กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.เกาะสาหร่าย


“ โครงการการเสริมสร้างครอบครัวอบอุ่น ครอบครัวเข้มแข็ง ”

ตำบลเกาะสาหร่าย อำเภอเมืองสตูล จังหวัดสตูล

หัวหน้าโครงการ
นายอับดุลเล๊าะ เส็นสมมาตร

ชื่อโครงการ โครงการการเสริมสร้างครอบครัวอบอุ่น ครอบครัวเข้มแข็ง

ที่อยู่ ตำบลเกาะสาหร่าย อำเภอเมืองสตูล จังหวัดสตูล จังหวัด สตูล

รหัสโครงการ 62-L5299-02-12 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 กรกฎาคม 2562 ถึง 30 กันยายน 2562


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการการเสริมสร้างครอบครัวอบอุ่น ครอบครัวเข้มแข็ง จังหวัดสตูล" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลเกาะสาหร่าย อำเภอเมืองสตูล จังหวัดสตูล

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.เกาะสาหร่าย ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการการเสริมสร้างครอบครัวอบอุ่น ครอบครัวเข้มแข็ง



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการการเสริมสร้างครอบครัวอบอุ่น ครอบครัวเข้มแข็ง " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลเกาะสาหร่าย อำเภอเมืองสตูล จังหวัดสตูล รหัสโครงการ 62-L5299-02-12 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 กรกฎาคม 2562 - 30 กันยายน 2562 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 40,000.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.เกาะสาหร่าย เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

 

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อสร้างความรักความเข้าใจและความสัมพันธ์ที่ดีระหว่างสมาชิกในครอบครัว
  2. เพื่อให้สมาชิกในครอบครัวได้ตระหนักถึงความสำคัญของสถาบันครอบครัว
  3. เพื่อเพิ่มเติมความรู้ความเข้าใจในบทบาทหน้าที่ของสมาชิกครอบครัว (บทบาทของสามีภรรยา บทบาทของพ่อแม่ บทบาทของลูก) และปลูกฝังวิถีการดำเนินชีวิตที่ดี
  4. เพื่อส่งเสริมการมีส่วนรับผิดชอบต่อสังคม เพื่อจะได้ไม่สร้างปัญหาให้กับตนเอง ครอบครัว สังคม และมีส่วนร่วมในการป้องกันและแก้ไขปัญหาต่างๆ เช่น ยาเสพติด โรคเอดส์ พฤติกรรมทางเพศ เป็นต้น

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. อบรมให้ความรู้และจัดกิจกรรมนันทนาการเสริมสร้งความสัมพันธ์ระหว่างสมาชิกในครอบครัว

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 60
กลุ่มวัยทำงาน 60
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

๑.สมาชิกครอบครัวตระหนักถึงความสำคัญของสถาบันครอบครัว เข้าใจหลักการดำเนินชีวิตที่เหมาะสม รู้เท่าทันและเฝ้าระวังปัญหาของครอบครัวที่อาจเกิดขึ้น ๒.สามารถสร้างความสัมพันธ์ที่ดีระหว่างสมาชิกในครอบครัว คือเกิดความรัก ความเข้าใจและความผูกพันระหว่างพ่อ แม่ ลูก มีการสื่อสารที่ดีระหว่างสมาชิกในครอบครัว และมีการใช้หลักธรรมผคุณธรรม จริยธรรม) ในการดำเนินชีวิต ๓.ทุกคนในครอบครัวได้รับการปลูกฝังจิตสำนึกที่ดี ตระหนักและเห็นความสำคัญของบทบาท หน้าที่ของตนเองต่อบุคคลในครอบครัว ๔.เด็กและเยาวชนมีภูมิคุ้มกันในการป้องกันปัญหาต่างๆ เช่น ยาเสพติด โรคเอดส์ พฤติกรรมทางเพศ เป็นต้น สามารถนำความรู้ไปใช้ให้เกิดประโยชน์ต่อตนเอง ครอบครัวและชุมชน


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. อบรมให้ความรู้และจัดกิจกรรมนันทนาการเสริมสร้งความสัมพันธ์ระหว่างสมาชิกในครอบครัว

วันที่ 28 กันยายน 2562

กิจกรรมที่ทำ

จัดกิจกรรมอบรมตามกำหนดกิจกรรมโดยแบ่งกิจกรรมโครงการออกเป็น ๓  ส่วน  ดังนี้ 1. กิจกรรมละลายพฤติกรรม เพื่อสร้างความคุ้นเคยให้แก่ผู้เข้าร่วมโครงการพร้อมทั้งทำให้เกิดการแลกเปลี่ยนความคิดเห็น และรู้จักกันมากยิ่งขึ้น กิจกรรมละลายพฤติกรรมอาจเป็นกิจกรรมง่าย ๆ และสร้างความสนุกสนาน เช่น ให้ผู้เข้าร่วมกิจกรรมแนะนำตนเองสั้น ๆ การเล่นเก้าอี้ดนตรี การปรบมือสร้างความพร้อมเพรียง การเต้นตามจังหวะเพลง เป็นต้น และเพื่อเตรียมความพร้อมเข้าสู่กระบวนการเรียนรู้ในแต่ละส่วน สลับกับผู้ให้ข้อมูลหลัก 2.  กิจกรรมด้านครอบครัว  ดังนี้ -  เนื้อหาประกอบด้วย การสร้างความเสมอภาค ระหว่างหญิงชายในครอบครัว การสร้างความสัมพันธ์ ความรัก ความเข้าใจและผูกพันระหว่างสมาชิกครอบครัว สร้างความตระหนักในบทบาทหน้าที่ของพ่อแม่ สร้างการสื่อสารที่ดีระหว่างสมาชิกภายในครอบครัว และการใช้หลักธรรม (คุณธรรม/จริยธรรม ฯลฯ) ในการดำเนินชีวิตครอบครัว การป้องกันปัญหาที่จะเกิดขึ้นกับครอบครัว เช่น การมีเพศสัมพันธ์และการตั้งครรภ์ก่อนวัยอันควรของลูกวัยรุ่น โรคเอดส์และโรคทางเพศสัมพันธ์ ยาเสพติด แก๊งเด็กซิ่ง การยกพวกตีกัน และการติดเกมส์ เป็นต้น
-  การจัดกิจกรรมเสริมสร้างความสัมพันธ์ระหว่างสมาชิกในครอบครัว เพื่อเสริมสร้างให้สมาชิกในครอบครัวได้ใช้เวลาร่วมกัน สร้างสัมพันธภาพที่ดีระหว่างกัน กิจกรรมประกอบด้วย การทำกิจกรรมร่วมกัน เช่น วาดรูป และการรับประทานอาหารร่วมกัน การจัดทัศนศึกษาสวนสัตว์และสวนน้ำ เพื่อให้ พ่อ แม่ ลูก ได้ใช้เวลาอยู่ร่วมกันและพูดคุยกันอย่างใกล้ชิด เป็นต้น

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ผลผลิต : ผู้เข้าร่วมโครงการ จำนวน 120 คน ผลลัพธ์ : ผู้เข้าร่วมอบรมได้รับความรู้และตระหนักถึงความสำคัญของสถาบันครอบครัว เข้าใจหลักการดำเนินชีวิตที่เหมาะสม รู้เท่าทันและเฝ้าระวังปัญหาของครอบครัวที่อาจเกิดขึ้น สามารถสร้างความสัมพันธ์ที่ดีระหว่างสมาชิกในครอบครัว คือ เกิดความรัก ความเข้าใจและความผูกพันระหว่างพ่อแม่ลูก มีการสื่อสารที่ดีระหว่างสมาชิกในครอบครัว และมีการใช้หลักธรรม (คุณธรรม จริยธรรม) ในการดำเนินชีวิต ส่งเสริมการมีส่วนรับผิดชอบต่อสังคม เพื่อจะได้ไม่สร้างปัญหาให้กับตนเอง ครอบครัว สังคมและมีส่วนในการป้องกันและแก้ไขปัญหาต่าง ๆ เช่น ยาเสพติด โรคเอดส์ พฤติกรรมทางเพศ เป็นต้น สามารถนำความรู้ไปใช้ให้เป็นประโยชน์ต่อตนเอง ครอบครัวและชุมชนได้

 

100 0

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

ผู้เข้าร่วมอบรมได้รับความรู้และตระหนักถึงความสำคัญของสถาบันครอบครัว เข้าใจหลักการดำเนินชีวิตที่เหมาะสม รู้เท่าทันและเฝ้าระวังปัญหาของครอบครัวที่อาจเกิดขึ้น สามารถสร้างความสัมพันธ์ที่ดีระหว่างสมาชิกในครอบครัว คือ เกิดความรัก ความเข้าใจและความผูกพันระหว่างพ่อแม่ลูก มีการสื่อสารที่ดีระหว่างสมาชิกในครอบครัว และมีการใช้หลักธรรม (คุณธรรม จริยธรรม) ในการดำเนินชีวิต ส่งเสริมการมีส่วนรับผิดชอบต่อสังคม เพื่อจะได้ไม่สร้างปัญหาให้กับตนเอง ครอบครัว สังคมและมีส่วนในการป้องกันและแก้ไขปัญหาต่าง ๆ เช่น ยาเสพติด โรคเอดส์ พฤติกรรมทางเพศ เป็นต้น สามารถนำความรู้ไปใช้ให้เป็นประโยชน์ต่อตนเอง ครอบครัวและชุมชนได้

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อสร้างความรักความเข้าใจและความสัมพันธ์ที่ดีระหว่างสมาชิกในครอบครัว
ตัวชี้วัด :
0.00 120.00

 

2 เพื่อให้สมาชิกในครอบครัวได้ตระหนักถึงความสำคัญของสถาบันครอบครัว
ตัวชี้วัด :
0.00 120.00

 

3 เพื่อเพิ่มเติมความรู้ความเข้าใจในบทบาทหน้าที่ของสมาชิกครอบครัว (บทบาทของสามีภรรยา บทบาทของพ่อแม่ บทบาทของลูก) และปลูกฝังวิถีการดำเนินชีวิตที่ดี
ตัวชี้วัด :
0.00 120.00

 

4 เพื่อส่งเสริมการมีส่วนรับผิดชอบต่อสังคม เพื่อจะได้ไม่สร้างปัญหาให้กับตนเอง ครอบครัว สังคม และมีส่วนร่วมในการป้องกันและแก้ไขปัญหาต่างๆ เช่น ยาเสพติด โรคเอดส์ พฤติกรรมทางเพศ เป็นต้น
ตัวชี้วัด :
0.00 120.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 120 120
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 60 60
กลุ่มวัยทำงาน 60 60
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อสร้างความรักความเข้าใจและความสัมพันธ์ที่ดีระหว่างสมาชิกในครอบครัว (2) เพื่อให้สมาชิกในครอบครัวได้ตระหนักถึงความสำคัญของสถาบันครอบครัว (3) เพื่อเพิ่มเติมความรู้ความเข้าใจในบทบาทหน้าที่ของสมาชิกครอบครัว (บทบาทของสามีภรรยา บทบาทของพ่อแม่ บทบาทของลูก) และปลูกฝังวิถีการดำเนินชีวิตที่ดี (4) เพื่อส่งเสริมการมีส่วนรับผิดชอบต่อสังคม เพื่อจะได้ไม่สร้างปัญหาให้กับตนเอง ครอบครัว สังคม และมีส่วนร่วมในการป้องกันและแก้ไขปัญหาต่างๆ เช่น ยาเสพติด โรคเอดส์ พฤติกรรมทางเพศ เป็นต้น

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) อบรมให้ความรู้และจัดกิจกรรมนันทนาการเสริมสร้งความสัมพันธ์ระหว่างสมาชิกในครอบครัว

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการการเสริมสร้างครอบครัวอบอุ่น ครอบครัวเข้มแข็ง จังหวัด สตูล

รหัสโครงการ 62-L5299-02-12

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นายอับดุลเล๊าะ เส็นสมมาตร )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด