กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพ เทศบาลตำบลแหลมโตนด


“ โครงการชะลอข้อเข่าเสื่่อมในผู้สูงอายุตำบลแหลมโตนด ”

ตำบลแหลมโตนด อำเภอควนขนุน จังหวัดพัทลุง

หัวหน้าโครงการ
นางสุจิตร์ พูนเกิด

ชื่อโครงการ โครงการชะลอข้อเข่าเสื่่อมในผู้สูงอายุตำบลแหลมโตนด

ที่อยู่ ตำบลแหลมโตนด อำเภอควนขนุน จังหวัดพัทลุง จังหวัด พัทลุง

รหัสโครงการ เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 ตุลาคม 2559 ถึง 30 กันยายน 2560


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการชะลอข้อเข่าเสื่่อมในผู้สูงอายุตำบลแหลมโตนด จังหวัดพัทลุง" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลแหลมโตนด อำเภอควนขนุน จังหวัดพัทลุง

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพ เทศบาลตำบลแหลมโตนด ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการชะลอข้อเข่าเสื่่อมในผู้สูงอายุตำบลแหลมโตนด



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการชะลอข้อเข่าเสื่่อมในผู้สูงอายุตำบลแหลมโตนด " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลแหลมโตนด อำเภอควนขนุน จังหวัดพัทลุง รหัสโครงการ ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 ตุลาคม 2559 - 30 กันยายน 2560 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 8,900.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพ เทศบาลตำบลแหลมโตนด เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

โรคข้อเข่าเสื่อมเป็นปัญหาทางสุขภาพที่ส่งผลกระทบบุคคลในครอบครัว ทั่งในเรื่องการดูแลและการรักษา ประเทศชาติต้องใช้งบประมาณอย่างมากในการดูแลผู้ป่วย สำหรับตัวผู้ป่วยเองอาจทำให้เกิดความพิการ มีข้อเข่าผิดรูปส่งผลต่อการใช้ชีวิตประจำวัน ทำให้คุณภาพชีวิตลดลง การช่วยเหลือเพื่อให้ผู้ป่วยสามารถช่วยเหลือตนเองได้ ทำงานได้ตามความสามารถทำให้ผู้ป่วยสามารถดำรงชีวิตอยู่ได้ด้วยตามศักยภาพ จึงมีความสำคัญยิ่ง ผู้สูงอายุในตำบลแหลมโตนด มีจำนวน 972 คนในปี 2559ปัญหาสุขภาพที่พบมีทั้งโรคความดันโลหิตสูง เบาหวาน ซึ่งส่วนใหญ่ได้รับการดูแลและได้รับยาต่อเนื่องอยู่แล้วแต่อีกปัญหาหนึ่งซึ่งพบบ่อยในระบบกระดูก และกล้ามเนื้อคือ ภาวะข้อเข่าเสื่อม ซึ่งจากการคัดกรองภาวะสุขภาพของผู้สูงอายุตำบลแหลมโตนด พบว่ามีอาการปวดเข่าประมาณ 250 คน ดังนั้น ทาง รพ.สต.แหลมโตนด ได้เห็นความสำคัญของของปัญหาดังกล่าว จึงได้จัดทำโครงการนี้ขึ้น

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

กิจกรรม/การดำเนินงาน

    กลุ่มเป้าหมาย

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
    กลุ่มวัยทำงาน
    กลุ่มผู้สูงอายุ
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

    ผลที่คาดว่าจะได้รับ

    1.ผู้สูงอายุที่มีภาวะข้อเสื่อม มีความรู้ความเข้าใจในการดูแลตนเอง และมีทักษะในการปฏิบัติการบริหารกล้ามเนื้อข้อเข่าที่ถูกต้อง สามารถช่วยเหลือตนเองได้ ทำงานได้ตามความสามารถ ดำรงชีวิตอยู่ได้ด้วยความสุขตามศักยภาพ 2.ผู้สูงอายุที่มีภาวะข้อเสื่อม สามารถทุเลาความรุนแรงของโรค ป้องกันความรุนแรงที่เกิดจากโรคข้อเสื่อม ผู้ที่มีภาวะข้อเสื่อมระดับปานกลาง และระดับสูงได้รับการดูแลและมีการส่งพบแพทย์ศัลยกรรมกระดูกที่เชี่ยวชาญอย่างเหมาะสม


    ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

    วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
    ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
    กิจกรรมของโครงการ
    ผลผลิต*
    ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

    * ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
    ** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


    ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

    ผลการดำเนินโครงการ

    สรุปผลการดำเนินโครงการ

    ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
    บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
    บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
    ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

    1.การประเมินผลการดูแลตนเอง โดยใช้แบบประเมิน แบบสำรวจการปรับพฤติกรรมในการดูแลตนเองเพื่อการดูแลตนเองโรค่ข้อเข่าเสื่อม เพื่อการประเมินว่าผู้สูงอายุสามารถปรับพฤติกรรมในการปฏิบัติกิจวัตรประจำวันได้หรือไม่ ผลการสำรวจการปรับพฤติกรรมในการดูแลตนเองเพื่อการดูแลโรคข้อเข่าเสื่อม ดังนี้
    1)การลดน้ำหนัก ผู้สูงอายุมีภาวะอ้วน ไม่สามารถลดน้ำหนักได้ จำนวน 3 คน 2)การนั่งบนเก้าอี้สูงระดับเข่า ไม่นั่งพับเพียบ นั่งขัดสมาธิ นั่งคุกเข่า นั่งยองๆ หรือนั่งบนพื้นราบ  ผู้สูงอายุสามารถปรับเปลี่ยนพฤติกรรมได้ จำนวน 27 คน ยังไม่ปรับพฤติกรรม จำนวน 3 คน 3)เข้าห้องน้ำ นั่งถ่ายบนโถห้อยขา ไม่นั่งยองๆ มีผู้สูงอายุ 1 คนที่ใช้ส้วมนั่งยอง ใช้ส้วมห้อยเท้า จำนวน 29 คน 4)นอนเตียงที่มีความสูงระดับเข่า ห้อยขาแล้วเท้าแตะพื้นพอดี ไม่นอนราบบนพื้นทุกคน 5)การหลีกเลี่ยงการขึ้นลงบันได ผู้สูงอายุที่ต้องขั้นลงบันได มีจำนวน 1 คน ไม่ต้องขึ้นลงบันได จำนวน 29 คน 6)หลีกเลี่ยงการยืน หรือนั่งในท่าเดียวกันนานๆ ผู้สูงอายุทุกคนสามารถปฏิบัติได้ 7)การยืน ควรยืนตรงขากางออกเล็กน้อย ไม่ควรยืนเอียง น้ำหนักตัวลงข้างใดข้างหนึ่ง 8)การเดิน ควรเดินบนพื้นราบ ไม่เดินบนทางลาดเอียงที่ชันมาก ทางขรุขระ ผู้สูงอายุสามารถปฏิบัติได้จำนวน 29 คน ไม่สามารถปฏิบัติได้จำนวน 1 คน 9)ใ่ส่รองเท้าส้นเตี้ย สูงไม่เกิน 1 นิ้ว พื้นรองเท้านุ่ม พอควร ขนาดกระชับ ผู้สูงอายุสามารถปฏฺบัติได้ทุกคน 10)ใช้ไม่เท้า เพื่อการรองรับน้ำหนัก ช่วยพยุงตัวเมื่อจะล้ม มีผู้สูงอายุใช้ไม้เท้าทุกครั้ง จำนวน 29 คน ใช้ไม้เท้าบางครั้ง 1 คน 11)การบริหารกล้ามเนื้อรอบข้อเข่าเพื่อลดอาการปวด ผู้สูงอายุที่มีการบริหารกล้ามเนื้อข้อเข้าทุกวัน จำนวน 22 คน บริหารไม่ทุวัน จำนวน 8 คน 12)เมือมีอาการปวด พักการใช้ข้อเข่าประคบความเย็น ประคบร้อน มีการประคบเย็น ประคบร้อน จำนวน 25 คน 2. มีการประเมินผล อาการปวดเข่าของผู้สูงอายุ ตามแบบประเมินความรุนแรงของอาการปวดเข่า ว่าดีขึ้นหรือไม่ จากการประเมินผู้สูงอายุจำนวน 30 คน ผู้สูงอายุมีอาการปวดเข่าดีขึ้น จำนวน 23 คน คิดเป็นร้อยละ 76.66 ผู้สูงอายุได้มีการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม การบริหารกล้ามเนื้อข้อเข่าทุกวัน ใช้ส้วมห้อยขา ไม่นั่งพับเพียบ ไม่นั้งขัดสมาชิก นอนบนเตียงห้อยขาเท้าแตะพื้นพอดี หลีกเลี่ยงการขึ้นลงบันได หลีกเลี่ยงการเดินขรุขระ จำนวน 5 คน คิดเป็นร้อยละ 16.67 ระดับความรุนแรงของอาการปวดเข่ายังไม่ดีขึ้นจำนวน 7 คน ซึ่งคิดเป็นร้อยละ 13.34 จากสาเหตุผู้สูงอายุ มีน้ำหนักมาก ไม่ได้มีการบริหารกล้ามเนื้อข้อเข่า อย่างต่อเนื่อง ใช้ส้วมนั่งยอง มีการขึ้นลงบันไดอย่างหลีกเลี่ยงไม่ได้

    ผลผลิตโครงการ

    วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
    1
    ตัวชี้วัด :

     

    ผู้เข้าร่วมโครงการ

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 0
    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
    กลุ่มวัยทำงาน -
    กลุ่มผู้สูงอายุ -
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

    บทคัดย่อ*

    โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1)

    ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่

    ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

    หมายเหตุ *

    • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
    • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

    ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

    ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

     

     

     


    โครงการชะลอข้อเข่าเสื่่อมในผู้สูงอายุตำบลแหลมโตนด จังหวัด พัทลุง

    รหัสโครงการ

    ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

    ................................
    ( นางสุจิตร์ พูนเกิด )
    ผู้รับผิดชอบโครงการ
    ......./............/.......

    vertical_align_topไปบนสุด