กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.กำแพง


“ โครงการฟันดี ยิ้มสวย เคี้ยวอร่อย ด้วยวิธี SMART TECHNIQUE ”

ตำบลกำแพง อำเภอละงู จังหวัดสตูล

หัวหน้าโครงการ
ฝ่ายทันตสาธารณสุข โรงพยาบาลละงู

ชื่อโครงการ โครงการฟันดี ยิ้มสวย เคี้ยวอร่อย ด้วยวิธี SMART TECHNIQUE

ที่อยู่ ตำบลกำแพง อำเภอละงู จังหวัดสตูล จังหวัด สตูล

รหัสโครงการ 2563 – L8010 – 1 - 02 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 พฤศจิกายน 2562 ถึง 31 สิงหาคม 2563


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการฟันดี ยิ้มสวย เคี้ยวอร่อย ด้วยวิธี SMART TECHNIQUE จังหวัดสตูล" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลกำแพง อำเภอละงู จังหวัดสตูล

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.กำแพง ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการฟันดี ยิ้มสวย เคี้ยวอร่อย ด้วยวิธี SMART TECHNIQUE



บทคัดย่อ

แนวโน้มการเปลี่ยนแปลงของโรคฟันผุจะเพิ่มขึุ้นอย่างรวดเร็วในช่วงที่เด็กมีอายุ 1-3 ปี และพบว่าเด็กไม่ได้รับการรักษาด้วยการอุด จะทำให้มีการลุกลามจนทะลุโพรงประสาทเกิดอาการทรมานทำให้เด็กไม่สามารถเคี้ยวอาหารได้ รับประทานอาหารได้น้อยลง เกิดภาวะขาดสารอาหาร ซึ่งจะส่งผลกระทบต่อการเจริญเติบโตของร่างกายและสมองของเด็ก หากเด็กสูญเสียฟันน้ำนมก่อนกำหนดจะทำให้ไม่มีฟันเคี้ยวอาหาร หรือเคี้ยวอาหารไม่ละเอียด มีผลต่อภาวะโภชนาการส่งผลต่อการเจริญเติบโตของเด็ก ทำให้การเจริญเติบโตของเด็กลดลงตามจำนวนฟันผุ

จากการสำรวจเด็กทั้งหมดในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กสังกัดองค์การบริหารส่วนตำบลกำแพงในปี พ.ศ. 2559 - 2562 พบฟันผุร้อยละ 75.18,72.6,69.2 และ53.04 ตามลำดับ การสำรวจสภาวะโรคฟันผุในเด็ก 3 ขวบ ปี พ.ศ.2562 มีค่าเฉลี่ยฟันผุคนละประมาณ 3.42 ซี่ต่อคน  ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กสังกัดองค์การบริหารส่วนตำบลกำแพง มีจำนวน 5 ศูนย์ ได้แก่ ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านควนไสน จำนวนเด็กที่ได้ตรวจ 50 คน ฟันผุ 22 คน คิดเป็นร้อยละ 44.00 ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านท่าแลหลา เด็กที่ได้ตรวจจำนวน 57 คน ฟันผุ 30 คน คิดเป็นร้อยละ 52.63 ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านปากปิง เด็กที่ได้ตรวจจำนวน 88 คน ฟันผุ 56 คน คิดเป็นร้อยละ 63.64 ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านป่าฝาง เด็กที่ได้ตรวจจำนวน 64 คน ฟันผุ 35 คน คิดเป็นร้อยละ 54.69 ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านตูแตหรำ เด็กที่ได้ตรวจจำนวน 29 คน ฟันผุ 19 คน คิดเป็นร้อยละ 65.52 จากข้อมูลดังกล่าวพบว่า มีอุบัติการณ์โรคฟันผุสูง และพบว่าเด็กไม่ได้รับการรักษาด้วยการอุดฟัน ทำให้มีฟันผุลุกลามจนทะลุโพรงประสาทฟัน เกิดอาการปวดทรมานทำให้เด็กไม่สามารถเคี้ยวอาหารได้ รับประทานอาหารได้น้อยลง เกิดภาวะขาดสารอาหาร ซึ่งจะส่งผลกระทบต่อการพัฒนาการเจริญเติบโตของร่างกายและสมองของเด็ก

SMART หรือ Simplified Modified Atrumatic Restoration Technique เป็นเทคนิคการอุดฟันที่คิดค้นเพื่อใช้ในการบูรณะฟันในกรณีที่ไม่สามารถจัดบริการรักษาแบบปกติได้ เป็นการให้บริการทันตกรรมเชิงรุก สามารถดำเนินการในชุมชนได้ โดยที่ไม่จำเป็นต้องใช้เครื่องมือที่ทันสมัย เทคนิคนี้ได้มีการพัฒนาวัสดุทางทันตกรรมที่มีชื่อว่า กลาสไอโอโนเมอร์ ซีเมนต์ ที่มีคุณสมบัติที่ดี มีการปลดปล่อยฟลูออไรด์ในปริมาณสูง ซึ่งฟลูออไรด์ที่ปลดปล่อยออกมามีคุณสมบัติในการต่อต้านเชื้อแบคทีเรีย เพิ่มการคืนกลับของแร่ธาตุ มีความสำคัญต่อการควบคุมการเกิดฟันผุหรือป้องกันการเกิดฟันผุซ้ำ จากการการทบทวนของ Yip และ Smales ในปี ค.ศ. 2006 พบว่า การใช้กลาสไอโอโนเมอร์ ซีเมนต์เป็นสารเคลือบหลุมร่องฟันและใช้ในการทำ SMART พบว่า อัตราการยึดสมบูรณ์มีประมาณร้อยละ 70 และอัตราการเกิดฟันผุอยู่ในช่วง ร้อยละ 0-4 (อัตราการคงอยู่ละฟันไม่ผุเพิ่ม ร้อยละ 96) ส่วนเครื่องมือที่นำไปใช้ในการทำ SMART เป็นเครื่องมือพื้นฐานที่ใช้มือ (Hand instrument) ในการอุดฟัน ประโยชน์ของการทำ SMART ด้วยกลาสไอโอโนเมอร์ ซีเมนต์ คือ ค่าใช้จ่ายต่ำ เป็นการปรับพฤติกรรมเด็ก เจ็บปวดน้อย ลดการผุลุกลามสามารถเก็บฟันไว้ได้โดยไม่ต้องถอน ลดปริมาณเชื้อแบคทีเรียในช่องปากได้ ซึ่งประสิทธิผลในการบูรณะด้วยวิธีนี้ ได้แนะนำให้เลือกใช้ในกิจกรรมโปรแกรมทันตสุขภาพในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กหรือโรงเรียนได้ดี

โครงการฟันดี ยิ้มสวย เคี้ยวอร่อย ด้วยวิธี SMART TECHNIQUE ปีงบประมาณ 2563 หน่วยงานที่รับผิดชอบ ฝ่ายทันตสาธารณสุข โรงพยาบาลละงู ได้รับเงินสนับสนุนจากกองทุนหลักประกันสุขภาพองค์การบริหารส่วนตำบลกำแพง จำนวน 111,147 บาท วัตถุประสงค์โครงการ เพื่อฟื้นฟูให้ความรู้และเพิ่มทักษะในการดูแลสุขภาพช่องปากที่ดีแก่ผู้ปกครองเด็กรายใหม่ในศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก เพื่อลดการผุลุกลามของฟันกรามน้ำนมในเด็กอายุ 3-5 ปี และเพื่อให้เด็กอายุ 3-5 ปีได้รับการอุดฟันเพิ่มขึ้น


กิจกรรมที่ดำเนินการ ดังนี้

กิจกรรมที่ 1 ด้านส่งเสริมป้องกัน

1.1 อบรมฟื้นฟูและให้ความรู้เพื่อเพิ่มทักษะในการดูแลสุขภาพช่องปากที่ดีแก่ผู้ปกครองเด็กรายใหม่ในศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก (จัดอบรมแบ่งเป็น 5 วัน)

1.2 ฝึกปฏิบัติทักษะการแปรงฟัน แบบ Hand on ให้แก่ผู้ปกครอง


กิจกรรมที่ 2 ด้านการรักษา

2.1 สำรวจกลุ่มเป้าหมาย (เด็กอายุ 3-5 ปี) ในแต่ละศูนย์พัฒนาเด็กเล็กทั้งหมด 5 ศูนย์ ในสังกัด อบต.กำแพง

2.2 ดำเนินการตรวจฟันและสุขภาพช่องปากของเด็กนักเรียน

2.3 วิเคราะห์ข้อมูลแยกกลุ่มเด็กที่ต้องได้รับการอุดฟันด้วยเทคนิค SMART

2.4 ดำเนินการบูรณะฟันด้วยวิธี SMART technique ในเด็กที่มีฟันน้ำนมผุ

2.5 ติดตามประเมินผลประสิทธิภาพของการอุดฟันด้วยเทคนิค SMART technique หลังให้บริการ 1 เดือน


กิจกรรมที่ 3 รายงานผลโครงการและแลกเปลี่ยนเรียนรู้ จำนวน 2 ครั้ง

3.1 จัดทำเอกสารนำเสนอโครงการ จำนวน 2 ครั้ง

3.2 จัดทำรูปเล่มรายงานผลโครงการเมื่อเสร็จโครงการ


ผลการดำเนินงาน

  1. ผู้ปกครองที่เข้าร่วมได้รับการอบรม มีความรู้เพิ่มขึ้น คิดเป็นร้อยละ 22.04 ก่อนการอบรม มีคะแนนเฉลี่ยคิดเป็นร้อยละ 60.28 และหลังการอบรม มีคะแนนเฉลี่ยเป็นร้อยละ 82.2

  2. ผู้ปกครองรายเก่าที่ได้รับการประเมิน การสังเกตการแปรงฟัน สามารถทำท่าทางในการแปรงฟันได้ถูกต้อง คิดเป็นร้อยละ 84.81 บับปริมาณยาสีฟันได้ถูกต้อง คิดเป็นร้อยละ 84.10 แปรงนาน 2 นาที คิดเป็นร้อยละ 82.23 และผู้ปกครองที่สามารถแปรงฟันได้ถูกทุกซี่ คิดเป็นร้อยละ 84.80

  3. จากการสัมภาษณ์ผู้ปกครอง พบว่า เด็กส่วนใหญ่จะอยู่กับแม่หรือย่ายาย โดยผู้ปกครองจะแปรงฟันให้ หรือให้เด็กแปรงฟันเองและแปรงซ้ำให้อีกรอบ เด็กส่วนใหญ่ยังกินนมช็อกโกแลตและนมเปรี้ยวมากกว่ากินนมจืด การแปรงฟันก่อนนอนยังไม่สม่ำเสมอ เนื่องจากเด็กจะอาบน้ำช่วงเย็นหลังกลับจาก รร. และรับประทานอาหารหลังจากนั้น จึงทำให้ก่อนนอนเด็กจะไม่แปรงฟันอีก แล้วรับประทานอาหารของหวาน ขนมหวาน จึงให้ง่ายต่อการดูแลสุขภาพช่องปากของเด็ก

  4. ได้รับการบูรณฟันด้วย SMART TECHNIQUE 137/284 คน/ซี่ (จำนวนคนที่อุดได้คิดเป็นร้อยละ 62.27 และจำนวนซี่ที่ได้อุดคิดเป็นร้อยละ 61.61 )

  5. จากการสุ่มตรวจหลังการได้รับการอุดฟันแล้ว 1 เดือนแล้ว พบว่า เด็กไม่มีอาการปวดฟันหลังการรักษา คิดเป็นร้อยละ 100 พบรอยโรคหลังการรักษา คิดเป็นร้อยละ 2.44 คุณภาพชีวิตหลังการรักาา พบว่า เด็กสามารถเคี้ยวอาหารได้ตามปกติ คิดเป็นร้อยละ 100 รับประทานอาหารได้มากขึ้น คิดเป็นร้อยละ 15.25 และในภาพรวมผู้ปกครองมีความพึงพอใจที่เด็กได้เข้าถึงบริการและได้รับการบูรณาการฟัน

ปัญหาอุปสรรคในการ

  1. เนื่องจากผู้ปกครองที่มาอบรมไม่ได้มาตามเวลาที่กำหนด บางส่วนมาล่าช้า จึงทำให้ไม่ได้รับความรู้ครบถ้วน

  2. ตอนที่อบรมผู้ปกครองบางศูนย์ไม่ได้แยกเด็กกับผู้ปกครองทำให้เด็กอาจจะรบกวนผู้ปกครองในขณะที่กำลังอบรมความรู้ ทำให้ผู้ปกครองไม่มีสมาธิในการฟังความรู้

  3. เนื่องด้วยสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) จึงต้องขอเลื่อนการให้บริการออกหน่วยอุดฟันเด็กด้วยวิธี SMART TECHNIQUE จึงทำให้ไม่เป็นไปตามแผนที่วางไว้

  4. เนื่องด้วยสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) จึงให้บริการรักษาได้ไม่ครบทุกคน เด็กบางคนเดินทางกลับบ้านต่างจังหวัด

  5. เนื่องจากมีการขยายระยะเวลาในการสุ่มออกไปจึงทำให้มีการเลื่อนเด็กชั้นปีสุดท้ายไปอยู่ชั้นอนุบาลโรงเรียนอื่นทำให้ไม่สามารถสุ่มในเด็กกลุ่มนี้ได้

ข้อเสนอแนะ

  1. คุณครูประสานงานเน้นย้ำให้ผู้ปกครองที่เข้าร่วมอบรมมาตรงต่อเวลา

  2. สถานที่ในการจัดอบรมควรเป็นสถานที่อื่นที่ไม่ใช่ในศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก

  3. เน้นย้ำให้ผู้ปกครองนำเด็กมารับบริการในวัน เวลา ที่ได้ระบุไว้เพื่อผลประโยชน์ของเด็ก

  4. การจัดโครงการนี้ในปีถัดไปควรมีการติดตามผลการยึดติดในเด็กชั้นอนุบาลด้วยเพื่อดูประสิทธิภาพของการยึดติด

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

จากการสำรวจเด็กทั้งหมดในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กสังกัดองค์การบริหารส่วนตำบลกำแพงในปี พ.ศ. 2559 - 2562 พบฟันผุร้อยละ 75.18,72.6,69.2 และ53.04 ตามลำดับ การสำรวจสภาวะโรคฟันผุในเด็ก 3 ขวบ ปี พ.ศ.2562 มีค่าเฉลี่ยฟันผุคนละประมาณ 3.42 ซี่ต่อคน ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กสังกัดองค์การบริหารส่วนตำบลกำแพง มีจำนวน 5 ศูนย์ ได้แก่ ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านควนไสน จำนวนเด็กที่ได้ตรวจ 50 คน ฟันผุ 22 คน คิดเป็นร้อยละ 44.00 ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านท่าแลหลา เด็กที่ได้ตรวจจำนวน 57 คน ฟันผุ 30 คน คิดเป็นร้อยละ 52.63 ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านปากปิง เด็กที่ได้ตรวจจำนวน 88 คน ฟันผุ 56 คน คิดเป็นร้อยละ 63.64 ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านป่าฝาง เด็กที่ได้ตรวจจำนวน 64 คน ฟันผุ 35 คน คิดเป็นร้อยละ 54.69ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านตูแตหรำ เด็กที่ได้ตรวจจำนวน 29 คน ฟันผุ 19 คน คิดเป็นร้อยละ 65.52 จากข้อมูลดังกล่าวพบว่า มีอุบัติการณ์โรคฟันผุสูง และพบว่าเด็กไม่ได้รับการรักษาด้วยการอุดฟัน ทำให้มีฟันผุลุกลามจนทะลุโพรงประสาทฟัน เกิดอาการปวดทรมานทำให้เด็กไม่สามารถเคี้ยวอาหารได้ รับประทานอาหารได้น้อยลง เกิดภาวะขาดสารอาหาร ซึ่งจะส่งผลกระทบต่อการพัฒนาการเจริญเติบโตของร่างกายและสมองของเด็ก

SMART หรือ Simplified Modified Atrumatic Restoration Technique เป็นเทคนิคการอุดฟันที่คิดค้นเพื่อใช้ในการบูรณะฟันในกรณีที่ไม่สามารถจัดบริการรักษาแบบปกติได้ เป็นการให้บริการทันตกรรมเชิงรุก สามารถดำเนินการในชุมชนได้ โดยที่ไม่จำเป็นต้องใช้เครื่องมือที่ทันสมัย เทคนิคนี้ได้มีการพัฒนาวัสดุทางทันตกรรมที่มีชื่อว่า กลาสไอโอโนเมอร์ ซีเมนต์ ที่มีคุณสมบัติที่ดี มีการปลดปล่อยฟลูออไรด์ในปริมาณสูง ซึ่งฟลูออไรด์ที่ปลดปล่อยออกมามีคุณสมบัติในการต่อต้านเชื้อแบคทีเรีย เพิ่มการคืนกลับของแร่ธาตุ มีความสำคัญต่อการควบคุมการเกิดฟันผุหรือป้องกันการเกิดฟันผุซ้ำ จากการการทบทวนของ Yip และ Smales ในปี ค.ศ. 2006 พบว่า การใช้กลาสไอโอโนเมอร์ ซีเมนต์เป็นสารเคลือบหลุมร่องฟันและใช้ในการทำ SMART พบว่า อัตราการยึดสมบูรณ์มีประมาณร้อยละ 70 และอัตราการเกิดฟันผุอยู่ในช่วง ร้อยละ 0-4 (อัตราการคงอยู่ละฟันไม่ผุเพิ่ม ร้อยละ 96) ส่วนเครื่องมือที่นำไปใช้ในการทำ SMART เป็นเครื่องมือพื้นฐานที่ใช้มือ (Hand instrument) ในการอุดฟัน ประโยชน์ของการทำ SMART ด้วยกลาสไอโอโนเมอร์ ซีเมนต์ คือ ค่าใช้จ่ายต่ำ เป็นการปรับพฤติกรรมเด็ก เจ็บปวดน้อย ลดการผุลุกลามสามารถเก็บฟันไว้ได้โดยไม่ต้องถอน ลดปริมาณเชื้อแบคทีเรียในช่องปากได้ ซึ่งประสิทธิผลในการบูรณะด้วยวิธีนี้ ได้แนะนำให้เลือกใช้ในกิจกรรมโปรแกรมทันตสุขภาพในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กหรือโรงเรียนได้ดี

ดังนั้นกลุ่มงานทันตสาธารณสุขโรงพยาบาลละงู จึงได้จัดทำโครงการฟันดี ยิ้มสวย เคี้ยวอร่อย ด้วยวิธี SMART TECNIQUE ขึ้นเพื่อควบคุมโรคฟันผุ ป้องกันการเกิดฟันผุซ้ำ และยังเป็นการดูแลรักษาอนามัยในช่องปากให้กับเด็กต่อไปได้

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อฟื้นฟูให้ความรู้และเพิ่มทักษะในการดูแลสุขภาพช่องปากที่ดีแก่ผู้ปกครองเด็กรายใหม่ในศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก
  2. เพื่อลดการผุลุกลามของฟันกรามน้ำนมในเด็กอายุ 3-5 ปี
  3. เพื่อให้เด็กอายุ 3-5 ปีได้รับการอุดฟันเพิ่มขึ้น

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. กิจกรรมที่่ 3 รายงานผลโครงการและแลกเปลี่ยนเรียนรู้
  2. กิจกรรมที่ 1 ด้านส่งเสริมป้องกัน
  3. กิจกรรมที่ 2 ด้านการรักษา

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน 162
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

  1. ร้อยละ 80 ของผู้ปกครองเด็กมีความรู้และทักษะในการดูแลสุขภาพช่องปากของเด็กเพิ่มขึ้น
  2. ลดอัตราการเกิดโรคฟันผุ ลดการสูญเสียฟันน้ำนม และลดการผุซ้ำในฟันกรามน้ำนมที่อุดไปแล้ว
  3. เด็กอายุ 3-5 ปีได้เข้าถึงการรับบริการอุดฟันมากขึ้น

ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. กิจกรรมที่ 1 ด้านส่งเสริมป้องกัน

วันที่ 25 กุมภาพันธ์ 2563

กิจกรรมที่ทำ

  1. อบรมฟื้นฟูและให้ความรู้เพื่อเพิ่มทักษะในการดูแลสุขภาพช่องปากที่ดีแก่ผู้ปกครองเด็กรายใหม่ในศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก (จัดอบรมแบ่งเป็น 5 วัน)

  2. ฝึกปฏิบัติทักษะการแปรงฟัน แบบ Hand on ให้แก่ผู้ปกครอง

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

  1. ผู้ปกครองที่เข้าร่วมได้รับการอบรม มีความรู้เพิ่มขึ้น คิดเป็นร้อยละ 22.04 ก่อนการอบรม มีคะแนนเฉลี่ยคิดเป็นร้อยละ 60.28 และหลังการอบรม มีคะแนนเฉลี่ยเป็นร้อยละ 82.2

  2. ผู้ปกครองรายเก่าที่ได้รับการประเมิน การสังเกตการแปรงฟัน สามารถทำท่าทางในการแปรงฟันได้ถูกต้อง คิดเป็นร้อยละ 84.81 บับปริมาณยาสีฟันได้ถูกต้อง คิดเป็นร้อยละ 84.10 แปรงนาน 2 นาที คิดเป็นร้อยละ 82.23 และผู้ปกครองที่สามารถแปรงฟันได้ถูกทุกซี่ คิดเป็นร้อยละ 84.80

  3. จากการสัมภาษณ์ผู้ปกครอง พบว่า เด็กส่วนใหญ่จะอยู่กับแม่หรือย่ายาย โดยผู้ปกครองจะแปรงฟันให้ หรือให้เด็กแปรงฟันเองและแปรงซ้ำให้อีกรอบ เด็กส่วนใหญ่ยังกินนมช็อกโกแลตและนมเปรี้ยวมากกว่ากินนมจืด การแปรงฟันก่อนนอนยังไม่สม่ำเสมอ เนื่องจากเด็กจะอาบน้ำช่วงเย็นหลังกลับจาก รร. และรับประทานอาหารหลังจากนั้น จึงทำให้ก่อนนอนเด็กจะไม่แปรงฟันอีก แล้วรับประทานอาหารของหวาน ขนมหวาน จึงให้ง่ายต่อการดูแลสุขภาพช่องปากของเด็ก

 

108 0

2. กิจกรรมที่ 2 ด้านการรักษา

วันที่ 7 มีนาคม 2563

กิจกรรมที่ทำ

2.1 สำรวจกลุ่มเป้าหมาย (เด็กอายุ 3-5 ปี) ในแต่ละศูนย์พัฒนาเด็กเล็กทั้งหมด 5 ศูนย์ ในสังกัด อบต.กำแพง

2.2 ดำเนินการตรวจฟันและสุขภาพช่องปากของเด็กนักเรียน

2.3 วิเคราะห์ข้อมูลแยกกลุ่มเด็กที่ต้องได้รับการอุดฟันด้วยเทคนิค SMART

2.4 ดำเนินการบูรณะฟันด้วยวิธี SMART technique ในเด็กที่มีฟันน้ำนมผุ

2.5 ติดตามประเมินผลประสิทธิภาพของการอุดฟันด้วยเทคนิค SMART technique หลังให้บริการ 1 เดือน

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

  1. ได้รับการบูรณฟันด้วย SMART TECHNIQUE 137/284 คน/ซี่ (จำนวนคนที่อุดได้คิดเป็นร้อยละ 62.27 และจำนวนซี่ที่ได้อุดคิดเป็นร้อยละ 61.61 )

  2. ติดตามประเมินผลประสิทธิภาพของการอุดฟันด้วยเทคนิค SMART technique หลังให้บริการ ได้สุ่มตรวจทั้งหมด 69 คน คิดเป็นร้อยละ 52.55 ของจำนวนเด็กที่ได้รับการบูรณะฟัน ปรากฎดังนี้

  • สุ่มตรวจทั้งหมด 102 ซี่

  • การยึดติดของวัสดุกับฟันติดสภาพดี 87 ซี่ คิดเป็นร้อยละ 85.30 หลุดบางส่วน 11 ซี่ คิดเป็นร้อยละ 10.78 หลุดทั้งหมด 4 ซี่ คิดเป็นร้อยละ 3.92

 

162 0

3. กิจกรรมที่่ 3 รายงานผลโครงการและแลกเปลี่ยนเรียนรู้

วันที่ 9 ธันวาคม 2563

กิจกรรมที่ทำ

3.1 จัดทำเอกสารนำเสนอโครงการ จำนวน 2 ครั้ง

3.2 จัดทำรูปเล่มรายงานผลโครงการเมื่อเสร็จโครงการ

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

มีรูปเล่มรายงานฉบับสมบูรณ์

 

0 0

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

กิจกรรมที่ 1 อบรมฟื้นฟูให้ความรู้และเพิ่มทักษะในการดูแลสุขภาพช่องปากที่ดีแก่ผู้ปกครองเด็กในพัฒนาเด็กเล็ก

ตัวชี้วัดความสำเร็จ: ร้อยละ 80 ของผู้ปกครองเด็กมีความรู้และทักษะในการดูแลสุขภาพช่องปากของ เด็กเพิ่มขึ้น

  • ผู้ปกครองรายใหม่

ผลการดำเนินงาน

  • ก่อนการอบรม ผู้เข้าอบรมมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับโรคฟันผุ การดูแลสุขภาพช่องปาก อาหารที่มีประโยชน์และโทษ ได้คะแนนเฉลี่ยคิดเป็นร้อยละ 60.28 มีผู้ได้คะแนนสูงสุด 9 คะแนน และได้คะแนนต่ำสุด 1 คะแนน โดยมีคะแนนเฉลี่ย 6.02 คะแนน

  • หลังการอบรม ผู้เข้าอบรมมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับโรคฟันผุ การดูแลสุขภาพช่องปาก อาหารที่มีประโยชน์และโทษ ได้คะแนนเฉลี่ยคิดเป็นร้อยละ 83.38 มีผู้ได้คะแนนสูงสุด 10 คะแนน และได้คะแนนต่ำสุด 6 คะแนน โดยมีคะแนนเฉลี่ย 8.33 คะแนน

ผู้เข้าร่วมอบรมทั้งหมด 54 คน จากการทำแบบทดสอบก่อน-หลังการอบรมแสดงให้เห็นว่าเมื่อเสร็จสิ้นการอบรมแล้วผู้เข้าร่วมอบรมมีความรู้ความเข้าใจเพิ่มขึ้นเฉลี่ยร้อยละ 23.1

  • ผู้ปกครองรายเก่า

ผลการดำเนินงาน

  • ผู้ปกครองรายเก่าทั้งหมด 283 คน จากสังเกตโดยการทำแบบประเมินทักษะการแปรงฟันที่ถูกวิธี (Hand on) แสดงให้เห็นว่าผู้ปกครองรายเก่าที่ได้รับการประเมินการสังเกตการแปรงฟัน สามารถทำท่าทางในการแปรงฟันได้ถูกต้อง คิดเป็นร้อยละ 84.81 บีบปริมาณยาสีฟันได้ถูกต้อง คิดเป็นร้อยละ 84.10 แปรงนาน 2 นาที  คิดเป็นร้อยละ 82.33 และผู้ปกครองที่สามารถแปรงได้ถูกทุกซี่ทุกด้าน คิดเป็นร้อยละ 84.80

  • จะเห็นได้ว่าหลังการประเมินผู้ปกครองรายเก่าที่ได้รับการประเมินการสังเกตการแปรงฟันยังคงมีความรู้ และมีทักษะในการแปรงฟันให้เด็กได้อย่างถูกวิธีซึ่งผ่านเกณฑ์การประเมิน


กิจกรรมที่ 2 บูรณฟันด้วยวิธี SMART technique ในเด็กที่มีฟันน้ำนมผุ

  • ตัวชี้วัดความสำเร็จ : ลดอัตราการเกิดโรคฟันผุ ลดการสูญเสียฟันน้ำนม และลดการผุซ้ำในฟันกรามน้ำนมที่อุดไปอย่างน้อยร้อยละ 50

  • ตัวชี้วัดความสำเร็จ : เด็กอายุ 3-5 ปีได้เข้าถึงการรับบริการอุดฟันมากขึ้น

ผลการดำเนินงาน ได้ดำเนินการบูรณะฟันในรายที่มีฟันน้ำนมผุในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กทั้ง 5 ศูนย์

  • จำนวนเด็กทั้งหมด      337    คน

  • ได้ตรวจฟันทั้งหมด      303    คน    คิดเป็นร้อยละ 89.91

  • จำนวนเด็กที่ปราศจากฟันผุ      83    คน    คิดเป็นร้อยละ 27.39

  • จำนวนเด็กที่มีฟันผุ    220/461 คน/ซี่  คิดเป็นร้อยละ 72.61

  • จำนวนเด็กที่ได้รับการบูรณะฟัน ทั้งหมด 137/284  คน/ซี่  คิดเป็นร้อยละ 62.27

ดังนั้นนักเรียนที่ได้รับการบูรณฟันแล้วสามารถควบคุมรอยโรคฟันผุไม่ให้ลุกลามต่อในฟันน้ำนม และลดโอกาสเสี่ยงโรคฟันผุได้ถึงร้อยละ 50

ผลการดำเนินงาน จากการสำรวจสภาวะช่องปากมีเด็กได้รับการบูรณะฟันเพียง 15.20 โดยหลังจากการดำเนินโครงการแล้วเสร็จ เด็กได้รับการเข้าถึงบริการเพิ่มขึ้นคิดเป็นร้อยละ 62.27 มีการติดตามผล 1 เดือนภายหลังการอุดฟันด้วยเทคนิค SMART ได้สุ่มตรวจทั้งหมด 68 คน คิดเป็นร้อยละ 77.36 ของจำนวนเด็กที่ได้รับการบูรณะฟันปรากฏดังนี้

  • สุ่มตรวจทั้งหมด 105 ซี่

  • การยึดติดของวัสดุกับฟันติดสภาพดี 95 ซี่ คิดเป็นร้อยละ 90.48

  • หลุดบางส่วน 7 ซี่ คิดเป็นร้อยละ 6.67

  • หลุดทั้งหมด 3 ซี่ คิดเป็นร้อยละ 2.86

จากการสุ่มตรวจหลังการได้รับการอุดฟันแล้ว 1 เดือนแล้วพบว่าเด็กไม่มีอาการปวดฟันหลังการรักษาคิดเป็น ร้อยละ 100 พบรอยโรคหลังการรักษา คิดเป็นร้อยละ 100.00 คุณภาพชีวิตหลังการรักษาพบว่า เด็กสามารถเคี้ยวอาหารได้ตามปกติคิดเป็นร้อยละ 100 รับประทานอาหารได้มากขึ้น คิดเป็นร้อยละ 39.02 และในภาพรวมผู้ปกครองมีความพึงพอใจที่เด็กได้เข้าถึงบริการและได้รับการบูรณะฟัน

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อฟื้นฟูให้ความรู้และเพิ่มทักษะในการดูแลสุขภาพช่องปากที่ดีแก่ผู้ปกครองเด็กรายใหม่ในศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก
ตัวชี้วัด : 1. ร้อยละ 80 ของผู้ปกครองเด็กมีความรู้และทักษะในการดูแลสุขภาพช่องปากของเด็กเพิ่มขึ้น
80.00 82.22

 

2 เพื่อลดการผุลุกลามของฟันกรามน้ำนมในเด็กอายุ 3-5 ปี
ตัวชี้วัด : 1. ลดอัตราการเกิดโรคฟันผุ ลดการสูญเสียฟันน้ำนม และลดการผุซ้ำในฟันกรามน้ำนมที่อุดไปอย่างน้อยร้อยละ 50
56.25 50.00 52.55

 

3 เพื่อให้เด็กอายุ 3-5 ปีได้รับการอุดฟันเพิ่มขึ้น
ตัวชี้วัด : 1. เด็กอายุ 3-5 ปีได้เข้าถึงการรับบริการอุดฟันมากขึ้น
80.00 89.91

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 162
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน 162
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

แนวโน้มการเปลี่ยนแปลงของโรคฟันผุจะเพิ่มขึุ้นอย่างรวดเร็วในช่วงที่เด็กมีอายุ 1-3 ปี และพบว่าเด็กไม่ได้รับการรักษาด้วยการอุด จะทำให้มีการลุกลามจนทะลุโพรงประสาทเกิดอาการทรมานทำให้เด็กไม่สามารถเคี้ยวอาหารได้ รับประทานอาหารได้น้อยลง เกิดภาวะขาดสารอาหาร ซึ่งจะส่งผลกระทบต่อการเจริญเติบโตของร่างกายและสมองของเด็ก หากเด็กสูญเสียฟันน้ำนมก่อนกำหนดจะทำให้ไม่มีฟันเคี้ยวอาหาร หรือเคี้ยวอาหารไม่ละเอียด มีผลต่อภาวะโภชนาการส่งผลต่อการเจริญเติบโตของเด็ก ทำให้การเจริญเติบโตของเด็กลดลงตามจำนวนฟันผุ

จากการสำรวจเด็กทั้งหมดในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กสังกัดองค์การบริหารส่วนตำบลกำแพงในปี พ.ศ. 2559 - 2562 พบฟันผุร้อยละ 75.18,72.6,69.2 และ53.04 ตามลำดับ การสำรวจสภาวะโรคฟันผุในเด็ก 3 ขวบ ปี พ.ศ.2562 มีค่าเฉลี่ยฟันผุคนละประมาณ 3.42 ซี่ต่อคน  ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กสังกัดองค์การบริหารส่วนตำบลกำแพง มีจำนวน 5 ศูนย์ ได้แก่ ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านควนไสน จำนวนเด็กที่ได้ตรวจ 50 คน ฟันผุ 22 คน คิดเป็นร้อยละ 44.00 ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านท่าแลหลา เด็กที่ได้ตรวจจำนวน 57 คน ฟันผุ 30 คน คิดเป็นร้อยละ 52.63 ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านปากปิง เด็กที่ได้ตรวจจำนวน 88 คน ฟันผุ 56 คน คิดเป็นร้อยละ 63.64 ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านป่าฝาง เด็กที่ได้ตรวจจำนวน 64 คน ฟันผุ 35 คน คิดเป็นร้อยละ 54.69 ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านตูแตหรำ เด็กที่ได้ตรวจจำนวน 29 คน ฟันผุ 19 คน คิดเป็นร้อยละ 65.52 จากข้อมูลดังกล่าวพบว่า มีอุบัติการณ์โรคฟันผุสูง และพบว่าเด็กไม่ได้รับการรักษาด้วยการอุดฟัน ทำให้มีฟันผุลุกลามจนทะลุโพรงประสาทฟัน เกิดอาการปวดทรมานทำให้เด็กไม่สามารถเคี้ยวอาหารได้ รับประทานอาหารได้น้อยลง เกิดภาวะขาดสารอาหาร ซึ่งจะส่งผลกระทบต่อการพัฒนาการเจริญเติบโตของร่างกายและสมองของเด็ก

SMART หรือ Simplified Modified Atrumatic Restoration Technique เป็นเทคนิคการอุดฟันที่คิดค้นเพื่อใช้ในการบูรณะฟันในกรณีที่ไม่สามารถจัดบริการรักษาแบบปกติได้ เป็นการให้บริการทันตกรรมเชิงรุก สามารถดำเนินการในชุมชนได้ โดยที่ไม่จำเป็นต้องใช้เครื่องมือที่ทันสมัย เทคนิคนี้ได้มีการพัฒนาวัสดุทางทันตกรรมที่มีชื่อว่า กลาสไอโอโนเมอร์ ซีเมนต์ ที่มีคุณสมบัติที่ดี มีการปลดปล่อยฟลูออไรด์ในปริมาณสูง ซึ่งฟลูออไรด์ที่ปลดปล่อยออกมามีคุณสมบัติในการต่อต้านเชื้อแบคทีเรีย เพิ่มการคืนกลับของแร่ธาตุ มีความสำคัญต่อการควบคุมการเกิดฟันผุหรือป้องกันการเกิดฟันผุซ้ำ จากการการทบทวนของ Yip และ Smales ในปี ค.ศ. 2006 พบว่า การใช้กลาสไอโอโนเมอร์ ซีเมนต์เป็นสารเคลือบหลุมร่องฟันและใช้ในการทำ SMART พบว่า อัตราการยึดสมบูรณ์มีประมาณร้อยละ 70 และอัตราการเกิดฟันผุอยู่ในช่วง ร้อยละ 0-4 (อัตราการคงอยู่ละฟันไม่ผุเพิ่ม ร้อยละ 96) ส่วนเครื่องมือที่นำไปใช้ในการทำ SMART เป็นเครื่องมือพื้นฐานที่ใช้มือ (Hand instrument) ในการอุดฟัน ประโยชน์ของการทำ SMART ด้วยกลาสไอโอโนเมอร์ ซีเมนต์ คือ ค่าใช้จ่ายต่ำ เป็นการปรับพฤติกรรมเด็ก เจ็บปวดน้อย ลดการผุลุกลามสามารถเก็บฟันไว้ได้โดยไม่ต้องถอน ลดปริมาณเชื้อแบคทีเรียในช่องปากได้ ซึ่งประสิทธิผลในการบูรณะด้วยวิธีนี้ ได้แนะนำให้เลือกใช้ในกิจกรรมโปรแกรมทันตสุขภาพในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กหรือโรงเรียนได้ดี

โครงการฟันดี ยิ้มสวย เคี้ยวอร่อย ด้วยวิธี SMART TECHNIQUE ปีงบประมาณ 2563 หน่วยงานที่รับผิดชอบ ฝ่ายทันตสาธารณสุข โรงพยาบาลละงู ได้รับเงินสนับสนุนจากกองทุนหลักประกันสุขภาพองค์การบริหารส่วนตำบลกำแพง จำนวน 111,147 บาท วัตถุประสงค์โครงการ เพื่อฟื้นฟูให้ความรู้และเพิ่มทักษะในการดูแลสุขภาพช่องปากที่ดีแก่ผู้ปกครองเด็กรายใหม่ในศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก เพื่อลดการผุลุกลามของฟันกรามน้ำนมในเด็กอายุ 3-5 ปี และเพื่อให้เด็กอายุ 3-5 ปีได้รับการอุดฟันเพิ่มขึ้น


กิจกรรมที่ดำเนินการ ดังนี้

กิจกรรมที่ 1 ด้านส่งเสริมป้องกัน

1.1 อบรมฟื้นฟูและให้ความรู้เพื่อเพิ่มทักษะในการดูแลสุขภาพช่องปากที่ดีแก่ผู้ปกครองเด็กรายใหม่ในศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก (จัดอบรมแบ่งเป็น 5 วัน)

1.2 ฝึกปฏิบัติทักษะการแปรงฟัน แบบ Hand on ให้แก่ผู้ปกครอง


กิจกรรมที่ 2 ด้านการรักษา

2.1 สำรวจกลุ่มเป้าหมาย (เด็กอายุ 3-5 ปี) ในแต่ละศูนย์พัฒนาเด็กเล็กทั้งหมด 5 ศูนย์ ในสังกัด อบต.กำแพง

2.2 ดำเนินการตรวจฟันและสุขภาพช่องปากของเด็กนักเรียน

2.3 วิเคราะห์ข้อมูลแยกกลุ่มเด็กที่ต้องได้รับการอุดฟันด้วยเทคนิค SMART

2.4 ดำเนินการบูรณะฟันด้วยวิธี SMART technique ในเด็กที่มีฟันน้ำนมผุ

2.5 ติดตามประเมินผลประสิทธิภาพของการอุดฟันด้วยเทคนิค SMART technique หลังให้บริการ 1 เดือน


กิจกรรมที่ 3 รายงานผลโครงการและแลกเปลี่ยนเรียนรู้ จำนวน 2 ครั้ง

3.1 จัดทำเอกสารนำเสนอโครงการ จำนวน 2 ครั้ง

3.2 จัดทำรูปเล่มรายงานผลโครงการเมื่อเสร็จโครงการ


ผลการดำเนินงาน

  1. ผู้ปกครองที่เข้าร่วมได้รับการอบรม มีความรู้เพิ่มขึ้น คิดเป็นร้อยละ 22.04 ก่อนการอบรม มีคะแนนเฉลี่ยคิดเป็นร้อยละ 60.28 และหลังการอบรม มีคะแนนเฉลี่ยเป็นร้อยละ 82.2

  2. ผู้ปกครองรายเก่าที่ได้รับการประเมิน การสังเกตการแปรงฟัน สามารถทำท่าทางในการแปรงฟันได้ถูกต้อง คิดเป็นร้อยละ 84.81 บับปริมาณยาสีฟันได้ถูกต้อง คิดเป็นร้อยละ 84.10 แปรงนาน 2 นาที คิดเป็นร้อยละ 82.23 และผู้ปกครองที่สามารถแปรงฟันได้ถูกทุกซี่ คิดเป็นร้อยละ 84.80

  3. จากการสัมภาษณ์ผู้ปกครอง พบว่า เด็กส่วนใหญ่จะอยู่กับแม่หรือย่ายาย โดยผู้ปกครองจะแปรงฟันให้ หรือให้เด็กแปรงฟันเองและแปรงซ้ำให้อีกรอบ เด็กส่วนใหญ่ยังกินนมช็อกโกแลตและนมเปรี้ยวมากกว่ากินนมจืด การแปรงฟันก่อนนอนยังไม่สม่ำเสมอ เนื่องจากเด็กจะอาบน้ำช่วงเย็นหลังกลับจาก รร. และรับประทานอาหารหลังจากนั้น จึงทำให้ก่อนนอนเด็กจะไม่แปรงฟันอีก แล้วรับประทานอาหารของหวาน ขนมหวาน จึงให้ง่ายต่อการดูแลสุขภาพช่องปากของเด็ก

  4. ได้รับการบูรณฟันด้วย SMART TECHNIQUE 137/284 คน/ซี่ (จำนวนคนที่อุดได้คิดเป็นร้อยละ 62.27 และจำนวนซี่ที่ได้อุดคิดเป็นร้อยละ 61.61 )

  5. จากการสุ่มตรวจหลังการได้รับการอุดฟันแล้ว 1 เดือนแล้ว พบว่า เด็กไม่มีอาการปวดฟันหลังการรักษา คิดเป็นร้อยละ 100 พบรอยโรคหลังการรักษา คิดเป็นร้อยละ 2.44 คุณภาพชีวิตหลังการรักาา พบว่า เด็กสามารถเคี้ยวอาหารได้ตามปกติ คิดเป็นร้อยละ 100 รับประทานอาหารได้มากขึ้น คิดเป็นร้อยละ 15.25 และในภาพรวมผู้ปกครองมีความพึงพอใจที่เด็กได้เข้าถึงบริการและได้รับการบูรณาการฟัน

ปัญหาอุปสรรคในการ

  1. เนื่องจากผู้ปกครองที่มาอบรมไม่ได้มาตามเวลาที่กำหนด บางส่วนมาล่าช้า จึงทำให้ไม่ได้รับความรู้ครบถ้วน

  2. ตอนที่อบรมผู้ปกครองบางศูนย์ไม่ได้แยกเด็กกับผู้ปกครองทำให้เด็กอาจจะรบกวนผู้ปกครองในขณะที่กำลังอบรมความรู้ ทำให้ผู้ปกครองไม่มีสมาธิในการฟังความรู้

  3. เนื่องด้วยสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) จึงต้องขอเลื่อนการให้บริการออกหน่วยอุดฟันเด็กด้วยวิธี SMART TECHNIQUE จึงทำให้ไม่เป็นไปตามแผนที่วางไว้

  4. เนื่องด้วยสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) จึงให้บริการรักษาได้ไม่ครบทุกคน เด็กบางคนเดินทางกลับบ้านต่างจังหวัด

  5. เนื่องจากมีการขยายระยะเวลาในการสุ่มออกไปจึงทำให้มีการเลื่อนเด็กชั้นปีสุดท้ายไปอยู่ชั้นอนุบาลโรงเรียนอื่นทำให้ไม่สามารถสุ่มในเด็กกลุ่มนี้ได้

ข้อเสนอแนะ

  1. คุณครูประสานงานเน้นย้ำให้ผู้ปกครองที่เข้าร่วมอบรมมาตรงต่อเวลา

  2. สถานที่ในการจัดอบรมควรเป็นสถานที่อื่นที่ไม่ใช่ในศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก

  3. เน้นย้ำให้ผู้ปกครองนำเด็กมารับบริการในวัน เวลา ที่ได้ระบุไว้เพื่อผลประโยชน์ของเด็ก

  4. การจัดโครงการนี้ในปีถัดไปควรมีการติดตามผลการยึดติดในเด็กชั้นอนุบาลด้วยเพื่อดูประสิทธิภาพของการยึดติด

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ
  1. เนื่องจากผู้ปกครองที่มาอบรมไม่ได้มาตามเวลาที่กำหนด บางส่วนมาล่าช้า จึงทำให้ไม่ได้รับความรู้ครบถ้วน
  2. ตอนที่อบรมผู้ปกครองบางศูนย์ไม่ได้แยกเด็กกับผู้ปกครองทำให้เด็กอาจจะรบกวนผู้ปกครองในขณะที่กำลังอบรมความรู้ ทำให้ผู้ปกครองไม่มีสมาธิในการฟังความรู้
  3. เนื่องด้วยสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) จึงต้องขอเลื่อนการให้บริการออกหน่วยอุดฟันเด็กด้วยวิธี SMART TECHNIQUE จึงทำให้ไม่เป็นไปตามแผนที่วางไว้
  4. เนื่องด้วยสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) จึงให้บริการรักษาได้ไม่ครบทุกคน เด็กบางคนเดินทางกลับบ้านต่างจังหวัด
  5. เนื่องจากมีการขยายระยะเวลาในการสุ่มออกไปจึงทำให้มีการเลื่อนเด็กชั้นปีสุดท้ายไปอยู่ชั้นอนุบาลโรงเรียนอื่นทำให้ไม่สามารถสุ่มในเด็กกลุ่มนี้ได้

 

  1. คุณครูประสานงานเน้นย้ำให้ผู้ปกครองที่เข้าร่วมอบรมมาตรงต่อเวลา
  2. สถานที่ในการจัดอบรมควรเป็นสถานที่อื่นที่ไม่ใช่ในศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก
  3. เน้นย้ำให้ผู้ปกครองนำเด็กมารับบริการในวัน เวลา ที่ได้ระบุไว้เพื่อผลประโยชน์ของเด็ก
  4. การจัดโครงการนี้ในปีถัดไปควรมีการติดตามผลการยึดติดในเด็กชั้นอนุบาลด้วยเพื่อดูประสิทธิภาพของการยึดติด

ส่วนที่ 3 ประเมินคุณค่าโครงการ

แบบประเมินคุณค่าของโครงการที่เกี่ยวข้องกับการสร้างเสริมสุขภาพ

ชื่อโครงการ โครงการฟันดี ยิ้มสวย เคี้ยวอร่อย ด้วยวิธี SMART TECHNIQUE

รหัสโครงการ 2563 – L8010 – 1 - 02 ระยะเวลาโครงการ 1 พฤศจิกายน 2562 - 31 สิงหาคม 2563

แบบประเมินคุณค่าของโครงการที่เกี่ยวข้องกับการสร้างเสริมสุขภาพ เป็นการคุณค่าที่เกิดจากโครงการในมิติต่อไปนี้

  • ความรู้ด้านการสร้างเสริมสุขภาพและนวัตกรรมเชิงระบบสุขภาพชุมชน
  • การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่มีผลต่อสุขภาวะ
  • การปรับเปลี่ยนสิ่งแวดล้อมที่เอื้อต่อสุขภาวะ
  • ผลกระทบเชิงบวกและนโยบายสาธารณะที่เอื้อต่อการสร้างสุขภาวะชุมชน
  • กระบวนการชุมชน
  • มิติสุขภาวะปัญญา / สุขภาวะทางจิตวิญญาณ

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่

1. เกิดความรู้ หรือ นวัตกรรมชุมชน

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. ความรู้ใหม่ / องค์ความรู้ใหม่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. สิ่งประดิษฐ์ / ผลผลิตใหม่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. กระบวนการใหม่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. วิธีการทำงาน / การจัดการใหม่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. การเกิดกลุ่ม / โครงสร้างในชุมชนใหม่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
6. แหล่งเรียนรู้ใหม่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
99. อื่นๆ

 

 

 

2. เกิดการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่เอื้อต่อสุขภาพ

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. การดูแลสุขอนามัยส่วนบุคคล

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. การบริโภค

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. การออกกำลังกาย

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. การลด ละ เลิก อบายมุข เช่น การพนัน เหล้า บุหรี่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. การลดพฤติกรรมเสี่ยง เช่น พฤติกรรมเสี่ยงทางเพศ การขับรถโดยประมาท

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
6. การจัดการอารมณ์ / ความเครียด

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
7. การดำรงชีวิต / วิถีชีวิต เช่น การใช้ภูมิปัญญาท้องถิ่น / สมุนไพรในการดูแลสุขภาพตนเอง

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
8. พฤติกรรมการจัดการตนเอง ครอบครัว ชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
9. อื่นๆ

 

 

 

3. การสร้างสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อสุขภาพ (กายภาพ สังคม และเศรษฐกิจ)

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. กายภาพ เช่น มีการจัดการขยะ ป่า น้ำ การใช้สารเคมีเกษตร และการสร้างสิ่งแวดล้อมในครัวเรือนที่ถูกสุขลักษณะ

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. สังคม เช่น มีความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สิน ลดการเกิดอุบัติเหตุ ครอบครัวอบอุ่น การจัดสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อเด็ก เยาวชน และกลุ่มวัยต่าง ๆ มีพื้นที่สาธารณะ/พื้นที่ทางสังคม เพื่อเอื้อต่อการส่งเสริมสุขภาพของคนในชุมชน มีการใช้ศาสนา/วัฒนธรรมเป็นฐานการพัฒนา

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. เศรษฐกิจสร้างสรรค์สังคม /สร้างอาชีพ / เพิ่มรายได้

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. มีการบริการสุขภาพทางเลือก และมีช่องทางการเข้าถึงระบบบริการสุขภาพ

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. อื่นๆ

 

 

 

4. การพัฒนานโยบายสาธารณะที่เอื้อต่อสุขภาวะ

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. มีกฎ / กติกา ของกลุ่ม ชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. มีมาตรการทางสังคมของกลุ่ม ชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. มีธรรมนูญของชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. อื่นๆ เช่น ออกเป็นข้อบัญญัติท้องถิ่น ฯลฯ

 

 

 

5. เกิดกระบวนการชุมชน

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. เกิดการเชื่อมโยงประสานงานระหว่างกลุ่ม / เครือข่าย (ใน และหรือนอกชุมชน)

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. การเรียนรู้การแก้ปัญหาชุมชน (การประเมินปัญหา การวางแผน การปฏิบัติการ และการประเมิน)

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. การใช้ประโยชน์จากทุนในชุมชน เช่น การระดมทุน การใช้ทรัพยากรบุคคลในชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. มีการขับเคลื่อนการดำเนินงานของกลุ่มและชุมชนที่เกิดจากโครงการอย่างต่อเนื่อง

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. เกิดกระบวนการจัดการความรู้ในชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
6. เกิดทักษะในการจัดการโครงการ เช่น การใช้ข้อมูลในการตัดสินใจ การทำแผนปฏิบัติการ

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
7. อื่นๆ

 

 

 

6. มิติสุขภาวะปัญญา / สุขภาวะทางจิตวิญญาณ

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. ความรู้สึกภาคภูมิใจในตัวเอง / กลุ่ม / ชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. การเห็นประโยชน์ส่วนรวมและส่วนตนอย่างสมดุล

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. การใช้ชีวิตอย่างเรียบง่าย และพอเพียง

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. ชุมชนมีความเอื้ออาทร

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. มีการตัดสินใจโดยใช้ฐานปัญญา

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
6. อื่นๆ

 

 

 

โครงการฟันดี ยิ้มสวย เคี้ยวอร่อย ด้วยวิธี SMART TECHNIQUE จังหวัด สตูล

รหัสโครงการ 2563 – L8010 – 1 - 02

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( ฝ่ายทันตสาธารณสุข โรงพยาบาลละงู )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด