กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.เขามีเกียรติ


“ โครงการอบรมงานกู้ชีพกู้ภัย แก่เยาวชนและแกนนำชุมชน ”

ตำบลเขามีเกียรติ อำเภอสะเดา จังหวัดสงขลา

หัวหน้าโครงการ
นางสาวนิลวรรณ ทองแก้ว

ชื่อโครงการ โครงการอบรมงานกู้ชีพกู้ภัย แก่เยาวชนและแกนนำชุมชน

ที่อยู่ ตำบลเขามีเกียรติ อำเภอสะเดา จังหวัดสงขลา จังหวัด สงขลา

รหัสโครงการ 62-L5245-2-06 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 3 กันยายน 2562 ถึง 3 กันยายน 2562


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการอบรมงานกู้ชีพกู้ภัย แก่เยาวชนและแกนนำชุมชน จังหวัดสงขลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลเขามีเกียรติ อำเภอสะเดา จังหวัดสงขลา

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.เขามีเกียรติ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการอบรมงานกู้ชีพกู้ภัย แก่เยาวชนและแกนนำชุมชน



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการอบรมงานกู้ชีพกู้ภัย แก่เยาวชนและแกนนำชุมชน " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลเขามีเกียรติ อำเภอสะเดา จังหวัดสงขลา รหัสโครงการ 62-L5245-2-06 ระยะเวลาการดำเนินงาน 3 กันยายน 2562 - 3 กันยายน 2562 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 25,807.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.เขามีเกียรติ เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

ด้วยในปัจจุบันแนวโน้มการเกิดภัยพิบัติต่าง ๆ ไม่ว่าจะเป็นภัยธรรมชาติ หรือภัยที่เกิดจากการกระทำของบุคคล หรืออุบัติเหตุ เป็นต้นว่า อุทกภัย วาตภัย แผ่นดินไหว อาคารถล่ม ไฟไหม้ น้ำท่วม ภัยแล้ง ภัยหนาว และการเจ็บป่วยฉุกเฉิน ล้วนเป็นภัยที่ก่อให้เกิดอันตรายและสร้างความเสียหายต่อชีวิต ทรัพย์สินของประชาชนพลเมือง รวมทั้งของรัฐมากขึ้น จึงเป็นสาธารณภัยที่รัฐจะต้องดำเนินการหาวิธีป้องกันและระงับเหตุที่เกิดขึ้นโดยเร็ว พร้อมทั้งให้ความช่วยเหลือแก่ประชาชนโดยทันทีและต้องเป็นการให้ความช่วยเหลือที่ถูกวิธีตามหลักวิชาการเพราะการให้ความช่วยเหลือถ้ามีความล่าช้าหรือเข้าช่วยเหลือไม่ถูกต้องตามหลักวิชาการแล้ว จะเป็นการทำอันตรายซ้ำเติมกับผู้ประสบเหตุมากยิ่งขึ้น เป็นการก่อให้เกิดปัญหาเกี่ยวกับการเสียชีวิต การพิการ การสูญเสียทรัพย์สิน ทั้งเป็นการเพิ่มปัญหาเกี่ยวกับการรักษาทางการแพทย์     รัฐบาลไทย และกระทรวงมหาดไทย มีแนวนโยบายด้านความปลอดภัยของประชาชน มุ่งเน้นให้ประชาชนมีความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สิน สนับสนุนให้ประชาชนมีส่วนร่วมในการป้องกันสาธารณภัยในชุมชนและท้องถิ่นของตนเอง ภายใต้โครงการ “หนึ่งตำบล หนึ่งทีมกู้ชีพกู้ภัย (One Tambon One search and Rescue team : OTOS) และหลักสูตรผู้ปฏิบัติการฉุกเฉินเบื้องต้น โดยให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นซึ่งเป็นหน่วยงานของรัฐที่อยู่ใกล้ชิดประชาชนมากที่สุด มีอำนาจหน้าที่ตามกฎหมายในการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย ในเขตพื้นที่รับผิดชอบเพื่อประโยชน์ของประชาชนในท้องถิ่น การบริการสาธารณะ การจัดระบบป้องกันสาธารณภัยและอุบัติภัย การสงเคราะห์ผู้ประสบภัย ทั้งขณะเกิดเหตุและหลังเกิดเหตุ ที่จะช่วยลดการสูญเสียต่อชีวิต และทรัพย์สิน จึงจำเป็นต้องมีการเตรียมความพร้อมในการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยที่จะเกิดขึ้น     จากแนวนโยบายดังกล่าวข้างต้น องค์การบริหารส่วนตำบลเขามีเกียรติ ซึ่งมีพื้นที่ดูแลทั้งหมด 5 หมู่บ้าน ประชากร 5,160 คน ประชากรส่วนใหญ่ประกอบอาชีพ ทำสวน ทำไร่ และระยะทางจากหมู่บ้านไปโรงพยาบาลสะเดา ซึ่งเป็นโรงพยาบาลประจำอำเภอ โดยเฉลี่ยประมาณ 30 กิโลเมตร จึงได้สมัครเข้าร่วมเครือข่ายระบบการแพทย์ฉุกเฉิน เป็นหน่วยบริการทางการแพทย์ฉุกเฉิน กู้ชีพกู้ภัยองค์การบริหารส่วนตำบลเขามีเกียรติ เพื่อให้บริการกับประชาชน โดยยึด “ประชาชนเป็นศูนย์กลาง ทุกคนได้รับบริการโดยเท่าเทียมกัน” การดำเนินงานเน้นการป้องกันอุบัติเหตุ อุบัติภัยและการช่วยเหลือผู้ประสบภัย ผู้ป่วยผู้ยากจนในหมู่บ้าน ในพื้นที่เกิดเหตุ พร้อมลำเลียงขนส่งไปโรงพยาบาลอย่างถูกต้อง ตั้งอยู่ภายในสำนักงานองค์การบริหารส่วนตำบลเขามีเกียรติ โดยมีโทรศัพท์รับแจ้งเหตุหมายเลข 1669 และ 074-292135 ,081-7972235 ซี่งองค์การบริหารส่วนตำบลเขามีเกียรติได้มีเจ้าหน้าที่ผู้ที่ผ่านการฝึกอบรมการปฐมพยาบาลเบื้องต้นหรือฝึกอบรมหลักสูตรเวชกรฉุกเฉินระดับต้น ซึ่งจัดโดยสถาบันการแพทย์ฉุกเฉินแห่งชาติร่วมกับโรงพยาบาลหาดใหญ่ เพื่อเข้าช่วยเหลือผู้ประสบเหตุ ณ จุดเกิดเหตุ นำส่งผู้ป่วยถึงโรงพยาบาลสะเดา หรือโรงพยาบาลที่ผู้ป่วยมีสิทธิ์อยู่ เป็นเจ้าหน้าที่ปฏิบัติหน้าที่กู้ชีพกู้ภัยประจำศูนย์ ตลอด 24 ชั่วโมงมีรถยนต์ลำเลียงขนส่งผู้ป่วยจำนวน 1 คัน

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. 1. เพื่อพัฒนาองค์ความรู้ระดับพื้นฐานให้กับผู้เข้าร่วม อบรม 2. เพื่อให้แต่ละหมู่บ้านมีอาสาสมัครที่มีความรู้ด้านกู้ชีพ เบื้องต้น 3. เพื่อลดอาการบาดเจ็บหรือตายจากอุบัติเหตุต่าง ๆ

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. อบรมให้ความรู้แก่ผู้เข้าร่วมโครงการ จำนวน 50 คน

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 30
กลุ่มวัยทำงาน 20
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

  1. ผู้เข้าร่วมอบรมมีความรู้ตามหลักวิชาการ และสามารถให้บริการในระดับปฐมภูมิได้
  2. เกิดความสามัคคีและความร่วมมือของบุคลากรในระบบการบริการการแพทย์ฉุกเฉินอย่างมั่นใจ
  3. เพื่อส่งเสริมความมั่นใจให้กับผู้ปฏิบัติงาน
  4. ผู้เจ็บป่วยฉุกเฉินได้รับความช่วยเหลืออย่างปลอดภัยและมีประสิทธิผล

ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 1. เพื่อพัฒนาองค์ความรู้ระดับพื้นฐานให้กับผู้เข้าร่วม อบรม 2. เพื่อให้แต่ละหมู่บ้านมีอาสาสมัครที่มีความรู้ด้านกู้ชีพ เบื้องต้น 3. เพื่อลดอาการบาดเจ็บหรือตายจากอุบัติเหตุต่าง ๆ
ตัวชี้วัด : 1. ผู้เข้าร่วมประชุมมีความรู้เพิ่มขึ้นร้อยละ 100
0.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 50
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 30
กลุ่มวัยทำงาน 20
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1. เพื่อพัฒนาองค์ความรู้ระดับพื้นฐานให้กับผู้เข้าร่วม อบรม 2. เพื่อให้แต่ละหมู่บ้านมีอาสาสมัครที่มีความรู้ด้านกู้ชีพ เบื้องต้น 3. เพื่อลดอาการบาดเจ็บหรือตายจากอุบัติเหตุต่าง ๆ

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) อบรมให้ความรู้แก่ผู้เข้าร่วมโครงการ จำนวน 50 คน

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการอบรมงานกู้ชีพกู้ภัย แก่เยาวชนและแกนนำชุมชน จังหวัด สงขลา

รหัสโครงการ 62-L5245-2-06

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นางสาวนิลวรรณ ทองแก้ว )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด