ชาวม่วงงามร่วมใจปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ ป้องกันโรคไม่ติดต่อด้วยการมีส่วนร่วมของชุมชน สู่การจัดการสุขภาพอย่างยั่งยืน
แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์
รายงานฉบับสมบูรณ์
โครงการ
“ ชาวม่วงงามร่วมใจปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ ป้องกันโรคไม่ติดต่อด้วยการมีส่วนร่วมของชุมชน สู่การจัดการสุขภาพอย่างยั่งยืน ”
ตำบลม่วงงาม อำเภอสิงหนคร จังหวัดสงขลา
หัวหน้าโครงการ
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลม่วงงาม
ได้รับการสนับสนุนโดย กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลเมืองม่วงงาม
กันยายน 2562
ชื่อโครงการ ชาวม่วงงามร่วมใจปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ ป้องกันโรคไม่ติดต่อด้วยการมีส่วนร่วมของชุมชน สู่การจัดการสุขภาพอย่างยั่งยืน
ที่อยู่ ตำบลม่วงงาม อำเภอสิงหนคร จังหวัดสงขลา จังหวัด สงขลา
รหัสโครงการ เลขที่ข้อตกลง
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 19 สิงหาคม 2562 ถึง 30 กันยายน 2562
กิตติกรรมประกาศ
"ชาวม่วงงามร่วมใจปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ ป้องกันโรคไม่ติดต่อด้วยการมีส่วนร่วมของชุมชน สู่การจัดการสุขภาพอย่างยั่งยืน จังหวัดสงขลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลม่วงงาม อำเภอสิงหนคร จังหวัดสงขลา
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลเมืองม่วงงาม ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
ชาวม่วงงามร่วมใจปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ ป้องกันโรคไม่ติดต่อด้วยการมีส่วนร่วมของชุมชน สู่การจัดการสุขภาพอย่างยั่งยืน
บทคัดย่อ
โครงการ " ชาวม่วงงามร่วมใจปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ ป้องกันโรคไม่ติดต่อด้วยการมีส่วนร่วมของชุมชน สู่การจัดการสุขภาพอย่างยั่งยืน " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลม่วงงาม อำเภอสิงหนคร จังหวัดสงขลา รหัสโครงการ ระยะเวลาการดำเนินงาน 19 สิงหาคม 2562 - 30 กันยายน 2562 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 178,820.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลเมืองม่วงงาม เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ »
บทคัดย่อ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล »
วัตถุประสงค์โครงการ »
กิจกรรม/การดำเนินงาน »
กลุ่มเป้าหมาย »
ผลลัพธ์ที่ได้ »
การประเมินผล »
ปัญหาและอุปสรรค »
ข้อเสนอแนะ »
เอกสารประกอบอื่นๆ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
องค์การอนามัยโลก(WHO) เล็งเห็นว่ากลุ่มโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง นั้น ถือเป็นปัญหาใหญ่ที่กำลังทวีความรุนแรงขึ้นเรื่อยๆ สังเกตจาก สถิติผู้เสียชีวิตจากกลุ่มโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง ในปี พ.ศ. ๒๕๕๒ พบว่าสาเหตุการเสียชีวิตของประชากรโลกทั้งหมด มีถึง ร้อยละ ๖๓ ที่เกิดจากกลุ่มโรค ไม่ติดต่อเรื้อรัง และที่สำคัญกว่านั้นคือ กว่า ร้อยละ ๘๐ เป็น ประชากรของประเทศที่กำลังพัฒนา
สำหรับประเทศไทยเอง สถิติล่าสุดพบว่ามีถึง ๑๔ ล้านคนที่เป็นโรค ในกลุ่มโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง และที่สำคัญยังถือเป็นสาเหตุหลักของการเสียชีวิต โดยจากสถิติปี พ.ศ. ๒๕๕๒ พบว่า มีประชากรเสีย ชีวิต จากกลุ่มโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง มากกว่า ๓๐๐,๐๐๐ คน หรือร้อยละ ๗๓ ของประชากรไทยทั้งหมดในปี ๒๕๕๒ คิดเป็นมูลค่า ความเสียหายทางเศรษฐกิจถึง ๒๐๐,๐๐๐ ล้านบาทต่อปี ทั้งสถิติการ เสียชีวิตดังกล่าวยังแสดงว่าประเทศไทยมีผู้เสียชีวิตมากกว่าค่าเฉลี่ย ของทั้งโลกและมีแนวโน้มจะสูงขึ้น เรื่อยๆ ในอนาคต ซึ่งโรคในกลุ่ม โรคไม่ติดต่อเรื้อรัง ที่มีอัตราผู้ป่วยและผู้เสียชีวิตสูงสุด ๖ โรค ได้แก่ โรคเบาหวาน โรคหลอดเลือดสมองและหัวใจ โรคถุงลมโป่งพอง โรคมะเร็ง โรคความดันโลหิตสูง และโรคอ้วนลงพุง
จากผลการสำรวจในปี พ.ศ. ๒๕๕๒ กับกลุ่มเป้าหมายประชากรไทยวัยผู้ใหญ่ พบว่า ร้อยละ ๒๑.๔ เป็นโรคความดันโลหิตสูง และที่น่าเป็นห่วงคือ อัตราการรับรู้ว่า ตนเองเป็นโรคความดันโลหิตสูง อัตราการเข้าถึงบริการ และอัตราการควบคุม โรคความดันโลหิตสูงได้นั้นค่อนข้างต่ำร้อยละ๖.๙ ( ๓.๒ ล้านคน ) มีภาวะน้ำตาลในเลือดสูง อัตราการควบคุมได้ในกลุ่ม ผู้ที่มีภาวะน้ำตาลในเลือดสูงยังอยู่ในเกณฑ์ไม่น่าพอใจ โดยเฉพาะประชากร ชายที่มีน้ำตาลในเลือดสูง พบว่า ร้อยละ๕๖.๗ ที่รู้ตัว และมีเพียง ร้อยละ ๒๗.๑ ที่สามารถ ควบคุมภาวะน้ำตาลในเลือดได้ร้อยละ๑๙.๔หรือเกือบ ๙ ล้านคน มีภาวะไขมันคลอเรสเตอรอลสูง โดยผู้หญิงมี ความชุกมากกว่าผู้ชาย ประชากรไทยเกือบ ๑ ใน ๓ เข้าข่ายภาวะน้ำหนักเกิน ส่วนอีก ๘.๕% เข้าข่ายโรคอ้วน
จากข้อมูล HDC รายงานสถาการณ์โรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูงของตำบลม่วงงามย้อนหลัง ๓ ปี ตั้งแต่ ปี ๒๕๕๙ – ๒๕๖๑ ของตำบลม่วงงาม พบว่ามีผู้ป่วยเบาหวานรายใหม่ คิดเป็นร้อยละ ๑.๓ ,๐.๘๘ และ ๑.๕๙ ตามลำดับ ผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูงรายใหม่ คิดเป็นร้อยละ ๔.๗๐ ,๔.๐๐ และ ๑.๗๕ ตามลำดับ ผู้ป่วยสามารถควบคุมระดับน้ำตาลได้ดีน้อยกว่าเกณฑ์มาตรฐาน (ร้อยละ ๔๐) คิดเป็นร้อยละ ๑๐.๒๑ ,๖.๐๘ และ ๑๑.๒๙ ตามลำดับ ควบคุมระดับความดันโลหิตได้ดี ร้อยละ ๓๖.๒๘ ,๓๑.๔๔ และ๓๑.๔๔ ตามลำดับ ซึ่งยังไม่ผ่านเกณฑ์มาตรฐาน (ร้อยละ ๕๐ ) นอกจากข้อมูลดังกล่าวแล้ว ผลการคัดกรองโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูงในประชาการอายุ ๓๕ ปีขึ้นไป ปี ๒๕๖๒ พบกลุ่มเสี่ยงโรคเบาหวาน ๕๕๖ คน (ร้อยละ ๑๑.๗๐) และเสี่ยงต่อโรคความดันโลหิตสูง ๒๑๐ คน (ร้อยละ ๔.๓๔ ) ซึ่งมีแนวโน้มสูงขึ้น
แม้ค่าสถิติการป่วยและเสียชีวิตจากกลุ่มโรคไม่ติดต่อเรื้อรังจะสูงมาก แต่แท้จริงแล้ว กลุ่มโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง นั้นสามารถป้องกันได้ เพราะ สาเหตุหรือปัจจัยเสี่ยงหลักนั้น เกิดจากพฤติกรรมเสี่ยงของตัวเรานั่นเอง อาทิ การดื่มเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ การสูบบุหรี่ ขาดการออกกำลังกาย การรับประทานอาหารหวานมันเค็ม และความเครียด ซึ่งหาก เราสามารถลด หรือ ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมเสี่ยงเหล่านี้ได้ ก็จะเป็นการลด โอกาสเสี่ยงในการเป็นกลุ่มโรคไม่ติดต่อเรื้อรังได้ มากถึง ร้อยละ ๘๐ เลยทีเดียว ลดโอกาส ในการเป็นมะเร็งได้ ร้อยละ ๔๐ โรคหลอดเลือดสมองและหัวใจ และโรคเบาหวาน ประเภทที่ ๒ ได้ถึงร้อยละ ๘๐ ดังนั้น รพ.สต.ม่วงงามจึงเล็งเห็นว่าการกระตุ้นให้ประชาชนปรับเปลี่ยนพฤติกรรม จะเป็นวิธีลดอัตราผู้ป่วยและผู้เสียชีวิตที่ต้นเหตุและ มีความยั่งยืนที่สุด จึงได้จัดทำโครงการชาวม่วงงามร่วมใจปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ ป้องกันโรคไม่ติดต่อด้วยการมีส่วนร่วมของชุมชนสู่การจัดการสุขภาพที่ยั่งยืนขึ้น เพื่อให้ชุมชนร่วมกำหนดมาตรการในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ ประชากรกลุ่มปกติกลุ่มเสี่ยงและกลุ่มป่วยมีพฤติกรรมสุขภาพไปในทางบวกและเกิดบุคคลต้นแบบ ผู้นำต้นแบบ ชุมชนต้นแบบ แปลงผักปลอดสารพิษต้นแบบรวมถึงปิ่นโตสุขภาพต้นแบบ ส่งผลให้ประชาชนตำบลม่วงงามมีสุขภาพร่างกายและจิตใจดี เจ็บป่วยด้วยโรคเรื้อรังลดลง มีคุณภาพชีวิต เศรษฐกิจของครอบครัว ชุมชนดีขึ้น สามารถนำรูปแบบ แนวปฏิบัติไปปรับใช้กับตำบลอื่นๆในอำเภอสิงหนคร เพื่อความต่อเนื่องและยั่งยืนต่อไป
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- เกิดมาตรการในชุมชนเพื่อการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ
- ประชากรกลุ่มปกติ กลุ่มเสี่ยง กลุ่มป่วย มีการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพในทางบวก
- เกิดแกนนำสุขภาพ บุคคลต้นแบบ ผู้นำชุมชนต้นแบบ ชมรมต้นแบบ แปลงผักปลอดสารพิษต้นแบบและปิ่นโตอาหารสุขภาพต้นแบบ
กิจกรรม/การดำเนินงาน
- คัดกรองโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูงในประชากรอายุ ๓๕ ปีขึ้นไป
- เวทีประชาคมคืนข้อมูลสู่ชุมชน
- กิจกรรมอบรมเชิงปฏิบัติการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม (๓ อ ๒ ส) แก่กลุ่มเสี่ยงและกลุ่มป่วยทุกหมู่บ้าน
- กิจกรรมออกกำลังกายเดิน-วิ่ง-เต้น (แอร์โรบิค/บาสโลบ) เพื่อสุขภาพ
- กิจกรรมส่งเสริมการปลูกผักสวนครัวปลอดสารพิษ อย่างน้อย ๕ ชนิดในครัวเรือน
- กิจกรรมรณรงค์โดย อสม. ผู้นำชุมชน ประชาชนทั่วไปเพื่อการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม
- กิจกรรมเสียงตามสายต้านภัยโรคเรื้อรัง โดยบุตรหลาน อสม.
- กิจกรรมติดตามเยี่ยมประเมินพฤติกรรมกลุ่มเสี่ยงหลังเข้าร่วมกิจกรรมปรับเปลี่ยนพฤติกรรม
- มหกรรมสุขภาพหมู่บ้านปรับเปลี่ยนเพื่อสุขภาพ
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
ประชาชนตำบลม่วงงามมีสุขภาพร่างกายและจิตใจดี เจ็บป่วยด้วยโรคเรื้อรังลดลง ส่งผลให้คุณภาพชีวิต เศรษฐกิจของครอบครัว และชุมชนดีขึ้น สามารถนำรูปแบบ แนวปฏิบัติไปปรับใช้กับตำบลอื่นๆในอำเภอสิงหนคร เพื่อความต่อเนื่องและยั่งยืนสืบต่อไป
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ ผลผลิต* ผลผลิตที่ตั้งไว้ ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ สถานการณ์ เป้าหมาย ผลผลิต อธิบาย
1
เกิดมาตรการในชุมชนเพื่อการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ
ตัวชี้วัด : - ทุกหมู่บ้านในพื้นที่ตำบลม่วงงามมีมาตรการชุมชนในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม
0.00
2
ประชากรกลุ่มปกติ กลุ่มเสี่ยง กลุ่มป่วย มีการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพในทางบวก
ตัวชี้วัด : - ประชากรอายุ ๓๕ ปีขึ้นไป มีค่าดัชนีมวลกาย ค่าความดันโลหิต ระดับน้ำตาลในเลือด อยู่ในเกณฑ์ปกติไม่น้อยกว่าร้อยละ ๘๐
0.00
3
เกิดแกนนำสุขภาพ บุคคลต้นแบบ ผู้นำชุมชนต้นแบบ ชมรมต้นแบบ แปลงผักปลอดสารพิษต้นแบบและปิ่นโตอาหารสุขภาพต้นแบบ
ตัวชี้วัด : - เกิดแกนนำสุขภาพ บุคคลต้นแบบ ผู้นำชุมชนต้นแบบ ชมรมต้นแบบ แปลงผักปลอดสารพิษต้นแบบและปิ่นโตอาหารสุขภาพต้นแบบทุกหมู่บ้านในตำบลม่วงงาม
0.00
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด
0
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
-
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
-
กลุ่มวัยทำงาน
-
กลุ่มผู้สูงอายุ
-
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
-
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
-
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
-
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
-
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
-
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เกิดมาตรการในชุมชนเพื่อการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ (2) ประชากรกลุ่มปกติ กลุ่มเสี่ยง กลุ่มป่วย มีการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพในทางบวก (3) เกิดแกนนำสุขภาพ บุคคลต้นแบบ ผู้นำชุมชนต้นแบบ ชมรมต้นแบบ แปลงผักปลอดสารพิษต้นแบบและปิ่นโตอาหารสุขภาพต้นแบบ
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) คัดกรองโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูงในประชากรอายุ ๓๕ ปีขึ้นไป (2) เวทีประชาคมคืนข้อมูลสู่ชุมชน (3) กิจกรรมอบรมเชิงปฏิบัติการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม (๓ อ ๒ ส) แก่กลุ่มเสี่ยงและกลุ่มป่วยทุกหมู่บ้าน (4) กิจกรรมออกกำลังกายเดิน-วิ่ง-เต้น (แอร์โรบิค/บาสโลบ) เพื่อสุขภาพ (5) กิจกรรมส่งเสริมการปลูกผักสวนครัวปลอดสารพิษ อย่างน้อย ๕ ชนิดในครัวเรือน (6) กิจกรรมรณรงค์โดย อสม. ผู้นำชุมชน ประชาชนทั่วไปเพื่อการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม (7) กิจกรรมเสียงตามสายต้านภัยโรคเรื้อรัง โดยบุตรหลาน อสม. (8) กิจกรรมติดตามเยี่ยมประเมินพฤติกรรมกลุ่มเสี่ยงหลังเข้าร่วมกิจกรรมปรับเปลี่ยนพฤติกรรม (9) มหกรรมสุขภาพหมู่บ้านปรับเปลี่ยนเพื่อสุขภาพ
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *- บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
- หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค สาเหตุ ข้อเสนอแนะ
1.ชมรมการออกกำลังกายเพื่อสุขภาพยังไม่ครอบคลุมทุกหมู่บ้าน
2. การปลูกผักปลอดสารพิษในครัวเรือนอย่างน้อย 5 ชนิด ยังไม่ครอบคลุมทุกหลังคาเรือน
- สร้างกระแสพร้อมทั้งกระตุ้นให้ทุกหมู่บ้านมีการรวมกลุ่มจัดตั้งชมรมออกกำลังกายเพื่อสุขภาพผ่านทางชุมชน
- ประชาสัมพันธ์สร้างกระแสให้ประชาชนมีการปลูกผักปลอดสารพิษ อย่างน้อย 5 ชนิด ให้ครอบคลุมทุดหลังคาเรือน
ชาวม่วงงามร่วมใจปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ ป้องกันโรคไม่ติดต่อด้วยการมีส่วนร่วมของชุมชน สู่การจัดการสุขภาพอย่างยั่งยืน จังหวัด สงขลา
รหัสโครงการ
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
................................
( โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลม่วงงาม )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......
โครงการ
“ ชาวม่วงงามร่วมใจปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ ป้องกันโรคไม่ติดต่อด้วยการมีส่วนร่วมของชุมชน สู่การจัดการสุขภาพอย่างยั่งยืน ”
ตำบลม่วงงาม อำเภอสิงหนคร จังหวัดสงขลา
หัวหน้าโครงการ
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลม่วงงาม
กันยายน 2562
ที่อยู่ ตำบลม่วงงาม อำเภอสิงหนคร จังหวัดสงขลา จังหวัด สงขลา
รหัสโครงการ เลขที่ข้อตกลง
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 19 สิงหาคม 2562 ถึง 30 กันยายน 2562
กิตติกรรมประกาศ
"ชาวม่วงงามร่วมใจปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ ป้องกันโรคไม่ติดต่อด้วยการมีส่วนร่วมของชุมชน สู่การจัดการสุขภาพอย่างยั่งยืน จังหวัดสงขลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลม่วงงาม อำเภอสิงหนคร จังหวัดสงขลา
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลเมืองม่วงงาม ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
ชาวม่วงงามร่วมใจปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ ป้องกันโรคไม่ติดต่อด้วยการมีส่วนร่วมของชุมชน สู่การจัดการสุขภาพอย่างยั่งยืน
บทคัดย่อ
โครงการ " ชาวม่วงงามร่วมใจปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ ป้องกันโรคไม่ติดต่อด้วยการมีส่วนร่วมของชุมชน สู่การจัดการสุขภาพอย่างยั่งยืน " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลม่วงงาม อำเภอสิงหนคร จังหวัดสงขลา รหัสโครงการ ระยะเวลาการดำเนินงาน 19 สิงหาคม 2562 - 30 กันยายน 2562 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 178,820.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลเมืองม่วงงาม เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ | » |
บทคัดย่อ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล | » |
วัตถุประสงค์โครงการ | » |
กิจกรรม/การดำเนินงาน | » |
กลุ่มเป้าหมาย | » |
ผลลัพธ์ที่ได้ | » |
การประเมินผล | » |
ปัญหาและอุปสรรค | » |
ข้อเสนอแนะ | » |
เอกสารประกอบอื่นๆ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
องค์การอนามัยโลก(WHO) เล็งเห็นว่ากลุ่มโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง นั้น ถือเป็นปัญหาใหญ่ที่กำลังทวีความรุนแรงขึ้นเรื่อยๆ สังเกตจาก สถิติผู้เสียชีวิตจากกลุ่มโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง ในปี พ.ศ. ๒๕๕๒ พบว่าสาเหตุการเสียชีวิตของประชากรโลกทั้งหมด มีถึง ร้อยละ ๖๓ ที่เกิดจากกลุ่มโรค ไม่ติดต่อเรื้อรัง และที่สำคัญกว่านั้นคือ กว่า ร้อยละ ๘๐ เป็น ประชากรของประเทศที่กำลังพัฒนา
สำหรับประเทศไทยเอง สถิติล่าสุดพบว่ามีถึง ๑๔ ล้านคนที่เป็นโรค ในกลุ่มโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง และที่สำคัญยังถือเป็นสาเหตุหลักของการเสียชีวิต โดยจากสถิติปี พ.ศ. ๒๕๕๒ พบว่า มีประชากรเสีย ชีวิต จากกลุ่มโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง มากกว่า ๓๐๐,๐๐๐ คน หรือร้อยละ ๗๓ ของประชากรไทยทั้งหมดในปี ๒๕๕๒ คิดเป็นมูลค่า ความเสียหายทางเศรษฐกิจถึง ๒๐๐,๐๐๐ ล้านบาทต่อปี ทั้งสถิติการ เสียชีวิตดังกล่าวยังแสดงว่าประเทศไทยมีผู้เสียชีวิตมากกว่าค่าเฉลี่ย ของทั้งโลกและมีแนวโน้มจะสูงขึ้น เรื่อยๆ ในอนาคต ซึ่งโรคในกลุ่ม โรคไม่ติดต่อเรื้อรัง ที่มีอัตราผู้ป่วยและผู้เสียชีวิตสูงสุด ๖ โรค ได้แก่ โรคเบาหวาน โรคหลอดเลือดสมองและหัวใจ โรคถุงลมโป่งพอง โรคมะเร็ง โรคความดันโลหิตสูง และโรคอ้วนลงพุง
จากผลการสำรวจในปี พ.ศ. ๒๕๕๒ กับกลุ่มเป้าหมายประชากรไทยวัยผู้ใหญ่ พบว่า ร้อยละ ๒๑.๔ เป็นโรคความดันโลหิตสูง และที่น่าเป็นห่วงคือ อัตราการรับรู้ว่า ตนเองเป็นโรคความดันโลหิตสูง อัตราการเข้าถึงบริการ และอัตราการควบคุม โรคความดันโลหิตสูงได้นั้นค่อนข้างต่ำร้อยละ๖.๙ ( ๓.๒ ล้านคน ) มีภาวะน้ำตาลในเลือดสูง อัตราการควบคุมได้ในกลุ่ม ผู้ที่มีภาวะน้ำตาลในเลือดสูงยังอยู่ในเกณฑ์ไม่น่าพอใจ โดยเฉพาะประชากร ชายที่มีน้ำตาลในเลือดสูง พบว่า ร้อยละ๕๖.๗ ที่รู้ตัว และมีเพียง ร้อยละ ๒๗.๑ ที่สามารถ ควบคุมภาวะน้ำตาลในเลือดได้ร้อยละ๑๙.๔หรือเกือบ ๙ ล้านคน มีภาวะไขมันคลอเรสเตอรอลสูง โดยผู้หญิงมี ความชุกมากกว่าผู้ชาย ประชากรไทยเกือบ ๑ ใน ๓ เข้าข่ายภาวะน้ำหนักเกิน ส่วนอีก ๘.๕% เข้าข่ายโรคอ้วน
จากข้อมูล HDC รายงานสถาการณ์โรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูงของตำบลม่วงงามย้อนหลัง ๓ ปี ตั้งแต่ ปี ๒๕๕๙ – ๒๕๖๑ ของตำบลม่วงงาม พบว่ามีผู้ป่วยเบาหวานรายใหม่ คิดเป็นร้อยละ ๑.๓ ,๐.๘๘ และ ๑.๕๙ ตามลำดับ ผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูงรายใหม่ คิดเป็นร้อยละ ๔.๗๐ ,๔.๐๐ และ ๑.๗๕ ตามลำดับ ผู้ป่วยสามารถควบคุมระดับน้ำตาลได้ดีน้อยกว่าเกณฑ์มาตรฐาน (ร้อยละ ๔๐) คิดเป็นร้อยละ ๑๐.๒๑ ,๖.๐๘ และ ๑๑.๒๙ ตามลำดับ ควบคุมระดับความดันโลหิตได้ดี ร้อยละ ๓๖.๒๘ ,๓๑.๔๔ และ๓๑.๔๔ ตามลำดับ ซึ่งยังไม่ผ่านเกณฑ์มาตรฐาน (ร้อยละ ๕๐ ) นอกจากข้อมูลดังกล่าวแล้ว ผลการคัดกรองโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูงในประชาการอายุ ๓๕ ปีขึ้นไป ปี ๒๕๖๒ พบกลุ่มเสี่ยงโรคเบาหวาน ๕๕๖ คน (ร้อยละ ๑๑.๗๐) และเสี่ยงต่อโรคความดันโลหิตสูง ๒๑๐ คน (ร้อยละ ๔.๓๔ ) ซึ่งมีแนวโน้มสูงขึ้น
แม้ค่าสถิติการป่วยและเสียชีวิตจากกลุ่มโรคไม่ติดต่อเรื้อรังจะสูงมาก แต่แท้จริงแล้ว กลุ่มโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง นั้นสามารถป้องกันได้ เพราะ สาเหตุหรือปัจจัยเสี่ยงหลักนั้น เกิดจากพฤติกรรมเสี่ยงของตัวเรานั่นเอง อาทิ การดื่มเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ การสูบบุหรี่ ขาดการออกกำลังกาย การรับประทานอาหารหวานมันเค็ม และความเครียด ซึ่งหาก เราสามารถลด หรือ ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมเสี่ยงเหล่านี้ได้ ก็จะเป็นการลด โอกาสเสี่ยงในการเป็นกลุ่มโรคไม่ติดต่อเรื้อรังได้ มากถึง ร้อยละ ๘๐ เลยทีเดียว ลดโอกาส ในการเป็นมะเร็งได้ ร้อยละ ๔๐ โรคหลอดเลือดสมองและหัวใจ และโรคเบาหวาน ประเภทที่ ๒ ได้ถึงร้อยละ ๘๐ ดังนั้น รพ.สต.ม่วงงามจึงเล็งเห็นว่าการกระตุ้นให้ประชาชนปรับเปลี่ยนพฤติกรรม จะเป็นวิธีลดอัตราผู้ป่วยและผู้เสียชีวิตที่ต้นเหตุและ มีความยั่งยืนที่สุด จึงได้จัดทำโครงการชาวม่วงงามร่วมใจปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ ป้องกันโรคไม่ติดต่อด้วยการมีส่วนร่วมของชุมชนสู่การจัดการสุขภาพที่ยั่งยืนขึ้น เพื่อให้ชุมชนร่วมกำหนดมาตรการในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ ประชากรกลุ่มปกติกลุ่มเสี่ยงและกลุ่มป่วยมีพฤติกรรมสุขภาพไปในทางบวกและเกิดบุคคลต้นแบบ ผู้นำต้นแบบ ชุมชนต้นแบบ แปลงผักปลอดสารพิษต้นแบบรวมถึงปิ่นโตสุขภาพต้นแบบ ส่งผลให้ประชาชนตำบลม่วงงามมีสุขภาพร่างกายและจิตใจดี เจ็บป่วยด้วยโรคเรื้อรังลดลง มีคุณภาพชีวิต เศรษฐกิจของครอบครัว ชุมชนดีขึ้น สามารถนำรูปแบบ แนวปฏิบัติไปปรับใช้กับตำบลอื่นๆในอำเภอสิงหนคร เพื่อความต่อเนื่องและยั่งยืนต่อไป
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- เกิดมาตรการในชุมชนเพื่อการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ
- ประชากรกลุ่มปกติ กลุ่มเสี่ยง กลุ่มป่วย มีการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพในทางบวก
- เกิดแกนนำสุขภาพ บุคคลต้นแบบ ผู้นำชุมชนต้นแบบ ชมรมต้นแบบ แปลงผักปลอดสารพิษต้นแบบและปิ่นโตอาหารสุขภาพต้นแบบ
กิจกรรม/การดำเนินงาน
- คัดกรองโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูงในประชากรอายุ ๓๕ ปีขึ้นไป
- เวทีประชาคมคืนข้อมูลสู่ชุมชน
- กิจกรรมอบรมเชิงปฏิบัติการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม (๓ อ ๒ ส) แก่กลุ่มเสี่ยงและกลุ่มป่วยทุกหมู่บ้าน
- กิจกรรมออกกำลังกายเดิน-วิ่ง-เต้น (แอร์โรบิค/บาสโลบ) เพื่อสุขภาพ
- กิจกรรมส่งเสริมการปลูกผักสวนครัวปลอดสารพิษ อย่างน้อย ๕ ชนิดในครัวเรือน
- กิจกรรมรณรงค์โดย อสม. ผู้นำชุมชน ประชาชนทั่วไปเพื่อการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม
- กิจกรรมเสียงตามสายต้านภัยโรคเรื้อรัง โดยบุตรหลาน อสม.
- กิจกรรมติดตามเยี่ยมประเมินพฤติกรรมกลุ่มเสี่ยงหลังเข้าร่วมกิจกรรมปรับเปลี่ยนพฤติกรรม
- มหกรรมสุขภาพหมู่บ้านปรับเปลี่ยนเพื่อสุขภาพ
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้ | |
---|---|---|
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | ||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | ||
กลุ่มวัยทำงาน | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | ||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] |
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
ประชาชนตำบลม่วงงามมีสุขภาพร่างกายและจิตใจดี เจ็บป่วยด้วยโรคเรื้อรังลดลง ส่งผลให้คุณภาพชีวิต เศรษฐกิจของครอบครัว และชุมชนดีขึ้น สามารถนำรูปแบบ แนวปฏิบัติไปปรับใช้กับตำบลอื่นๆในอำเภอสิงหนคร เพื่อความต่อเนื่องและยั่งยืนสืบต่อไป
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์** กิจกรรมของโครงการ | ผลผลิต* | |
---|---|---|
ผลผลิตที่ตั้งไว้ | ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง |
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ | สถานการณ์ | เป้าหมาย | ผลผลิต | อธิบาย | |
---|---|---|---|---|---|
1 | เกิดมาตรการในชุมชนเพื่อการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ ตัวชี้วัด : - ทุกหมู่บ้านในพื้นที่ตำบลม่วงงามมีมาตรการชุมชนในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม |
0.00 |
|
||
2 | ประชากรกลุ่มปกติ กลุ่มเสี่ยง กลุ่มป่วย มีการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพในทางบวก ตัวชี้วัด : - ประชากรอายุ ๓๕ ปีขึ้นไป มีค่าดัชนีมวลกาย ค่าความดันโลหิต ระดับน้ำตาลในเลือด อยู่ในเกณฑ์ปกติไม่น้อยกว่าร้อยละ ๘๐ |
0.00 |
|
||
3 | เกิดแกนนำสุขภาพ บุคคลต้นแบบ ผู้นำชุมชนต้นแบบ ชมรมต้นแบบ แปลงผักปลอดสารพิษต้นแบบและปิ่นโตอาหารสุขภาพต้นแบบ ตัวชี้วัด : - เกิดแกนนำสุขภาพ บุคคลต้นแบบ ผู้นำชุมชนต้นแบบ ชมรมต้นแบบ แปลงผักปลอดสารพิษต้นแบบและปิ่นโตอาหารสุขภาพต้นแบบทุกหมู่บ้านในตำบลม่วงงาม |
0.00 |
|
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
---|---|---|---|
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด | 0 | ||
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | |||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | - | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | - | ||
กลุ่มวัยทำงาน | - | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | - | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | |||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | - | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | - | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | - | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | - | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] | - |
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เกิดมาตรการในชุมชนเพื่อการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ (2) ประชากรกลุ่มปกติ กลุ่มเสี่ยง กลุ่มป่วย มีการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพในทางบวก (3) เกิดแกนนำสุขภาพ บุคคลต้นแบบ ผู้นำชุมชนต้นแบบ ชมรมต้นแบบ แปลงผักปลอดสารพิษต้นแบบและปิ่นโตอาหารสุขภาพต้นแบบ
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) คัดกรองโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูงในประชากรอายุ ๓๕ ปีขึ้นไป (2) เวทีประชาคมคืนข้อมูลสู่ชุมชน (3) กิจกรรมอบรมเชิงปฏิบัติการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม (๓ อ ๒ ส) แก่กลุ่มเสี่ยงและกลุ่มป่วยทุกหมู่บ้าน (4) กิจกรรมออกกำลังกายเดิน-วิ่ง-เต้น (แอร์โรบิค/บาสโลบ) เพื่อสุขภาพ (5) กิจกรรมส่งเสริมการปลูกผักสวนครัวปลอดสารพิษ อย่างน้อย ๕ ชนิดในครัวเรือน (6) กิจกรรมรณรงค์โดย อสม. ผู้นำชุมชน ประชาชนทั่วไปเพื่อการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม (7) กิจกรรมเสียงตามสายต้านภัยโรคเรื้อรัง โดยบุตรหลาน อสม. (8) กิจกรรมติดตามเยี่ยมประเมินพฤติกรรมกลุ่มเสี่ยงหลังเข้าร่วมกิจกรรมปรับเปลี่ยนพฤติกรรม (9) มหกรรมสุขภาพหมู่บ้านปรับเปลี่ยนเพื่อสุขภาพ
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค | สาเหตุ | ข้อเสนอแนะ |
---|---|---|
1.ชมรมการออกกำลังกายเพื่อสุขภาพยังไม่ครอบคลุมทุกหมู่บ้าน 2. การปลูกผักปลอดสารพิษในครัวเรือนอย่างน้อย 5 ชนิด ยังไม่ครอบคลุมทุกหลังคาเรือน |
|
|
ชาวม่วงงามร่วมใจปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ ป้องกันโรคไม่ติดต่อด้วยการมีส่วนร่วมของชุมชน สู่การจัดการสุขภาพอย่างยั่งยืน จังหวัด สงขลา
รหัสโครงการ
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
( โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลม่วงงาม )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......