กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.เขาชัยสน


“ โครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพของผู้ป่วยDM,HT ”

ตำบลเขาชัยสน อำเภอเขาชัยสน จังหวัดพัทลุง

หัวหน้าโครงการ
นางจีรยา ชำนาญกิจ

ชื่อโครงการ โครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพของผู้ป่วยDM,HT

ที่อยู่ ตำบลเขาชัยสน อำเภอเขาชัยสน จังหวัดพัทลุง จังหวัด พัทลุง

รหัสโครงการ 2563-L3310-1-07 เลขที่ข้อตกลง 8/2563

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 14 มกราคม 2563 ถึง 30 กันยายน 2563


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพของผู้ป่วยDM,HT จังหวัดพัทลุง" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลเขาชัยสน อำเภอเขาชัยสน จังหวัดพัทลุง

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.เขาชัยสน ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพของผู้ป่วยDM,HT



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพของผู้ป่วยDM,HT " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลเขาชัยสน อำเภอเขาชัยสน จังหวัดพัทลุง รหัสโครงการ 2563-L3310-1-07 ระยะเวลาการดำเนินงาน 14 มกราคม 2563 - 30 กันยายน 2563 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 12,000.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.เขาชัยสน เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

หลักการและเหตุผล (ระบุที่มาของการทำโครงการ) โรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูง เป็นโรคเรื้อรัง และเป็นปัญหาสาธารณสุขที่สำคัญของโลก ถึงแม้ว่าจะมีความเจริญก้าวหน้าทางวิทยาการเกี่ยวข้องกับโรคเบาหวาน แต่ความชุกและอุบัติการณ์ กลับเพิ่มขึ้นอย่างรวดเร็ว ทั้งในชุมชนเมืองและในชนบทอีกทั้งผู้ป่วยที่เป็นโรคเบาหวานนั้น ถ้ามีพฤติกรรมที่ไม่เหมาะสม จะเกิดภาวะแทรกซ้อน ทั้งทางตา ไต เท้า สมอง หัวใจหรืออาจหมดสติจากภาวะน้ำตาลในเลือดสูง หมดสติจากภาวะน้ำตาลในเลือดต่ำ ติดเชื้อง่าย หลอดเลือดตีบหรือแตกในสมอง ทำให้เป็นอัมพาตได้ผลกระทบของผู้ป่วยที่เป็นโรคเบาหวาน มีทั้งกระทบโดยตรงต่อผู้ป่วยและครอบครัว คือ จะต้องเสียค่าใช้จ่ายต่างๆการรักษาพยาบาล รวมทั้งสูญเสียอวัยวะ และความพิการซึ่งเกิดขึ้นได้มาก กว่าคนปกติ รวมทั้งมีผลกระทบถึงสภาพจิตใจด้วย นอกจากนี้ผลเสียทางอ้อมอันเกิดจากภาวะแทรกซ้อนและการมีพยาธิสภาพ ซึ่งทำให้เกิดความพิการหรือไร้สมรรถภาพ เช่น ไม่สามารถประกอบอาชีพได้ ขาดรายได้จากการทำงาน สมรรถภาพในการทำงานลดลง การสูญเสียทรัพยากรบุคคลและอาจมีอายุสั้นกว่าปกติ ถ้าไม่ได้รับการรักษาที่ดีพอ อีกทั้งรัฐต้องเสียค่าใช้จ่ายในการนำเข้าเวชภัณฑ์จากต่างประเทศ และค่าใช้จ่ายในด้านอุปกรณ์การตรวจโรคและโรคแทรกซ้อนด้วยเหตุที่โรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูงเป็นโรคเรื้อรัง การรักษาเพื่อควบคุมโรคนั้นประกอบไปด้วยการควบคุมอาหาร การใช้ยา การออกกำลังกาย และการปฏิบัติตามหลัก 3 อ.2ส. การดูแลสุขภาพทั่วไป ซึ่งถ้าผู้ป่วยรู้จักปฎิบัติตนได้อย่างถูกต้องเหมาะสมแล้ว ก็จะทำให้ระดับน้ำตาลในเลือดและระดับความดันโลหิตใกล้เคียงกับคนปกติและสามารถป้องกันภาวะแทรกซ้อนต่างๆ ได้ยืนยาวและมีความสุข
จำนวนผู้ป่วยโรคเบาหวานทั้งหมดแยกเป็นรายหมู่ หมู่ที่ 1 จำนวน 42 คน หมู่ที่ 9 จำนวน 40 คน หมู่ที่ 14 จำนวน 25 คน รวมทั้งหมด107 คน ผู้ป่วยมีภาวะแทรกซ้อนจำนวน 64 คนพบผู้ป่วยเบาหวานรายใหม่จำนวน 1 ราย จำนวนผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูงทั้งหมด แยกเป็นรายหมู่ หมู่ที่ 1 จำนวน 72 คน หมู่ที่ 9 จำนวน 102 คน หมู่ที่ 14 จำนวน 52 คน รวมทั้งสิ้น 226 คน มีผู้ป่วยรายใหม่จำนวน 2 ราย มีภาวะแทรกซ้อน จำนวน 37คน โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านโคกยาได้ตระหนักถึงความสำคัญ และเป็นบทบาทหน้าที่ในการป้องกันควบคุมโรค และป้องกันภาวะแทรกซ้อนจากโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูงโดยเฉพาะในกลุ่มผู้ป่วยที่รับยาในคลินิกประจำเดือนของโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านโคกยา จึงได้จัดทำโครงการเพื่อพัฒนางานขึ้นเสริมจากงานปกติ (งานเชิงรุก)โดยมีกลยุทธ์ กลวิธีที่มีลักษณะเฉพาะที่เน้นการให้ความรู้และส่งเสริมให้มีการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมให้เห็นในเชิงประจักษ์ เพื่อสร้างทักษะความรอบรู้ในการดูแลสุขภาพและปรับเปลี่ยนพฤติกรรมอย่างต่อเนื่องและยั่งยืน กลุ่มป่วยมีคุณภาพชีวิตที่ดี ไม่เกิดภาวะแทรกซ้อน ลดงบประมาณรายจ่ายของประเทศ ส่งผลให้เศรษฐกิจของประเทศโดยรวมดีขึ้นในอนาคต วิธีดำเนินการ (ออกแบบให้ละเอียด) -ให้ความรู้ในกลุ่มป่วยและกลุ่มเสี่ยงให้ตระหนักถึงอันตรายและความรุนแรงของโรคโดยใช้บัตรคิวรักษ์สุขภาพสำหรับผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -ประเมินผลความรู้ที่อ่านได้จากบัตรคิวโดยเจ้าหน้าที่ -ฝึกออกกำลังกายโดยท่ามณีเวช 5 ท่าและผู้ป่วยสามารถนำไปใช้ออกกำลังกายที่บ้านได้ -ส่งเสริมการใช้สมาธิบำบัดและการกำหนดลมหายใจแบบ SKT -ฝึกประเมินทักษะการกำหนดแคลอรี่ในอาหารแต่ละมื้อ อย่างง่าย

ผลที่คาดว่าจะได้รับ -ผู้ป่วยโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูงที่มารับยาในคลินิกโรคเรื้อรัง รพ.สต.บ้านโคกยาได้รับความรู้ 100% -ลดภาวะแทรกซ้อนในกลุ่มผู้ป่วยให้สามารถมีความรู้ในการดูแลตนเองไม่ให้เกิดภาวะแทรกซ้อน กลุ่มผู้ป่วยโรคเบาหวานสามารถควบคุมระดับน้ำตาลได้ กลุ่มผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูงสามารถควบคุมระดับความดันโลหิตได้ -สร้างความต่อเนื่องและยั่งยืนในการปฏิบัติพฤติกรรมสุขภาพที่ถูกต้อง

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อให้ผู้ป่วยเบาหวานสามารถควบคุมระดับน้ำตาลสะสมไม่เกินร้อยละ 7 ได้ ร้อยละ 50
  2. ผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูงสามารถควบคุมระดับความดันโลหิต อยู่ในระดับ 130/80 mmHg ร้อยละ 90
  3. ผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูงสามารถควบคุมระดับความดันโลหิต อยู่ในระดับ 130/80 mmHg ร้อยละ 90
  4. เพื่อลดอัตราการเกิดภาวะแทรกซ้อนของกลุ่มป่วย

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. 1โปรแกรมให้สุขศึกษารายบุคคล ด้วย “บัตรคิวรักษ์สุขภาพผู้ป่วยโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง” 2.กิจกรรมฝึกออกกำลังกายด้วยท่ามณีเวชพื้นฐาน 5 ท่า และสามารถนำไปปฏิบัติต่อที่บ้านได้ทุกคน ทุกวัย 3.การฝึกสมาธิบำบัดโดยใช้หลัก การฝึกกำหนดลมหายใจ แบบ SKT เพื่อช่วยลดความเครียดแ

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง 64
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

-ผู้ป่วยโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูงที่มารับยาในคลินิกโรคเรื้อรัง รพ.สต.บ้านโคกยาได้รับความรู้ 100% -ลดภาวะแทรกซ้อนในกลุ่มผู้ป่วยให้สามารถมีความรู้ในการดูแลตนเองไม่ให้เกิดภาวะแทรกซ้อน กลุ่มผู้ป่วยโรคเบาหวานสามารถควบคุมระดับน้ำตาลได้ กลุ่มผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูงสามารถควบคุมระดับความดันโลหิตได้ -สร้างความต่อเนื่องและยั่งยืนในการปฏิบัติพฤติกรรมสุขภาพที่ถูกต้อง


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อให้ผู้ป่วยเบาหวานสามารถควบคุมระดับน้ำตาลสะสมไม่เกินร้อยละ 7 ได้ ร้อยละ 50
ตัวชี้วัด : ระดับน้ำตาลสะสมไม่เกินร้อยละ 7 ในผู้ป่วยเบาหวาน
0.00

 

2 ผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูงสามารถควบคุมระดับความดันโลหิต อยู่ในระดับ 130/80 mmHg ร้อยละ 90
ตัวชี้วัด : ระดับน้ำตาลสะสมไม่เกินร้อยละ 7 ในผู้ป่วยเบาหวาน
0.00

 

3 ผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูงสามารถควบคุมระดับความดันโลหิต อยู่ในระดับ 130/80 mmHg ร้อยละ 90
ตัวชี้วัด : ระดับความดันโลหิต อยู่ในระดับ 130/80 mmHg ในผู้ป่วยความดันโลหิตสูง
0.00

 

4 เพื่อลดอัตราการเกิดภาวะแทรกซ้อนของกลุ่มป่วย
ตัวชี้วัด : 90%ของกลุ่มป่วยด้วยโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูงไม่เกิดภาวะแทรกซ้อน ตา เท้า ไต สมอง หัวใจ
0.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 64
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง 64
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อให้ผู้ป่วยเบาหวานสามารถควบคุมระดับน้ำตาลสะสมไม่เกินร้อยละ 7 ได้ ร้อยละ 50 (2) ผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูงสามารถควบคุมระดับความดันโลหิต อยู่ในระดับ 130/80 mmHg ร้อยละ 90 (3) ผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูงสามารถควบคุมระดับความดันโลหิต อยู่ในระดับ 130/80 mmHg ร้อยละ 90 (4) เพื่อลดอัตราการเกิดภาวะแทรกซ้อนของกลุ่มป่วย

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) 1โปรแกรมให้สุขศึกษารายบุคคล ด้วย “บัตรคิวรักษ์สุขภาพผู้ป่วยโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง” 2.กิจกรรมฝึกออกกำลังกายด้วยท่ามณีเวชพื้นฐาน 5 ท่า และสามารถนำไปปฏิบัติต่อที่บ้านได้ทุกคน ทุกวัย 3.การฝึกสมาธิบำบัดโดยใช้หลัก การฝึกกำหนดลมหายใจ แบบ SKT เพื่อช่วยลดความเครียดแ

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพของผู้ป่วยDM,HT จังหวัด พัทลุง

รหัสโครงการ 2563-L3310-1-07

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นางจีรยา ชำนาญกิจ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด