โครงการคนนาทอน อ่อนหวาน ดันดี ประจำปีงบประมาณ 2563
แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์
รายงานฉบับสมบูรณ์
โครงการ
“ โครงการคนนาทอน อ่อนหวาน ดันดี ประจำปีงบประมาณ 2563 ”
อำเภอทุ่งหว้า จังหวัดสตูล
หัวหน้าโครงการ
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลนาทอน
ได้รับการสนับสนุนโดย กองทุนสุขภาพตำบล อบต.นาทอน
กันยายน 2563
ชื่อโครงการ โครงการคนนาทอน อ่อนหวาน ดันดี ประจำปีงบประมาณ 2563
ที่อยู่ อำเภอทุ่งหว้า จังหวัดสตูล จังหวัด สตูล
รหัสโครงการ 63-L5294-1-01 เลขที่ข้อตกลง 20/63
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 มีนาคม 2563 ถึง 30 กันยายน 2563
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการคนนาทอน อ่อนหวาน ดันดี ประจำปีงบประมาณ 2563 จังหวัดสตูล" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน อำเภอทุ่งหว้า จังหวัดสตูล
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.นาทอน ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการคนนาทอน อ่อนหวาน ดันดี ประจำปีงบประมาณ 2563
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการคนนาทอน อ่อนหวาน ดันดี ประจำปีงบประมาณ 2563 " ดำเนินการในพื้นที่ อำเภอทุ่งหว้า จังหวัดสตูล รหัสโครงการ 63-L5294-1-01 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 มีนาคม 2563 - 30 กันยายน 2563 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 30,000.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.นาทอน เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ »
บทคัดย่อ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล »
วัตถุประสงค์โครงการ »
กิจกรรม/การดำเนินงาน »
กลุ่มเป้าหมาย »
ผลลัพธ์ที่ได้ »
การประเมินผล »
ปัญหาและอุปสรรค »
ข้อเสนอแนะ »
เอกสารประกอบอื่นๆ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
ปัจจุบัน ทั่วโลกให้ความสำคัญกับการจัดการโรคไม่ติดต่อเรื้อรังมากขึ้น เนื่องจากสภาวะความเป็นอยู่และวิถีชีวิตที่เปลี่ยนไป ทำให้ผู้ป่วยกลุ่มนี้มีจำนวนเพิ่มขึ้น จากการสำรวจสุขภาพประชาชนไทยฯครั้งที่ 5 พ.ศ. 2557 พบว่าสัดส่วนของผู้เป็นเบาหวานที่ไม่ทราบว่าตนองเป็นเบาหวาน เพิ่มขึ้นจากร้อยละ 31.2 ในปี 2552 เป็นร้อยละ 43.1 ในปี 2557 และ ผู้ที่เป็นความดันฯสูงไม่ทราบว่าตนเองเป็นความดันฯสูง จากร้อยละ 50.3 ในปี 2552 เป็นร้อยละ 44.7 ในปี 2557 แสดงให้เห็นว่าผู้ใหญ่ไทยที่เป็นเบาหวานและ/หรือความดันฯสูง มากกว่าร้อยละ 40 ไม่ได้รับการวินิจฉัยจากวิธีการคัดกรองที่ผ่านมา ดังนั้น แนวทางเวชปฏิบัติสำหรับโรคเบาหวาน พ.ศ. 2560 และแนวทางการรักษาโรคความดันโลหิตสูงในเวชปฏิบัติทั่วไป พ.ศ. 2562 จึงได้กำหนดวิธีการคัดกรอง วินิจฉัย ขึ้นทะเบียนและรักษา เพื่อแก้ปัญหาดังกล่าว
การคัดกรอง-วินิจฉัยและประเมินความเสี่ยงฯ ทำให้สามารถพบกลุ่มที่มีโอกาสเสี่ยงต่อการเกิดโรค กลุ่มสงสัยป่วยหรือกลุ่มป่วยแล้วแต่ยังไม่ได้รับการตรวจคัดกรอง-วินิจฉัยแต่แรก การดูแลกลุ่มเสี่ยง กลุ่มสงสัยป่วยดังกล่าว ทั้งที่มีและไม่มีอาการ โดยการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมและวิถีชีวิตที่ไม่เหมาะสมอย่างเข้มข้น เพื่อลดปัจจัยเสี่ยงต่อการเกิดโรคเบาหวาน และโรคความดันโลหิตสูง สามารถป้องกันและยืดระยะเวลาการเป็นโรคออกไปได้ถึงร้อยละ 50 จึงเป็นวิธีการป้องกันการเกิดโรคฯ ที่ดีที่สุด
พบความชุกของโรคเบาหวานในประชาไทยอายุ 15 ปีขึ้นไป คิดเป็นร้อยละ 6.9 ทั้งนี้พบว่าหนึ่งในสามของผู้ที่เป็นเบาหวานไม่เคยได้รับการวินิจฉัยว่าเป็นเบาหวานมาก่อน และมีผู้ที่ได้รับการวินิจฉัยว่าเป็นเบาหวานแต่ไม่ได้รับการรักษา คิดเป็นร้อยละ 3.3 สำหรับความชุกของโรคความดันโลหิตสูงในประชากรไทยอายุ 15 ปีขึ้นไป พบร้อยละ 21.4 โดยพบว่าร้อยละ 60 ในชาย และร้อยละ 40 ในหญิง ไม่เคยได้รับการวินิจฉัยมาก่อน และร้อยละ 8-9 ได้รับการวินิจฉัยแต่ไม่ได้รับการรักษาทั้งนี้สถิติจากประเทศต่างๆ พบว่าผู้ป่วยความดันโลหิตสูงส่วนใหญ่ยังไม่สามารถควบคุมความดันโลหิตให้อยู่ในเกณฑ์ที่เหมาะสม กระทรวงสาธารณสุข และสำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ จึงมีมาตรการเชิงรุกในการป้องกันและแก้ไขปัญหาโรค Metabolic โดยมีการคัดกรองพฤติกรรมเสี่ยงต่อการเกิดโรค ในกลุ่มเป้าหมายคือ ประชากรกลุ่มอายุ 15 ปีขึ้นไปทุกราย ด้วยการสัมภาษณ์โดยใช้แบบสอบถาม (Verbal Screening) การวัดความดันโลหิต การชั่งน้ำหนัก วัดความสูง และการวัดเส้นรอบพุง เพื่อค้นหาพฤติกรรมเสี่ยง และค้นหาโรคในระยะเริ่มต้น กลุ่มเสี่ยงต้องได้รับการตรวจยืนยันความเสี่ยงต่อโรค Metabolic โดยบุคลากรสาธารณสุข เพื่อที่จะมีการดำเนินการปรับปรุงเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 ส่วนกลุ่มที่สงสัยจะเป็นโรคก็ส่งไปรับการรักษาตั้งแต่เริ่มแรกทุกราย ซึ่งจะช่วยลดความรุนแรงของโรคในรายที่ป่วยแล้ว และกำหนดให้มีการบันทึกข้อมูลลงตามโปรแกรมคัดกรองความเสี่ยงโรค Metabolic ปี 2559 ของสำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติด้วย สถานการณ์โรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูงของรพ.สต.นาทอนปี 2561 และปี 2562 พบว่า มีผู้ป่วยดังนี้ โรคเบาหวาน จำนวน 121 , 119 ราย โรคความดันโลหิตสูง จำนวน 121 , 119 ราย กลุ่มเสี่ยงป่วยดังนี้ โรคเบาหวาน จำนวน 449 , 395 ราย โรคความดันโลหิตสูง จำนวน 312 , 287 ราย ตามลำดับ จึงได้จัดทำโครงการคนนาทอน อ่อนหวาน ดันดี ประจำปีงบประมาณ 2563 ในประชากรกลุ่มอายุ15 – 34 ปีและ 35 ปีขึ้นไป เพื่อให้การดำเนินงานตรวจคัดกรองความเสี่ยง บรรลุตามตัวชี้วัด เป็นการค้นหากลุ่มเสี่ยงโรคเรื้อรังได้รับการเปลี่ยนพฤติกรรม เข้าใจหลักการดำเนินชีวิตที่ปลอดภัยจากโรคเรื้อรัง สามารถนำไปใช้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมตนเองและครอบครัวกลุ่มผู้ป่วยได้รับการส่งต่อเพื่อการรักษาที่ถูกต้อง เพื่อลดภาวะแทรกซ้อนที่เกิดขึ้น ลดปัญหาค่าใช้จ่ายที่ต้องเป็นภาระตลอดไป ติดตามวัดความดันโลหิตที่บ้าน และคิดค้นนวัตกรรมแบบคัดกรองโรค
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- เพื่อออกแบบเครื่องมือการคัดกรอง
- เพื่อให้ผู้ที่มีภาวะเสี่ยงต่อโรคเบาหวาน/ความดันโลหิตสูง ได้รับความรู้และทักษะการปฏิบัติตน
- เพื่อลดจำนวนผู้ป่วยกลุ่มเสี่ยงความดันโลหิตสูง เบาหวาน
- เพื่อให้กลุ่มเสี่ยงป่วยโรคความดันโลหิตสูง ได้รับการติดตามวัดความดันโลหิตที่บ้าน
กิจกรรม/การดำเนินงาน
- เขียนโครงการเพื่อขออนุมัติ
- ประชุมชี้แจงโครงการแก่ จนท.และอสม.
- ประชาสัมพันธ์โครงการในพื้นที่ ม.1, ม.2, ม.3, ม.6, และม.7ต.นาทอน
- จัดทำทะเบียนกลุ่มเสี่ยงโรคเบาหวานแบะความดันโลหิตสูง
- จัดอบรมปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพในกลุ่มเสี่ยง
- ติดตามวัดความดันโลหิตในกลุ่มเสี่ยงป่วยที่บ้าน (วันละ 4 ครั้ง เช้า 2 ครั้ง ก่อนนอน 2 ครั้งนาน 7 วัน)
- ประชุมเชิงปฏิบัติการสรุปผลการทดลองใช้แบบคัดกรองที่คิดค้นขึ้นใหม่
- สรุปและรวบรวมผลการดำเนินงาน
- ประชุมเชิงปฏิบัติการ เพื่อออกแบบคัดกรอง และให้ความรู้ อสม. จำนวน 63 คน
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
49
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
อสม.
63
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
1.นวัตกรรมแบบคัดกรองโรค
2.กลุ่มเสี่ยงเบาหวาน ความดันโลหิตสูงมีความรู้และทักษะการปฏิบัติตน
3.จำนวนผู้ป่วยกลุ่มเสี่ยงโรคเบาหวาน และโรคความดันโลหิตสูงลดลง
4.กลุ่มเสี่ยงป่วยโรคความดันโลหิตได้รับการติดตามวัดความดันที่บ้าน
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ ผลผลิต* ผลผลิตที่ตั้งไว้ ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ สถานการณ์ เป้าหมาย ผลผลิต อธิบาย
1
เพื่อออกแบบเครื่องมือการคัดกรอง
ตัวชี้วัด : มีแบบคัดกรอง 1 ชิ้น
0.00
2
เพื่อให้ผู้ที่มีภาวะเสี่ยงต่อโรคเบาหวาน/ความดันโลหิตสูง ได้รับความรู้และทักษะการปฏิบัติตน
ตัวชี้วัด : กลุ่มเสี่ยงเบาหวาน ความดันโลหิตสูงมีความรู้และทักษะการปฏิบัติตน
0.00
3
เพื่อลดจำนวนผู้ป่วยกลุ่มเสี่ยงความดันโลหิตสูง เบาหวาน
ตัวชี้วัด : จำนวนผู้ป่วยกลุ่มเสี่ยงความดันโลหิตสูง เบาหวานลดลง
0.00
4
เพื่อให้กลุ่มเสี่ยงป่วยโรคความดันโลหิตสูง ได้รับการติดตามวัดความดันโลหิตที่บ้าน
ตัวชี้วัด : เพื่อให้กลุ่มเสี่ยงป่วยโรคความดันโลหิตสูง ได้รับการติดตามวัดความดันโลหิตที่บ้านร้อยละ 90
0.00
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด
112
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
-
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
-
กลุ่มวัยทำงาน
0
กลุ่มผู้สูงอายุ
-
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
-
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
-
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
-
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
49
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
-
อสม.
63
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อออกแบบเครื่องมือการคัดกรอง (2) เพื่อให้ผู้ที่มีภาวะเสี่ยงต่อโรคเบาหวาน/ความดันโลหิตสูง ได้รับความรู้และทักษะการปฏิบัติตน (3) เพื่อลดจำนวนผู้ป่วยกลุ่มเสี่ยงความดันโลหิตสูง เบาหวาน (4) เพื่อให้กลุ่มเสี่ยงป่วยโรคความดันโลหิตสูง ได้รับการติดตามวัดความดันโลหิตที่บ้าน
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) เขียนโครงการเพื่อขออนุมัติ (2) ประชุมชี้แจงโครงการแก่ จนท.และอสม. (3) ประชาสัมพันธ์โครงการในพื้นที่ ม.1, ม.2, ม.3, ม.6, และม.7ต.นาทอน (4) จัดทำทะเบียนกลุ่มเสี่ยงโรคเบาหวานแบะความดันโลหิตสูง (5) จัดอบรมปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพในกลุ่มเสี่ยง (6) ติดตามวัดความดันโลหิตในกลุ่มเสี่ยงป่วยที่บ้าน (วันละ 4 ครั้ง เช้า 2 ครั้ง ก่อนนอน 2 ครั้งนาน 7 วัน) (7) ประชุมเชิงปฏิบัติการสรุปผลการทดลองใช้แบบคัดกรองที่คิดค้นขึ้นใหม่ (8) สรุปและรวบรวมผลการดำเนินงาน (9) ประชุมเชิงปฏิบัติการ เพื่อออกแบบคัดกรอง และให้ความรู้ อสม. จำนวน 63 คน
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *- บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
- หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค สาเหตุ ข้อเสนอแนะ
โครงการคนนาทอน อ่อนหวาน ดันดี ประจำปีงบประมาณ 2563 จังหวัด สตูล
รหัสโครงการ 63-L5294-1-01
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
................................
( โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลนาทอน )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......
โครงการ
“ โครงการคนนาทอน อ่อนหวาน ดันดี ประจำปีงบประมาณ 2563 ”
อำเภอทุ่งหว้า จังหวัดสตูล
หัวหน้าโครงการ
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลนาทอน
กันยายน 2563
ที่อยู่ อำเภอทุ่งหว้า จังหวัดสตูล จังหวัด สตูล
รหัสโครงการ 63-L5294-1-01 เลขที่ข้อตกลง 20/63
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 มีนาคม 2563 ถึง 30 กันยายน 2563
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการคนนาทอน อ่อนหวาน ดันดี ประจำปีงบประมาณ 2563 จังหวัดสตูล" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน อำเภอทุ่งหว้า จังหวัดสตูล
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.นาทอน ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการคนนาทอน อ่อนหวาน ดันดี ประจำปีงบประมาณ 2563
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการคนนาทอน อ่อนหวาน ดันดี ประจำปีงบประมาณ 2563 " ดำเนินการในพื้นที่ อำเภอทุ่งหว้า จังหวัดสตูล รหัสโครงการ 63-L5294-1-01 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 มีนาคม 2563 - 30 กันยายน 2563 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 30,000.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.นาทอน เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ | » |
บทคัดย่อ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล | » |
วัตถุประสงค์โครงการ | » |
กิจกรรม/การดำเนินงาน | » |
กลุ่มเป้าหมาย | » |
ผลลัพธ์ที่ได้ | » |
การประเมินผล | » |
ปัญหาและอุปสรรค | » |
ข้อเสนอแนะ | » |
เอกสารประกอบอื่นๆ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
ปัจจุบัน ทั่วโลกให้ความสำคัญกับการจัดการโรคไม่ติดต่อเรื้อรังมากขึ้น เนื่องจากสภาวะความเป็นอยู่และวิถีชีวิตที่เปลี่ยนไป ทำให้ผู้ป่วยกลุ่มนี้มีจำนวนเพิ่มขึ้น จากการสำรวจสุขภาพประชาชนไทยฯครั้งที่ 5 พ.ศ. 2557 พบว่าสัดส่วนของผู้เป็นเบาหวานที่ไม่ทราบว่าตนองเป็นเบาหวาน เพิ่มขึ้นจากร้อยละ 31.2 ในปี 2552 เป็นร้อยละ 43.1 ในปี 2557 และ ผู้ที่เป็นความดันฯสูงไม่ทราบว่าตนเองเป็นความดันฯสูง จากร้อยละ 50.3 ในปี 2552 เป็นร้อยละ 44.7 ในปี 2557 แสดงให้เห็นว่าผู้ใหญ่ไทยที่เป็นเบาหวานและ/หรือความดันฯสูง มากกว่าร้อยละ 40 ไม่ได้รับการวินิจฉัยจากวิธีการคัดกรองที่ผ่านมา ดังนั้น แนวทางเวชปฏิบัติสำหรับโรคเบาหวาน พ.ศ. 2560 และแนวทางการรักษาโรคความดันโลหิตสูงในเวชปฏิบัติทั่วไป พ.ศ. 2562 จึงได้กำหนดวิธีการคัดกรอง วินิจฉัย ขึ้นทะเบียนและรักษา เพื่อแก้ปัญหาดังกล่าว การคัดกรอง-วินิจฉัยและประเมินความเสี่ยงฯ ทำให้สามารถพบกลุ่มที่มีโอกาสเสี่ยงต่อการเกิดโรค กลุ่มสงสัยป่วยหรือกลุ่มป่วยแล้วแต่ยังไม่ได้รับการตรวจคัดกรอง-วินิจฉัยแต่แรก การดูแลกลุ่มเสี่ยง กลุ่มสงสัยป่วยดังกล่าว ทั้งที่มีและไม่มีอาการ โดยการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมและวิถีชีวิตที่ไม่เหมาะสมอย่างเข้มข้น เพื่อลดปัจจัยเสี่ยงต่อการเกิดโรคเบาหวาน และโรคความดันโลหิตสูง สามารถป้องกันและยืดระยะเวลาการเป็นโรคออกไปได้ถึงร้อยละ 50 จึงเป็นวิธีการป้องกันการเกิดโรคฯ ที่ดีที่สุด พบความชุกของโรคเบาหวานในประชาไทยอายุ 15 ปีขึ้นไป คิดเป็นร้อยละ 6.9 ทั้งนี้พบว่าหนึ่งในสามของผู้ที่เป็นเบาหวานไม่เคยได้รับการวินิจฉัยว่าเป็นเบาหวานมาก่อน และมีผู้ที่ได้รับการวินิจฉัยว่าเป็นเบาหวานแต่ไม่ได้รับการรักษา คิดเป็นร้อยละ 3.3 สำหรับความชุกของโรคความดันโลหิตสูงในประชากรไทยอายุ 15 ปีขึ้นไป พบร้อยละ 21.4 โดยพบว่าร้อยละ 60 ในชาย และร้อยละ 40 ในหญิง ไม่เคยได้รับการวินิจฉัยมาก่อน และร้อยละ 8-9 ได้รับการวินิจฉัยแต่ไม่ได้รับการรักษาทั้งนี้สถิติจากประเทศต่างๆ พบว่าผู้ป่วยความดันโลหิตสูงส่วนใหญ่ยังไม่สามารถควบคุมความดันโลหิตให้อยู่ในเกณฑ์ที่เหมาะสม กระทรวงสาธารณสุข และสำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ จึงมีมาตรการเชิงรุกในการป้องกันและแก้ไขปัญหาโรค Metabolic โดยมีการคัดกรองพฤติกรรมเสี่ยงต่อการเกิดโรค ในกลุ่มเป้าหมายคือ ประชากรกลุ่มอายุ 15 ปีขึ้นไปทุกราย ด้วยการสัมภาษณ์โดยใช้แบบสอบถาม (Verbal Screening) การวัดความดันโลหิต การชั่งน้ำหนัก วัดความสูง และการวัดเส้นรอบพุง เพื่อค้นหาพฤติกรรมเสี่ยง และค้นหาโรคในระยะเริ่มต้น กลุ่มเสี่ยงต้องได้รับการตรวจยืนยันความเสี่ยงต่อโรค Metabolic โดยบุคลากรสาธารณสุข เพื่อที่จะมีการดำเนินการปรับปรุงเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 ส่วนกลุ่มที่สงสัยจะเป็นโรคก็ส่งไปรับการรักษาตั้งแต่เริ่มแรกทุกราย ซึ่งจะช่วยลดความรุนแรงของโรคในรายที่ป่วยแล้ว และกำหนดให้มีการบันทึกข้อมูลลงตามโปรแกรมคัดกรองความเสี่ยงโรค Metabolic ปี 2559 ของสำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติด้วย สถานการณ์โรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูงของรพ.สต.นาทอนปี 2561 และปี 2562 พบว่า มีผู้ป่วยดังนี้ โรคเบาหวาน จำนวน 121 , 119 ราย โรคความดันโลหิตสูง จำนวน 121 , 119 ราย กลุ่มเสี่ยงป่วยดังนี้ โรคเบาหวาน จำนวน 449 , 395 ราย โรคความดันโลหิตสูง จำนวน 312 , 287 ราย ตามลำดับ จึงได้จัดทำโครงการคนนาทอน อ่อนหวาน ดันดี ประจำปีงบประมาณ 2563 ในประชากรกลุ่มอายุ15 – 34 ปีและ 35 ปีขึ้นไป เพื่อให้การดำเนินงานตรวจคัดกรองความเสี่ยง บรรลุตามตัวชี้วัด เป็นการค้นหากลุ่มเสี่ยงโรคเรื้อรังได้รับการเปลี่ยนพฤติกรรม เข้าใจหลักการดำเนินชีวิตที่ปลอดภัยจากโรคเรื้อรัง สามารถนำไปใช้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมตนเองและครอบครัวกลุ่มผู้ป่วยได้รับการส่งต่อเพื่อการรักษาที่ถูกต้อง เพื่อลดภาวะแทรกซ้อนที่เกิดขึ้น ลดปัญหาค่าใช้จ่ายที่ต้องเป็นภาระตลอดไป ติดตามวัดความดันโลหิตที่บ้าน และคิดค้นนวัตกรรมแบบคัดกรองโรค
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- เพื่อออกแบบเครื่องมือการคัดกรอง
- เพื่อให้ผู้ที่มีภาวะเสี่ยงต่อโรคเบาหวาน/ความดันโลหิตสูง ได้รับความรู้และทักษะการปฏิบัติตน
- เพื่อลดจำนวนผู้ป่วยกลุ่มเสี่ยงความดันโลหิตสูง เบาหวาน
- เพื่อให้กลุ่มเสี่ยงป่วยโรคความดันโลหิตสูง ได้รับการติดตามวัดความดันโลหิตที่บ้าน
กิจกรรม/การดำเนินงาน
- เขียนโครงการเพื่อขออนุมัติ
- ประชุมชี้แจงโครงการแก่ จนท.และอสม.
- ประชาสัมพันธ์โครงการในพื้นที่ ม.1, ม.2, ม.3, ม.6, และม.7ต.นาทอน
- จัดทำทะเบียนกลุ่มเสี่ยงโรคเบาหวานแบะความดันโลหิตสูง
- จัดอบรมปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพในกลุ่มเสี่ยง
- ติดตามวัดความดันโลหิตในกลุ่มเสี่ยงป่วยที่บ้าน (วันละ 4 ครั้ง เช้า 2 ครั้ง ก่อนนอน 2 ครั้งนาน 7 วัน)
- ประชุมเชิงปฏิบัติการสรุปผลการทดลองใช้แบบคัดกรองที่คิดค้นขึ้นใหม่
- สรุปและรวบรวมผลการดำเนินงาน
- ประชุมเชิงปฏิบัติการ เพื่อออกแบบคัดกรอง และให้ความรู้ อสม. จำนวน 63 คน
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้ | |
---|---|---|
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | ||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | ||
กลุ่มวัยทำงาน | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | ||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | 49 | |
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] | ||
อสม. | 63 |
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
1.นวัตกรรมแบบคัดกรองโรค
2.กลุ่มเสี่ยงเบาหวาน ความดันโลหิตสูงมีความรู้และทักษะการปฏิบัติตน
3.จำนวนผู้ป่วยกลุ่มเสี่ยงโรคเบาหวาน และโรคความดันโลหิตสูงลดลง
4.กลุ่มเสี่ยงป่วยโรคความดันโลหิตได้รับการติดตามวัดความดันที่บ้าน
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์** กิจกรรมของโครงการ | ผลผลิต* | |
---|---|---|
ผลผลิตที่ตั้งไว้ | ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง |
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ | สถานการณ์ | เป้าหมาย | ผลผลิต | อธิบาย | |
---|---|---|---|---|---|
1 | เพื่อออกแบบเครื่องมือการคัดกรอง ตัวชี้วัด : มีแบบคัดกรอง 1 ชิ้น |
0.00 |
|
||
2 | เพื่อให้ผู้ที่มีภาวะเสี่ยงต่อโรคเบาหวาน/ความดันโลหิตสูง ได้รับความรู้และทักษะการปฏิบัติตน ตัวชี้วัด : กลุ่มเสี่ยงเบาหวาน ความดันโลหิตสูงมีความรู้และทักษะการปฏิบัติตน |
0.00 |
|
||
3 | เพื่อลดจำนวนผู้ป่วยกลุ่มเสี่ยงความดันโลหิตสูง เบาหวาน ตัวชี้วัด : จำนวนผู้ป่วยกลุ่มเสี่ยงความดันโลหิตสูง เบาหวานลดลง |
0.00 |
|
||
4 | เพื่อให้กลุ่มเสี่ยงป่วยโรคความดันโลหิตสูง ได้รับการติดตามวัดความดันโลหิตที่บ้าน ตัวชี้วัด : เพื่อให้กลุ่มเสี่ยงป่วยโรคความดันโลหิตสูง ได้รับการติดตามวัดความดันโลหิตที่บ้านร้อยละ 90 |
0.00 |
|
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
---|---|---|---|
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด | 112 | ||
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | |||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | - | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | - | ||
กลุ่มวัยทำงาน | 0 | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | - | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | |||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | - | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | - | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | - | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | 49 | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] | - | ||
อสม. | 63 |
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อออกแบบเครื่องมือการคัดกรอง (2) เพื่อให้ผู้ที่มีภาวะเสี่ยงต่อโรคเบาหวาน/ความดันโลหิตสูง ได้รับความรู้และทักษะการปฏิบัติตน (3) เพื่อลดจำนวนผู้ป่วยกลุ่มเสี่ยงความดันโลหิตสูง เบาหวาน (4) เพื่อให้กลุ่มเสี่ยงป่วยโรคความดันโลหิตสูง ได้รับการติดตามวัดความดันโลหิตที่บ้าน
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) เขียนโครงการเพื่อขออนุมัติ (2) ประชุมชี้แจงโครงการแก่ จนท.และอสม. (3) ประชาสัมพันธ์โครงการในพื้นที่ ม.1, ม.2, ม.3, ม.6, และม.7ต.นาทอน (4) จัดทำทะเบียนกลุ่มเสี่ยงโรคเบาหวานแบะความดันโลหิตสูง (5) จัดอบรมปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพในกลุ่มเสี่ยง (6) ติดตามวัดความดันโลหิตในกลุ่มเสี่ยงป่วยที่บ้าน (วันละ 4 ครั้ง เช้า 2 ครั้ง ก่อนนอน 2 ครั้งนาน 7 วัน) (7) ประชุมเชิงปฏิบัติการสรุปผลการทดลองใช้แบบคัดกรองที่คิดค้นขึ้นใหม่ (8) สรุปและรวบรวมผลการดำเนินงาน (9) ประชุมเชิงปฏิบัติการ เพื่อออกแบบคัดกรอง และให้ความรู้ อสม. จำนวน 63 คน
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค | สาเหตุ | ข้อเสนอแนะ |
---|---|---|
|
|
|
โครงการคนนาทอน อ่อนหวาน ดันดี ประจำปีงบประมาณ 2563 จังหวัด สตูล
รหัสโครงการ 63-L5294-1-01
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
( โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลนาทอน )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......