กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.กำแพง


“ โครงการพัฒนาการด้านร่างกายและการดูแลสุขภาพนักเรียนโรงเรียนบ้านตูแตหรำ ”

ตำบลกำแพง อำเภอละงู จังหวัดสตูล

หัวหน้าโครงการ
โรงเรียนบ้านตูแตหรำ

ชื่อโครงการ โครงการพัฒนาการด้านร่างกายและการดูแลสุขภาพนักเรียนโรงเรียนบ้านตูแตหรำ

ที่อยู่ ตำบลกำแพง อำเภอละงู จังหวัดสตูล จังหวัด สตูล

รหัสโครงการ 2563 – L8010 – 02 - 02 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 ตุลาคม 2562 ถึง 31 สิงหาคม 2563


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการพัฒนาการด้านร่างกายและการดูแลสุขภาพนักเรียนโรงเรียนบ้านตูแตหรำ จังหวัดสตูล" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลกำแพง อำเภอละงู จังหวัดสตูล

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.กำแพง ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการพัฒนาการด้านร่างกายและการดูแลสุขภาพนักเรียนโรงเรียนบ้านตูแตหรำ



บทคัดย่อ

โรงเรียนบ้านตูแตหรำได้ตระหนักและให้ความสำคัญของการดูแลสุขภาพของนักเรียน จึงได้จัดทำโครงการพัฒนาการด้านร่างกายและการดูแลสุขภาพนักเรียนโรงเรียนบ้านตูแตหรำ ในปีงบประมาณ พ.ศ.2563 เพื่อให้นักเรียนได้ตระหนักและให้ความสำคัญของการดูแลสุขภาพของตนเอง ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมของนักเรียนในการดูแลสุขภาพ และได้ต่อยอดโครงการที่ผ่านมา โดยส่งเสริมจากกลุ่มนักเรียน อสม.น้อย อย.น้อย และสารวัตรน้อย ในการทำหน้าที่เฝ้าระวังโรคไข้เลือดออก เฝ้าระวังเรื่องอาหาร ในการทำหน้าที่เฝ้าระวังโรคไข้เลือดออก เฝ้าระวังเรื่องอาหาร และเฝ้าระวังเรื่องยาเสพติด ให้กับนักเรียนในโรงเรียนบ้านตูแตหรำ

ผลการดำเนินโครงการพัฒนาการด้านร่างกายและการดูแลสุขภาพนักเรียนโรงเรียนบ้านตูแตหรำ เพื่อแก้ปัญหาต่างๆ และต่อยอดโครงการที่ผ่านมา บรรลุตามวัตถุประสงค์ ดังนี้

  1. นักเรียนสามารถปรับเปลี่ยนพฤติกรรมในการดูแลสุขภาพของตนเองได้

  2. นักเรียนแกนนำเฝ้าระวังและส่งเสริมด้านสุขภาพของนักเรียนทั้งในโรงเรียนและชุมชนได้

จากการดำเนินโครงการพัฒนาการด้านร่างกายและการดูแลสุขภาพนักเรียนโรงเรียนบ้านตูแตหรำ ได้รับผลการพัฒนาที่ดีขึ้นในการดูแลสุขภาพของนักเรียน จึงส่งผลให้การเรียนรู้ของนักเรียนดีขึ้นด้วย

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

ปัญหาด้านสุขภาพของเด็กวัยเรียนในปัจจุบัน มีความแตกต่างจากปัญหาสุขภาพของเด็กวัยเรียนในอดีต ทั้งนี้อาจมีสาเหตุเนื่องมาจากสภาพสังคม วัฒนธรรมที่เปลี่ยนแปลงไปอย่างรวดเร็วในยุคโลกาภิวัฒน์ ผลจากการเปลี่ยนแปลงดังกล่าวก่อให้เกิดพฤติกรรมเสี่ยงทางสุขภาพมากขึ้น มีปัญหาต่อสุขภาพส่งผลกระทบต่อการเรียนและอนาคตของประชากรกลุ่มนี้ ดังนั้นงานอนามัยโรงเรียน จึงเป็นกิจกรรมที่มีเป้าหมายเพื่อส่งเสริมสุขภาพ ป้องกันการเกิดปัญหาสุขภาพ สร้างให้เด็กเกิดความรู้ ความเข้าใจ มีทัศนคติที่ถูกต้องในเรื่องสุขภาพ เป็นการลดปัญหาสุขภาพ ส่งผลบวกต่อการเรียน ทั้งนี้ต้องอาศัยความร่วมมือและการประสานงานจากทุกฝ่ายทั้งครอบครัว ชุมชน และโรงเรียน

จากการดำเนินงานโครงการส่งเสริมสุขภาพและอนามัยนักเรียนโรงเรียนบ้านตูแตหรำ ปี 2562 ที่ผ่านมา ปัญหาสุขภาพนักเรียนที่ยังพบมาตลอดในโรงเรียน เกี่ยวกับสุขภาพช่องปาก ร้อยละ 20 ซึ่งทางโรงเรียนได้มีการสนับสนุน ส่งเสริมให้นักเรียนได้แปรงฟันหลังอาหารกลางวันที่โรงเรียนทุกวัน แต่ยังพบว่านักเรียนบางคนไม่ได้ปฏิบัติอย่างต่อเนื่องและไม่ได้ใส่ใจเรื่องการแปรงฟันขณะอยู่ที่บ้าน ปัญหานักเรียนขาดการดูแลใส่ใจเกี่ยวกับการดูแลสุขภาพของตนเอง ประมาณร้อยละ 60 ส่วนหนึ่งมาจากสภาพแวดล้อมในครอบครัว การประกอบอาชีพ ทำให้การดูแลเด็กไม่เหมือนกัน เนื่องจากเด็กบางคนไม่ได้อาศัยอยู่กับผู้ปกครองโดยตรง รวมทั้งสภาพแวดล้อมในชุมชนพื้นที่หมู่ที่ 12 เป็นชุมชนแออัด การประกอบอาชีพส่วนใหญ่ทำการประมง มีสภาพแวดล้อมรอบๆ ชุมชนเป็นที่ชุกของยุง ที่เป็นพาหะเสี่ยงต่อการเกิดโรคต่างๆ ซึ่งในปีที่ผ่านมาโรงเรียนได้แกนนำ อสม.น้อย รณรงค์ประชาสัมพันธ์เกี่ยวกับโรคไข้เลือดออก พร้อมทั่งให้ประชาชนในชุมชนจัดบ้านเรือนให้ถูกสุขลักษณะ ซึ่งปัญหาเหล่านี้ก็ลดลงมา แต่ยังไม่หมดไปจากชุมชน ปัญหาเกี่ยวกับยาเสพติด เนื่องมาจากประชาชนที่อาศัยในชุมชนมีความหลากหลาย ทั้งชาวไทยและต่างชาติที่เข้ามาทำงานในพื้นที่ ทำให้มีการนำเข้ายาเสพติดมาในชุมชน ฉะนั้นจำเป็นอย่างยิ่งที่ทางโรงเรียนและชุมชนจะต้องให้ความร่วมมือในการแก้ไขปัญหาต่างๆ ที่เกิดขึ้นในชุมชน เพื่อเป็นการแก้ไขและป้องกันปัญหาดังกล่าว ส่วนหนึ่งโรงเรียนได้ส่งเสริมกิจกรรมทางกายให้กับนักเรียน เพื่อให้นักเรียนได้ใช้เวลาว่างให้เกิดประโยชน์ เช่น การเล่นกีฬาประเภทต่างๆ ส่งเสริมพัฒนาการ ปลูกผักสวนครัว เล่นกีฬาพื้นบ้าน เป็นต้น

โรงเรียนบ้านตูแตหรำได้ตระหนักและให้ความสำคัญของการดูแลสุขภาพของนักเรียน จึงได้จัดทำโครงการพัฒนาการด้านร่างกายและการดูแลสุขภาพนักเรียน ได้มีการต่อยอดโครงการจากที่ผ่านมา โดยได้ส่งเสริมจากกลุ่มแกนนำในการทำหน้าที่เฝ้าระวังและส่งเสริมกิจกรรมด้านสุขภาพให้กับนักเรียน

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อปรับเปลี่ยนพฤติกรรมด้านสุขภาพของนักเรียนในการดูแลสุขภาพของตนเอง
  2. เพื่อเฝ้าระวังและส่งเสริมด้านสุขภาพของนักเรียนทั้งในโรงเรียนและชุมชน

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. กิจกรรมที่ 2 ส่งเสริมทันตกรรม แก่นักเรียน (กิจกรรมต่อเนื่อง)
  2. กิจกรรมที่ 4 กิจกรรมเฝ้าระวัง (กิจกรรมต่อยอด)
  3. กิจกรรมที่ 1 เยาวชนรุ่นใหม่ เรียนรู้ดูแลสุขภาพตนเอง (Self Care)
  4. กิจกรรมที่ 3 ส่งเสริมการออกกำลังกาย (กิจกรรมต่อเนื่อง)
  5. กิจกรรมที่ 5 รายงานผลโครงการและแลกเปลี่ยนเรียนรู้

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 100
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
บุคลากรทางการศึกษา 14
ผู้ปกครอง 50

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

  1. นักเรียนมีความรู้เกี่ยวกับการดูแลสุขภาพตนเอง
  2. นักเรียนที่มีปัญหาสุขภาพช่องปาก มีสุขภาพช่องปากและฟันที่ดีขึ้น
  3. นักเรียนมีสุขภาพร่างกายที่แข็งแรงและมีกิจกรรมทางกายที่เหมาะสม
  4. แกนนำสุขภาพในโรงเรียน ดำเนินงานเฝ้าระวังและส่งเสริมด้านสุขภาพในโรงเรียนและชุมชน
  5. ร้านค้าในชุมชนจำหน่ายอาหารที่ปลอดภัย
  6. โรงเรียนและสถานที่ในชุมชน ปลอดยาเสพติดและอบายมุข
  7. อัตราการป่วยด้วยโรคไข้เลือดของนักเรียนและประชาชนในชุมชนลดลง

ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. กิจกรรมที่ 1 เยาวชนรุ่นใหม่ เรียนรู้ดูแลสุขภาพตนเอง (Self Care)

วันที่ 22 กุมภาพันธ์ 2563

กิจกรรมที่ทำ

1.1 จัดหลักสูตรอบรมนักเรียนที่เข้าใหม่ ชั้น ป.1 และหลักสูตรอบรมฟื้นฟูสำหรับนักเรียนเก่า ชั้น ป.2 - 6
1.2 จัดทำแบบบันทึกการตรวจสุขภาพด้วยตนเอง สำหรับนักเรียนชั้น ป.1-6, แบบประเมินความรู้การดูแลสุขภาพตนเองของนักเรียน ก่อน-หลังอบรม
1.3 ประเมินผลกิจกรรมด้วยการประเมินความรู้ก่อนและหลังการอบรม

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

  1. นักเรียน  บุคลากรทางการศึกษา  และผู้ปกครองให้ความร่วมมือ  และสนใจในเรื่องที่วิทยากรให้ความรู้เป็นอย่างดี
  2. นักเรียนร้อยละ 90 ของนักเรียนเก่า (ชั้นประถมศึกษาปีที่ 2 - 6)  ได้ทบทวนและฟื้นฟูความรู้ เกี่ยวกับการดูแลสุขภาพตนเอง  การปฐมพยาบาลเบื้องต้น  การป้องกันตนเองจากโรคติดต่อ  และการรู้เท่าทันยาเสพติด
  3. นักเรียนร้อยละ 90 ของนักเรียนใหม่ (ชั้นประถมศึกษาปีที่ 1) มีความรู้เกี่ยวกับการดูแลสุขภาพตนเอง  การปฐมพยาบาลเบื้องต้น  การป้องกันตนเองจากโรคติดต่อ  และการรู้เท่าทันยาเสพติด
  4. ร้อยละ 80 นักเรียนทำแบบทดสอบหลังการอบรมได้คะแนนดีขึ้น
  5. ร้อยละ 80 นักเรียนได้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมในการดุแลสุขภาพของตนเอง
  6. นักเรียนร้อยละ 80 มีพัฒนาการทางด้านร่างกาย  อารมณ์  สติปัญญา  และสุขภาพแข็งแรง
  7. ผู้ปกครองมีความรู้  ความเข้าใจ  สามารถดูแลสุขภาพนักเรียนในชีวิตประจำวันได้ถูกต้อง
  8. ร้อยละ 100 นักเรียนและผู้ปกครอง  มีความพึงพอใจในกิจกรรมการเรียนรู้ดูแลสุขภาพตนเอง

 

137 0

2. กิจกรรมที่ 3 ส่งเสริมการออกกำลังกาย (กิจกรรมต่อเนื่อง)

วันที่ 13 กรกฎาคม 2563

กิจกรรมที่ทำ

3.1 ส่งเสริมและสนับสนุนให้นักเรียนเรียนรู้และส่งเสริมพัฒนาการ

3.2 ฝึกฝนการเล่นกีฬา เช่น ฟุตบอล วอลเล่ย์บอล ตะกร้อ เป็นต้น

3.3 ส่งเสริมกิจกรรมทางกาย ให้นักเรียนรดน้ำต้นไม้ พืชผักสวนครัว และปรับสภาพแวดล้อมภายในโรงเรียน

3.4 กิจกรรมกีฬาพื้นบ้าน เพื่อสร้างความสัมพันธ์อันดีระหว่างชุมชนกับโรงเรียน เช่น การวิ่งสามขา เกมอุ้มแตง ชักกะเย่อ เดินกะลา เป็นต้น

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

  1. นักเรียนร้อยละ 100 มีการออกกำลังกายอย่างต่อเนื่อง และอัตราการเจ็บป่วยของนักเรียนลดลง
  2. นักเรียนได้รู้จักวิธีการปลูกผักสวนครัว แบบเศรษฐกิจพอเพียง เพื่อเป็นอาหาร และสร้างรายได้
  3. นักเรียนรู้จักรับผิดชอบหน้าที่ของตนเองให้การดูแลรักษาผักสวนครัว  และการรดน้ำต้นไม้
  4. ช่วยปรับสภาพแวดล้อมในโรงเรียนให้สวยงามด้วยต้นไม้ และดอกไม้ ให้น่าอยู่ น่ามอง
  5. ร้อยละ 100 นักเรียนสนุกและมีความสุขกับกิจกรรมการกีฬาพื้นบ้าน  ได้แก่ วิ่งสามขา  เดินกะลา  และชักกะเย่อ  เป็นการสร้างความสามัคคีให้เกิดขึ้นในทีม
  6. นักเรียนได้รู้จักการละเล่นพื้นบ้าน  รู้แพ้  รู้ชนะ  รู้อภัย  และได้รู้จักการช่วยเหลือผู้อื่น

 

100 0

3. กิจกรรมที่ 4 กิจกรรมเฝ้าระวัง (กิจกรรมต่อยอด)

วันที่ 1 กันยายน 2563

กิจกรรมที่ทำ

4.1 เฝ้าระวังโรคไข้เลือดออก (ต่อยอด อสม.น้อย) - แกนนำ อสม.น้อย ร่วมกับนักเรียน ลงพื้นที่สำรวจบริเวณโรงเรียนและชุมชน เพื่อทำลายแหล่งเพาะพันธุ์ยุงลาย พร้อมทั้งแจกทรายอะเบทให้กับครัวเรือนในชุมชน 4.2 เฝ้าระวังเรื่องอาหาร (ต่อยอด อย.น้อย) - แกนนำ อย.น้อย สำรวจร้านค้าจำหน่ายอาหารในชุมชน บันทึกข้อมูลเกี่ยวกับการจำหน่ายอาหารของแต่ละร้าน - แกนนำ อย.น้อย ทำการทดสอบสารปนเปื้อนในอาหาร บันทึกผลการตรวจ และแจ้งผลไปยังร้านค้า 4.3 เฝ้าระวังยาเสพติด (ต่อยอด สารวัตร.น้อย) - แกนนำ สารวัตรน้อย เดินรณรงค์ในวันต่อต้านยาเสพติดโลก - จัดประกวดแข่งขันวาดภาพเกี่ยวกับยาเพสติด - จัดทำป้ายโปสเตอร์ อุปกรณ์ต่างๆ เพื่อใช้ในการรณรงค์ต่อต้านยาเสพติด

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

  1. แกนนำนักเรียนร้อยละ 100 ดำเนินงานเฝ้าระวัง และส่งเสริมด้านสุขภาพในโรงเรียนและชุมชน
  2. ร้านค้าในชุมชนร้อยละ 100 จำหน่ายอาหารที่ปลอดภัย
  3. โรงเรียนและสถานที่ในชุมชน ร้อยละ 100 ปลอดยาเสพติดและอบายมุข
  4. อัตราการป่วยด้วยโรคไข้เลือดออกของนักเรียนและประชาชนในชุมชนลดลง

 

164 0

4. กิจกรรมที่ 2 ส่งเสริมทันตกรรม แก่นักเรียน (กิจกรรมต่อเนื่อง)

วันที่ 13 กันยายน 2563

กิจกรรมที่ทำ

2.1 จัดซื้ออุปกรณ์สาธิตการแปรงฟัน

2.2 นักเรียนแกนนำอนามัยโรงเรียน สอน/สาธิตการแปรงฟันที่ถูกวิธีให้กับนักเรียนในโรงเรียน

2.3 บันทึกสุขภาพช่องปากนักเรียนแต่ละชั้นเรียน

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

  1. ร้อยละ 100 นักเรียนมีอุปกรณ์การแปรงฟันทุกคน
  2. ร้อยละ 90 นักเรียนแกนนำได้สอน/สาธิตการแปรงฟันที่ถูกวิธีให้กับน้องได้ถูกต้อง
  3. ร้อยละ 100 นักเรียนได้แปรงฟันหลังรับประทานอาหารกลางวันทุกวัน  และบันทึกการแปรงฟันแต่ละชั้น
  4. ร้อยละ 80 นักเรียนได้รับความรู้ทันตสุขศึกษาจากเจ้าหน้าที่สาธารณสุขในการดูแลสุขภาพช่องปากอย่างถูกต้อง และถูกวิธี
  5. ร้อยละ 80 นักเรียนได้ทำ Workshop เกี่ยวกับการส่งเสริมทันตกรรม เช่น  โครงสร้างของฟัน  การแปรงฟันที่ถูกวิธี  อาหารที่ทำลายฟัน  และอาหารที่ทำให้สุขภาพฟันดี
  6. นักเรียนได้รู้จักคิด  การวางแผน  การทำงานเป็นกลุ่ม  และการนำเสนอผลงาน
  7. ร้อยละ 100 นักเรียนมีความสุขและสนุกกับกิจกรรมทันตกรรม
  8. สามารถสร้างทัศนะคติที่ดีต่อการดูแลสุขภาพฟันให้กับนักเรียนได้
  9. นักเรียนที่มีปัญหาสุขภาพช่องปาก ร้อยละ 90 มีสุขภาพช่องปากและฟันที่ดีขึ้น

 

114 0

5. กิจกรรมที่ 5 รายงานผลโครงการและแลกเปลี่ยนเรียนรู้

วันที่ 13 มกราคม 2564

กิจกรรมที่ทำ

จัดทำรูปเล่มรายงานผลโครงการเมื่อเสร็จโครงการ

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

มีรูปเล่มรายงานผลโครงการเมื่อเสร็จโครงการ ฉบับสมบูรณ์

 

0 0

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อปรับเปลี่ยนพฤติกรรมด้านสุขภาพของนักเรียนในการดูแลสุขภาพของตนเอง
ตัวชี้วัด : 1. นักเรียนร้อยละ 90 มีความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับการดูแลสุขภาพของตนเอง 2. นักเรียนที่มีปัญหาสุขภาพช่องปาก ร้อยละ 60 มีสุขภาพช่องปากและฟันที่ดีขึ้น 3. นักเรียนในโรงเรียน ร้อยละ 90 มีการออกกำลังกายอย่างต่อเนื่อง และอัตราการเจ็บป่วยของนักเรียนลดลง
90.00 90.00

 

2 เพื่อเฝ้าระวังและส่งเสริมด้านสุขภาพของนักเรียนทั้งในโรงเรียนและชุมชน
ตัวชี้วัด : 1. แกนนำสุขภาพในโรงเรียน ร้อยละ 100 ดำเนินงานเฝ้าระวังและส่งเสริมด้านสุขภาพในโรงเรียนและชุมชน 2. ร้านค้าในชุมชนจำหน่ายอาหารที่ปลอดภัย ร้อยละ 100 3. โรงเรียนและสถานที่ในชุมชน ปลอดยาเสพติดและอบายมุข 4. อัตราการป่วยด้วยโรคไข้เลือดของนักเรียนและประชาชนในชุมชนลดลง
100.00 100.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 164 164
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 100 100
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -
บุคลากรทางการศึกษา 14 14
ผู้ปกครอง 50 50

บทคัดย่อ*

โรงเรียนบ้านตูแตหรำได้ตระหนักและให้ความสำคัญของการดูแลสุขภาพของนักเรียน จึงได้จัดทำโครงการพัฒนาการด้านร่างกายและการดูแลสุขภาพนักเรียนโรงเรียนบ้านตูแตหรำ ในปีงบประมาณ พ.ศ.2563 เพื่อให้นักเรียนได้ตระหนักและให้ความสำคัญของการดูแลสุขภาพของตนเอง ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมของนักเรียนในการดูแลสุขภาพ และได้ต่อยอดโครงการที่ผ่านมา โดยส่งเสริมจากกลุ่มนักเรียน อสม.น้อย อย.น้อย และสารวัตรน้อย ในการทำหน้าที่เฝ้าระวังโรคไข้เลือดออก เฝ้าระวังเรื่องอาหาร ในการทำหน้าที่เฝ้าระวังโรคไข้เลือดออก เฝ้าระวังเรื่องอาหาร และเฝ้าระวังเรื่องยาเสพติด ให้กับนักเรียนในโรงเรียนบ้านตูแตหรำ

ผลการดำเนินโครงการพัฒนาการด้านร่างกายและการดูแลสุขภาพนักเรียนโรงเรียนบ้านตูแตหรำ เพื่อแก้ปัญหาต่างๆ และต่อยอดโครงการที่ผ่านมา บรรลุตามวัตถุประสงค์ ดังนี้

  1. นักเรียนสามารถปรับเปลี่ยนพฤติกรรมในการดูแลสุขภาพของตนเองได้

  2. นักเรียนแกนนำเฝ้าระวังและส่งเสริมด้านสุขภาพของนักเรียนทั้งในโรงเรียนและชุมชนได้

จากการดำเนินโครงการพัฒนาการด้านร่างกายและการดูแลสุขภาพนักเรียนโรงเรียนบ้านตูแตหรำ ได้รับผลการพัฒนาที่ดีขึ้นในการดูแลสุขภาพของนักเรียน จึงส่งผลให้การเรียนรู้ของนักเรียนดีขึ้นด้วย

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ
  1. ระยะเวลาในการดำเนินโครงการน้อยเกินไป
  2. สภาพอากาศไม่เอื้ออำนวยต่อการดำเนินกิจกรรมในแต่ละกิจกรรม
  3. การดำเนินโครงการล่าช้าไม่ทันกำหนด เนื่องจากเกิดการแพร่ระบาดของโรคโควิด 19
  4. ระยะเวลาดำเนินกิจกรรมอบรมซึ่งมีกิจกรรมหลายเรื่อง ทำให้ต้องเร่งการอบรมให้ทันตามระยะเวลา 1 วัน

 

  1. อยากให้หน่วยงานผู้สนับสนุนโครงการ (อบต.กำแพง) เข้ามาร่วมดำเนินกิจกรรมควบคู่กับทางโรงเรียน
  2. ขอขยายระยะเวลาดำเนินโครงการไปยังกองทุนหลักประกันสุขภาพ อบต.กำแพง
  3. ควรแบ่งกิจกรรมอบรมออกเป็น 2 วัน เพื่อให้ผู้เข้าอบรมได้มีสมาธิและได้รับความรู้อย่างเต็มที่
  4. อยากให้สนับสนุนงบประมาณให้ส่วนของรางวัลสำหรับนักเรียนในบางกิจกรรม

ส่วนที่ 3 ประเมินคุณค่าโครงการ

แบบประเมินคุณค่าของโครงการที่เกี่ยวข้องกับการสร้างเสริมสุขภาพ

ชื่อโครงการ โครงการพัฒนาการด้านร่างกายและการดูแลสุขภาพนักเรียนโรงเรียนบ้านตูแตหรำ

รหัสโครงการ 2563 – L8010 – 02 - 02 ระยะเวลาโครงการ 1 ตุลาคม 2562 - 31 สิงหาคม 2563

แบบประเมินคุณค่าของโครงการที่เกี่ยวข้องกับการสร้างเสริมสุขภาพ เป็นการคุณค่าที่เกิดจากโครงการในมิติต่อไปนี้

  • ความรู้ด้านการสร้างเสริมสุขภาพและนวัตกรรมเชิงระบบสุขภาพชุมชน
  • การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่มีผลต่อสุขภาวะ
  • การปรับเปลี่ยนสิ่งแวดล้อมที่เอื้อต่อสุขภาวะ
  • ผลกระทบเชิงบวกและนโยบายสาธารณะที่เอื้อต่อการสร้างสุขภาวะชุมชน
  • กระบวนการชุมชน
  • มิติสุขภาวะปัญญา / สุขภาวะทางจิตวิญญาณ

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่

1. เกิดความรู้ หรือ นวัตกรรมชุมชน

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. ความรู้ใหม่ / องค์ความรู้ใหม่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. สิ่งประดิษฐ์ / ผลผลิตใหม่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. กระบวนการใหม่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. วิธีการทำงาน / การจัดการใหม่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. การเกิดกลุ่ม / โครงสร้างในชุมชนใหม่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
6. แหล่งเรียนรู้ใหม่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
99. อื่นๆ

 

 

 

2. เกิดการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่เอื้อต่อสุขภาพ

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. การดูแลสุขอนามัยส่วนบุคคล

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. การบริโภค

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. การออกกำลังกาย

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. การลด ละ เลิก อบายมุข เช่น การพนัน เหล้า บุหรี่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. การลดพฤติกรรมเสี่ยง เช่น พฤติกรรมเสี่ยงทางเพศ การขับรถโดยประมาท

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
6. การจัดการอารมณ์ / ความเครียด

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
7. การดำรงชีวิต / วิถีชีวิต เช่น การใช้ภูมิปัญญาท้องถิ่น / สมุนไพรในการดูแลสุขภาพตนเอง

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
8. พฤติกรรมการจัดการตนเอง ครอบครัว ชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
9. อื่นๆ

 

 

 

3. การสร้างสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อสุขภาพ (กายภาพ สังคม และเศรษฐกิจ)

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. กายภาพ เช่น มีการจัดการขยะ ป่า น้ำ การใช้สารเคมีเกษตร และการสร้างสิ่งแวดล้อมในครัวเรือนที่ถูกสุขลักษณะ

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. สังคม เช่น มีความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สิน ลดการเกิดอุบัติเหตุ ครอบครัวอบอุ่น การจัดสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อเด็ก เยาวชน และกลุ่มวัยต่าง ๆ มีพื้นที่สาธารณะ/พื้นที่ทางสังคม เพื่อเอื้อต่อการส่งเสริมสุขภาพของคนในชุมชน มีการใช้ศาสนา/วัฒนธรรมเป็นฐานการพัฒนา

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. เศรษฐกิจสร้างสรรค์สังคม /สร้างอาชีพ / เพิ่มรายได้

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. มีการบริการสุขภาพทางเลือก และมีช่องทางการเข้าถึงระบบบริการสุขภาพ

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. อื่นๆ

 

 

 

4. การพัฒนานโยบายสาธารณะที่เอื้อต่อสุขภาวะ

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. มีกฎ / กติกา ของกลุ่ม ชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. มีมาตรการทางสังคมของกลุ่ม ชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. มีธรรมนูญของชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. อื่นๆ เช่น ออกเป็นข้อบัญญัติท้องถิ่น ฯลฯ

 

 

 

5. เกิดกระบวนการชุมชน

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. เกิดการเชื่อมโยงประสานงานระหว่างกลุ่ม / เครือข่าย (ใน และหรือนอกชุมชน)

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. การเรียนรู้การแก้ปัญหาชุมชน (การประเมินปัญหา การวางแผน การปฏิบัติการ และการประเมิน)

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. การใช้ประโยชน์จากทุนในชุมชน เช่น การระดมทุน การใช้ทรัพยากรบุคคลในชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. มีการขับเคลื่อนการดำเนินงานของกลุ่มและชุมชนที่เกิดจากโครงการอย่างต่อเนื่อง

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. เกิดกระบวนการจัดการความรู้ในชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
6. เกิดทักษะในการจัดการโครงการ เช่น การใช้ข้อมูลในการตัดสินใจ การทำแผนปฏิบัติการ

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
7. อื่นๆ

 

 

 

6. มิติสุขภาวะปัญญา / สุขภาวะทางจิตวิญญาณ

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. ความรู้สึกภาคภูมิใจในตัวเอง / กลุ่ม / ชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. การเห็นประโยชน์ส่วนรวมและส่วนตนอย่างสมดุล

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. การใช้ชีวิตอย่างเรียบง่าย และพอเพียง

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. ชุมชนมีความเอื้ออาทร

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. มีการตัดสินใจโดยใช้ฐานปัญญา

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
6. อื่นๆ

 

 

 

โครงการพัฒนาการด้านร่างกายและการดูแลสุขภาพนักเรียนโรงเรียนบ้านตูแตหรำ จังหวัด สตูล

รหัสโครงการ 2563 – L8010 – 02 - 02

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( โรงเรียนบ้านตูแตหรำ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด