กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.เขามีเกียรติ


“ โครงการผมสะอาด ชีวีเป็นสุข (Clean Hair:Happy Life) ”

ตำบลเขามีเกียรติ อำเภอสะเดา จังหวัดสงขลา

หัวหน้าโครงการ
นางกมลวรรณ หมัดอะดำ

ชื่อโครงการ โครงการผมสะอาด ชีวีเป็นสุข (Clean Hair:Happy Life)

ที่อยู่ ตำบลเขามีเกียรติ อำเภอสะเดา จังหวัดสงขลา จังหวัด สงขลา

รหัสโครงการ 62-L 5245-2-05 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 28 สิงหาคม 2562 ถึง 28 สิงหาคม 2562


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการผมสะอาด ชีวีเป็นสุข (Clean Hair:Happy Life) จังหวัดสงขลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลเขามีเกียรติ อำเภอสะเดา จังหวัดสงขลา

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.เขามีเกียรติ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการผมสะอาด ชีวีเป็นสุข (Clean Hair:Happy Life)



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการผมสะอาด ชีวีเป็นสุข (Clean Hair:Happy Life) " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลเขามีเกียรติ อำเภอสะเดา จังหวัดสงขลา รหัสโครงการ 62-L 5245-2-05 ระยะเวลาการดำเนินงาน 28 สิงหาคม 2562 - 28 สิงหาคม 2562 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 37,260.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.เขามีเกียรติ เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

โรคเหา เป็นโรคที่พบบ่อยมากใเด็กนักเรียนอนุบาล ประถมศึกษา มัธยมศึกษาตอนต้น โดยเฉพาะนักเรียนหญิง เกิดจากความไม่รักษาความสะอาดของร่างกาย เครื่องนอนเป็นโรคที่น่ารังเกียจ สำหรับคนทั่วไปและยังทำให้สุขภาพไม่ดี เสียสมาธิในการเรียน เสียบุคลิกภาพ ก่อให้เกิดความรำคาญกับผู้ที่เป็น เนื่องจากคันหนังศีรษะ จากการสำรวจสุขภาพของผู้นำนักเรียนด้านการส่งเสริมสุขภาพ พบว่า นักเรียนโรงเรียนไทยรัฐวิทยา 80 (วังปริงเพ็ชรไพศาล) เป็นเหาจึงได้จัดทำการศึกษาค้นคว้าภูมิปัญญาท้องถิ่่น พบว่า ใบน้อยหน้าสามารถกำจัดเหาได้ดีมาก โดยไม่เป็นอันตรายและไม่มีอาการแพ้เหมือนใช้สารเคมีซึ่งอาจเป็นอันตรายต่อชีวิตได้มาใช้ในการกำจัดเหา และอีกทั้งเป็นการส่งเสริมให้ผู้ปกครองและนักเรียนได้รู้จักใช้ภุมิปัญญาและสมุนไพรท้องถิ่น ในการรักษาเด็กที่เป็นเหาและป้องกันโรคเหาลดการระบาดต่อไป   ดังนั้นโรงเรียนไทยรัฐวิทยา 80 (วังปริงเพ็ชรไพศาล) จึงร่วมกับโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล และผู้ปกครองเพื่อร่วมแก้ไขปัญหาดังกล่าวร่วมกัน จึงได้จัดทำโครงการนี้ขึ้นเพื่อขอรับการสนับสนุนจากกองทุนหลักประกันสุขภาพองค์การบริหารส่วนตำบบลเขามีเกียรติ อำเภอสะเดา จังหวัดสงขลา

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. ข้อที่ 1 เพื่อให้ผู้ปกครองและนักเรียน สามารถดูแลรักษาความสะอาดของร่างกายของตนเอง ข้อที่ 2 เพื่อนำภูมิปัญญาท้องถิ่นมาปรับปรุงใช้ให้เกิดประโยชน์ ข้อที่ 3 เพื่อป้องกันไม่ได้เกิดเหาในนักเรียนรายใหม่ ข้อที่ 4 เพื่อลดการระคายเคืองหนังศีรษะในเด็กที่เป็นเหา แทนการใช้ยาปัจจุบัน

กิจกรรม/การดำเนินงาน

    กลุ่มเป้าหมาย

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน 44
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 155
    กลุ่มวัยทำงาน 46
    กลุ่มผู้สูงอายุ
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

    ผลที่คาดว่าจะได้รับ

    1. ผู้ปกครองและนักเรียน สามารถดูแลรักษาความสะอาดของร่างกายของตนเองได้ถูกต้อง
    2. ผู้ปกครองและนักเรียน สามารถนำสมุนไพรท้องถิ่นมาใช้กับนักเรียนในการกำจัดเหาได้
    3. ไม่มีการเกิดเหาในนักเรียนรายใหม่

    ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

    วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
    ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
    กิจกรรมของโครงการ
    ผลผลิต*
    ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

    * ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
    ** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


    ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

    ผลการดำเนินโครงการ

    สรุปผลการดำเนินโครงการ

    ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
    บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
    บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
    ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

     

    ผลผลิตโครงการ

    วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
    1 ข้อที่ 1 เพื่อให้ผู้ปกครองและนักเรียน สามารถดูแลรักษาความสะอาดของร่างกายของตนเอง ข้อที่ 2 เพื่อนำภูมิปัญญาท้องถิ่นมาปรับปรุงใช้ให้เกิดประโยชน์ ข้อที่ 3 เพื่อป้องกันไม่ได้เกิดเหาในนักเรียนรายใหม่ ข้อที่ 4 เพื่อลดการระคายเคืองหนังศีรษะในเด็กที่เป็นเหา แทนการใช้ยาปัจจุบัน
    ตัวชี้วัด : 1. ผู้ปกครองและนักเรียน สามารถดูแลรักษาความสะอาดของร่างกายของตนเอง 2. มีการนำภูมิปัญญาท้องถิ่นมาปรับปรุงใช้ให้เกิดประโยชน์ 3. นักเรียนรายใหม่ไม่เกิดเหา 4.ไม่เกิดการระคายเคืองหนังศีรษะในเด็กที่เป็นเหา
    0.00

     

    ผู้เข้าร่วมโครงการ

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 245
    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน 44
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 155
    กลุ่มวัยทำงาน 46
    กลุ่มผู้สูงอายุ -
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

    บทคัดย่อ*

    โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ข้อที่ 1  เพื่อให้ผู้ปกครองและนักเรียน สามารถดูแลรักษาความสะอาดของร่างกายของตนเอง  ข้อที่ 2 เพื่อนำภูมิปัญญาท้องถิ่นมาปรับปรุงใช้ให้เกิดประโยชน์ ข้อที่ 3 เพื่อป้องกันไม่ได้เกิดเหาในนักเรียนรายใหม่    ข้อที่ 4  เพื่อลดการระคายเคืองหนังศีรษะในเด็กที่เป็นเหา แทนการใช้ยาปัจจุบัน

    ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่

    ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

    หมายเหตุ *

    • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
    • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

    ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

    ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

     

     

     


    โครงการผมสะอาด ชีวีเป็นสุข (Clean Hair:Happy Life) จังหวัด สงขลา

    รหัสโครงการ 62-L 5245-2-05

    ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

    ................................
    ( นางกมลวรรณ หมัดอะดำ )
    ผู้รับผิดชอบโครงการ
    ......./............/.......

    vertical_align_topไปบนสุด