กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.บ้านควน


“ โครงการคัดกรอง เฝ้าระวัง ป้องกัน ภาวะแทรกซ้อน ในผู้ป่วยโรคเรื้อรัง ปี 2563 ”

ตำบลบ้านควน อำเภอเมืองสตูล จังหวัดสตูล

หัวหน้าโครงการ
นางสุภา นวลดุก นักวิชาการสาธารณสุขชำนาญการ ปฏิบัติราชการแทน ผอ.รพ.สต.บ้านควน 1

ชื่อโครงการ โครงการคัดกรอง เฝ้าระวัง ป้องกัน ภาวะแทรกซ้อน ในผู้ป่วยโรคเรื้อรัง ปี 2563

ที่อยู่ ตำบลบ้านควน อำเภอเมืองสตูล จังหวัดสตูล จังหวัด สตูล

รหัสโครงการ 63-L5301-1-02 เลขที่ข้อตกลง 06/2563

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 มกราคม 2563 ถึง 31 สิงหาคม 2563


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการคัดกรอง เฝ้าระวัง ป้องกัน ภาวะแทรกซ้อน ในผู้ป่วยโรคเรื้อรัง ปี 2563 จังหวัดสตูล" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลบ้านควน อำเภอเมืองสตูล จังหวัดสตูล

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.บ้านควน ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการคัดกรอง เฝ้าระวัง ป้องกัน ภาวะแทรกซ้อน ในผู้ป่วยโรคเรื้อรัง ปี 2563



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการคัดกรอง เฝ้าระวัง ป้องกัน ภาวะแทรกซ้อน ในผู้ป่วยโรคเรื้อรัง ปี 2563 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลบ้านควน อำเภอเมืองสตูล จังหวัดสตูล รหัสโครงการ 63-L5301-1-02 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 มกราคม 2563 - 31 สิงหาคม 2563 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 20,300.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.บ้านควน เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 318 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

โรคกลุ่ม NCDs (Non-communicable diseases) คือ โรคที่ไม่ติดต่อ ไม่ว่าจะเป็นการสัมผัส คลุกคลี หรือมีการสัมผัสกับสารคัดหลั่งต่าง ๆ เพราะโรคของกลุ่มนี้ไม่ได้เกิดจากเชื้อโรค โรคในกลุ่ม NCDs เป็นโรคที่มีความสัมพันธ์กับนิสัยหรือพฤติกรรมการดำเนินชีวิต การเจริญเติบโตของโรคจะค่อยๆสะสมอาการทีละนิด ค่อยๆ เกิดและค่อยๆทวีความรุนแรง สุดท้ายจะเกิดอาการเรื้อรังในที่สุด หากไม่ได้รับการรักษาหรือดูแลอย่างถูกต้องและทันเวลา ซึ่งส่งผลกระทบอย่างมากต่อการดำเนินชีวิตของผู้ป่วยและคนรอบข้างข้อมูลจากองค์การอนามัยโลกระบุว่า ตลอดช่วงเวลา 10 ปีที่ผ่านมา กลุ่ม โรคไม่ติดต่อ NCDs เป็นสาเหตุการตายอันดับหนึ่งของคนไทย โดยมีคนไทยป่วยเป็น โรค NCDs ถึง 14 ล้านคน เสียชีวิตปีละกว่า 300,000 คน และคาดว่ามีแนวโน้มที่จะเพิ่มมากขึ้นในทุกๆ ปี ซึ่งส่วนใหญ่เสียชีวิตก่อนอายุ 60 ปี โรคไม่ติดต่อเรื้อรัง เป็นโรคที่มีภาวะแทรกซ้อนที่อันตรายต่อชีวิต มักเกิดขึ้นแบบเรื้อรังหรือแบบเฉียบพลันดังข้อมูลสถิติย้อนหลัง 3 ปี ตั้งแต่ปี2559 ถึง 2561ดังตาราง ต่อไปนี้ จำนวนและอัตราตายด้วยโรคไม่ติดต่อต่อแสนประชากร ทั้งหมดในประเทศไทย ปี 2559 – 2561 โรค โรคความดันโลหิตสูง โรคเบาหวาน โรคหลอดเลือดสมอง ปี พ.ศ. จำนวน(คน) อัตราจำนวน (คน) อัตรา จำนวน (คน) อัตรา 25597,930 12.0514,487 22.0131,68548.13 25608,525 13.07 14,322 21.9631,17247.81 25618,590 13.13 14,305 21.8730,83747.15

จำนวนและอัตราตายด้วยโรคไม่ติดต่อ ต่อแสนประชากร ในจังหวัดสตูล ปี 2559 – 2561 โรคโรคความดันโลหิตสูงโรคเบาหวาน โรคหลอดเลือดสมอง ปี พ.ศ. จำนวน (คน) อัตรา จำนวน (คน)อัตรา จำนวน (คน)อัตรา 25594815.15 50 15.78 103 32.52 2560 6319.8072 22.13 112 35.20112 35.20 2561 7824.3682 25.61 122 38.11122 38.11 ข้อมูล ณ วันที่ 18 ตุลาคม 2562 กองยุทธศาสตร์และแผนงานสำนักปลัดกระทรวงสาธารณสุข จากข้อมูลตารางข้างต้น จะเห็นได้ว่า อัตราการตายด้วยโรคไม่ติดต่อเรื้อรังเพิ่มขึ้นทุกปีซึ่งปัญหาดังกล่าว
ปัจจุบันเป็นปัญหาสาธารณสุขที่สำคัญโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง เช่น โรคความดันโลหิตสูง โรคเบาหวาน เป็นโรคที่มี ภาวะแทรกซ้อนที่อันตราย เช่น ภาวะแทรกซ้อนทางสมองตา ไต เท้า ฟัน และภาวะซึมเศร้าภาวะแทรกซ้อนดังกล่าว ผู้ป่วยจะต้องได้รับการตรวจคัดกรองปีละครั้งเพื่อค้นหา เฝ้าระวังติดตาม ป้องกัน ภาวะแทรกซ้อนดังกล่าวและดูแลผู้ป่วยที่มีปัญหา ให้ได้รับการดูแลรักษา อย่างต่อเนื่อง รวดเร็ว รพ.สต.ตำบลบ้านควน มีผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูง จำนวน 224 คนโรคเบาหวานอย่างเดียว จำนวน23 คนและโรคความดันโลหิตสูงและโรคเบาหวาน จำนวน71 คนรวมทั้งหมด 318 คน กลุ่มป่วยดังกล่าวมีภาวะแทรกซ้อนทางสมองจำนวน5 คน คิดเป็นร้อยละ 1.57 (เป้าหมาย 318 คน)ทางตา จำนวน 7 คน คิดเป็นร้อยละ 7.44 (เป้าหมาย 94 คน) ไตวายเรื้อรัง จำนวน 1 คน คิดเป็นร้อยละ 0.13 (เป้าหมาย 318 คน) เพื่อเป็นการเฝ้าระวังอันตรายจากภาวะแทรกซ้อนจากโรคเรื้อรังรพ.สต.ตำบลบ้านควน จึงจัดทำโครงการคัดกรอง ค้นหา เฝ้าระวัง ป้องกัน ภาวะแทรกซ้อน ในผู้ป่วยโรคเรื้อรัง ปี 2563 ขึ้นเพื่อดำเนินงานให้บรรลุตามวัตถุประสงค์ เป็นไปตามตัวชี้วัดตามที่กระทรวงสาธารสุขได้กำหนดไว้ และให้เกิดประโยชน์สูงสุดแก่ประชาชน ที่มีปัญหา เจ็บป่วยด้วยโรคเรื้อรัง มีคุณภาพชีวิตที่ดีต่อไป

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อให้ผู้ป่วยโรคเบาหวานได้รับการคัดกรองภาวะแทรกซ้อนทางตา ไต เท้า ฟัน และภาวะซึมเศร้า
  2. เพื่อให้ผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูงได้รับการคัดกรองภาวะแทรกซ้อนทางไต
  3. เพื่อให้ผู้ป่วยโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูงที่มีภาวะแทรกซ้อน ได้รับการดูแลต่อเนื่อง ส่งต่อ

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. คัดกรองภาวะแทรกซ้อนทางไต
  2. คัดกรองการมองเห็นเบื้องต้น (VA) และคัดกรองภาวะซึมเศร้า
  3. ติดตามภาวะสุขภาพกลุ่มป่วยติดเตียงและกลุ่มที่มีปัญหาต้องติดตามต่อเนื่องที่บ้าน

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง 318
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

  1. ผู้ป่วยโรคเบาหวานทุกราย ได้รับการคัดกรองภาวะแทรกซ้อนทางตา ไต เท้า ฟัน และภาวะซึมเศร้า
  2. ผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูงทุกราย ได้รับการคัดกรองภาวะแทรกซ้อนทางไต
  3. ผู้ป่วยโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูงที่มีภาวะแทรกซ้อน ได้รับการดูแลต่อเนื่อง ส่งต่อ ทุกราย

ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อให้ผู้ป่วยโรคเบาหวานได้รับการคัดกรองภาวะแทรกซ้อนทางตา ไต เท้า ฟัน และภาวะซึมเศร้า
ตัวชี้วัด : ร้อยละ 100 ของผู้ป่วยโรคเบาหวานได้รับการคัดกรองภาวะแทรกซ้อนทางตา ไต เท้า ฟัน และภาวะซึมเศร้า
84.04 100.00 100.00

 

2 เพื่อให้ผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูงได้รับการคัดกรองภาวะแทรกซ้อนทางไต
ตัวชี้วัด : ร้อยละ 100 ของผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูงได้รับการคัดกรองภาวะแทรกซ้อนทางไต
89.62 100.00 100.00

 

3 เพื่อให้ผู้ป่วยโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูงที่มีภาวะแทรกซ้อน ได้รับการดูแลต่อเนื่อง ส่งต่อ
ตัวชี้วัด : ร้อยละ 100 ของผู้ป่วยโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูงที่มีภาวะแทรกซ้อน ได้รับการดูแลต่อเนื่อง ส่งต่อ
100.00 100.00 100.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 318 318
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง 318 318
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อให้ผู้ป่วยโรคเบาหวานได้รับการคัดกรองภาวะแทรกซ้อนทางตา ไต เท้า ฟัน และภาวะซึมเศร้า (2) เพื่อให้ผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูงได้รับการคัดกรองภาวะแทรกซ้อนทางไต (3) เพื่อให้ผู้ป่วยโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูงที่มีภาวะแทรกซ้อน ได้รับการดูแลต่อเนื่อง ส่งต่อ

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) คัดกรองภาวะแทรกซ้อนทางไต (2) คัดกรองการมองเห็นเบื้องต้น (VA) และคัดกรองภาวะซึมเศร้า (3) ติดตามภาวะสุขภาพกลุ่มป่วยติดเตียงและกลุ่มที่มีปัญหาต้องติดตามต่อเนื่องที่บ้าน

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการคัดกรอง เฝ้าระวัง ป้องกัน ภาวะแทรกซ้อน ในผู้ป่วยโรคเรื้อรัง ปี 2563 จังหวัด สตูล

รหัสโครงการ 63-L5301-1-02

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นางสุภา นวลดุก นักวิชาการสาธารณสุขชำนาญการ ปฏิบัติราชการแทน ผอ.รพ.สต.บ้านควน 1 )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด