต เช่น การใช้ภูมิปัญญาท้องถิ่น / สมุนไพรในการดูแลสุขภาพตนเอง

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
8. พฤติกรรมการจัดการตนเอง ครอบครัว ชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
9. อื่นๆ

 

 

 

3. การสร้างสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อสุขภาพ (กายภาพ สังคม และเศรษฐกิจ)

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. กายภาพ เช่น มีการจัดการขยะ ป่า น้ำ การใช้สารเคมีเกษตร และการสร้างสิ่งแวดล้อมในครัวเรือนที่ถูกสุขลักษณะ

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. สังคม เช่น มีความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สิน ลดการเกิดอุบัติเหตุ ครอบครัวอบอุ่น การจัดสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อเด็ก เยาวชน และกลุ่มวัยต่าง ๆ มีพื้นที่สาธารณะ/พื้นที่ทางสังคม เพื่อเอื้อต่อการส่งเสริมสุขภาพของคนในชุมชน มีการใช้ศาสนา/วัฒนธรรมเป็นฐานการพัฒนา

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. เศรษฐกิจสร้างสรรค์สังคม /สร้างอาชีพ / เพิ่มรายได้

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. มีการบริการสุขภาพทางเลือก และมีช่องทางการเข้าถึงระบบบริการสุขภาพ

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. อื่นๆ

 

 

 

4. การพัฒนานโยบายสาธารณะที่เอื้อต่อสุขภาวะ

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. มีกฎ / กติกา ของกลุ่ม ชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. มีมาตรการทางสังคมของกลุ่ม ชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. มีธรรมนูญของชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. อื่นๆ เช่น ออกเป็นข้อบัญญัติท้องถิ่น ฯลฯ

 

 

 

5. เกิดกระบวนการชุมชน

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. เกิดการเชื่อมโยงประสานงานระหว่างกลุ่ม / เครือข่าย (ใน และหรือนอกชุมชน)

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. การเรียนรู้การแก้ปัญหาชุมชน (การประเมินปัญหา การวางแผน การปฏิบัติการ และการประเมิน)

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. การใช้ประโยชน์จากทุนในชุมชน เช่น การระดมทุน การใช้ทรัพยากรบุคคลในชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. มีการขับเคลื่อนการดำเนินงานของกลุ่มและชุมชนที่เกิดจากโครงการอย่างต่อเนื่อง

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. เกิดกระบวนการจัดการความรู้ในชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
6. เกิดทักษะในการจัดการโครงการ เช่น การใช้ข้อมูลในการตัดสินใจ การทำแผนปฏิบัติการ

ครูผู้ดูแล ผู้ประกอบอาหาร มีความรู้ความเข้าใจถึงภาวะโภชนาการของเด็ก

สรุปผลโครงการหนูน้อยกินผัก รักสุขภาพ

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
7. อื่นๆ

 

 

 

6. มิติสุขภาวะปัญญา / สุขภาวะทางจิตวิญญาณ

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. ความรู้สึกภาคภูมิใจในตัวเอง / กลุ่ม / ชุมชน

เด็กได้ลงมือปฏิบัติด้วยตนเอง ได้ปลูกผักเอง ดูแลรักษาเอง และเก็บเกี่ยวด้วยตนเอง เมื่อนำไปประกอบอาหาร เด็กๆได้เกิดความภาคภูมิใจในสิ่งที่ตนเองทำ และทานผักที่ตนเองปลูก

สรุปผลโครงการหนูน้อยกินผัก รักสุขภาพ

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. การเห็นประโยชน์ส่วนรวมและส่วนตนอย่างสมดุล

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. การใช้ชีวิตอย่างเรียบง่าย และพอเพียง

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. ชุมชนมีความเอื้ออาทร

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. มีการตัดสินใจโดยใช้ฐานปัญญา

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
6. อื่นๆ

 

 

 

หนูน้อยกินผัก รักสุขภาพ จังหวัด สงขลา

รหัสโครงการ 62-L5247-3-03

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นายอานนท์ ทองน้อย )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด