กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

assignment
บันทึกกิจกรรม
กิจกรรมประเมินการรับรู้ความสามารถของตนเองของครูพี่เลี้ยงในการประยุกต์ใช้โยคะเพื่อการพัฒนาความสามารถทางพหุปัญญาของเด็กปฐมวัย (หลังเสร้จสิ้นโครงการ)และแลกเปลี่ยนเรียนรู้ประสบการณ์การสอนของครูพี่เลี้ยง23 สิงหาคม 2020
23
สิงหาคม 2020รายงานจากพื้นที่ โดย กองทุน สปสช.เทศบาลตำบลบ้านพร้าว
circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติรายละเอียดของการทำกิจกรรมที่ได้ปฎิบัติจริง

กิจกรรมประเมินการรับรู้ความสามารถของตนเองของครูพี่เลี้ยงในการประยุกต์ใช้โยคะเพื่อการพัฒนาความสามารถทางพหุปัญญาของเด็กปฐมวัย (หลังเสร้จสิ้นโครงการ)และแลกเปลี่ยนเรียนรู้ประสบการณ์การสอนของครูพี่เลี้ยง

circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

ผลการประเมินจากแบบทดสอบความรุ้และความเข้าใจเกี่ยวกับโยคะจากจำนวนผู้เข้าร่วมทั้งหมด 12 คน *ก่อนเข้าร่วมโครงการ ร้อยละ 77.83 *หลังเข้าร่วมโครงการ ร้อยละ 85.56 1 จำนวนผู้เข้าร่วมโครงการ ทั้งหมด 12 คน (ในวันแรก และเหลือ 11 คนในวันที่ 2 ของการเข้าร่วมโครงการ) มีอายุระหว่าง 27 - 56 ปี (เฉลี่ย 43.58 ปี ) มีประสบการณ์การเป็นครูพี่เลี้ยงแก่เด็กปฐมวัย ระหว่าง 2 - 20 ปี (เฉลี่ย 8.42 ปี) ส่วนใหย่มีสถานภาพสมรสคู่ ( 9คน) ไม่มีโรคประจำตัว (8 คน) ที่มีโรคประจำตัว ช่น ภูมิแพ้ (1 คน) หรือมีอาการไม่สุขสบาย เช่น ปวดเข่า เป็นต้น มีความรู้เกี่ยวกับโยคะมาก่อน ( 7 คน) มีผู้เข้าร่วมโครงการปฏิบัติโยคะอยู่ (10 คน) ประมาณสัปดาห์ละ 3 วัน โดยปฏิบัติแต่ละครั้งไม่เกิน 15 นาที (5 คน) จนถึงครั้งละประมาณ 15 - 30 นาที ( 5 คน)

กิจกรรมการประยุกต์ใช้โยคะพัฒนาเด็กเล็กของครูพี่เลี้ยงแต่ละศูนย์22 สิงหาคม 2020
22
สิงหาคม 2020รายงานจากพื้นที่ โดย กองทุน สปสช.เทศบาลตำบลบ้านพร้าว
circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติรายละเอียดของการทำกิจกรรมที่ได้ปฎิบัติจริง

กิจกรรมการประยุกต์ใช้โยคะพัฒนาเด็กเล็กของครูพี่เลี้ยงแต่ศูนย์

circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

1 จำนวนผู้เข้าร่วมโครงการ ทั้งหมด 12 คน (ในวันแรก และเหลือ 11 คนในวันที่ 2 ของการเข้าร่วมโครงการ) มีอายุระหว่าง 27 - 56 ปี (เฉลี่ย 43.58 ปี ) มีประสบการณ์การเป็นครูพี่เลี้ยงแก่เด็กปฐมวัย ระหว่าง 2 - 20 ปี (เฉลี่ย 8.42 ปี) ส่วนใหย่มีสถานภาพสมรสคู่ ( 9คน) ไม่มีโรคประจำตัว (8 คน) ที่มีโรคประจำตัว ช่น ภูมิแพ้ (1 คน) หรือมีอาการไม่สุขสบาย เช่น ปวดเข่า เป็นต้น มีความรู้เกี่ยวกับโยคะมาก่อน ( 7 คน) มีผู้เข้าร่วมโครงการปฏิบัติโยคะอยู่ (10 คน) ประมาณสัปดาห์ละ 3 วัน โดยปฏิบัติแต่ละครั้งไม่เกิน 15 นาที (5 คน) จนถึงครั้งละประมาณ 15 - 30 นาที ( 5 คน)

กิจกรรมการอบรมครูพี่เลี้ยง22 สิงหาคม 2020
22
สิงหาคม 2020รายงานจากพื้นที่ โดย กองทุน สปสช.เทศบาลตำบลบ้านพร้าว
circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติรายละเอียดของการทำกิจกรรมที่ได้ปฎิบัติจริง

-ประเมินการรับรู้ถึงความสามารถของตนเองของครูพี่เลี้ยงในการประยุกต์ใช้โยคะเพื่อการพัฒนาความสามารถทางพหุปญญาของเด็กปฐมวัย (หลังการอบรม)

circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

ผลการประเมินจากแบบทดสอบความรู้และความเข้าใจเกี่ยวกับโยคะ จากจำนวนผู้เข้าโครงการทั้งหมด 12 คน -ก่อนเข้าร่วมโครงการ 77.83% -หลังเข้าร่วมโครงการ 85.56%

กิจกรรมประเมินความสามารถทางพหุปัญญาของเด็กปฐมวัย ก่อนการสอนประยุกต์ใช้โยคะของครูพี่เลี้ยง1 พฤษภาคม 2020
1
พฤษภาคม 2020รายงานจากพื้นที่ โดย กองทุน สปสช.เทศบาลตำบลบ้านพร้าว
circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติรายละเอียดของการทำกิจกรรมที่ได้ปฎิบัติจริง

ประเมินความสามารถทางพหุปัญญาของเด็กปฐมวัย ก่อนการสอนประยุกต์ใช้โยคะของครูพี่เลี้ยง ติดตามประเมินความสามาถทางพหุปัญญาของเด็กปฐมวัยหลังการสอนประยุกต์ใช้โยคะของครูพี่เลี้ยง

circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

-คะแนนการรับรู้ถึงความสามารถของตนเองของครูพี่เลี้ยงในการประยุกต์ใช้โยคะเพื่อการพัฒนาความสามารถทางพหุปัญญาของเด็กปฐมวัยเพิ่มขึ้น -คะแนนความสามารถทางพหุปัญญาของเด็กปฐมวัยเพิ่มขึ้น

กิจกรรมเตรียมการ2 มกราคม 2020
2
มกราคม 2020รายงานจากพื้นที่ โดย กองทุน สปสช.เทศบาลตำบลบ้านพร้าว
circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติรายละเอียดของการทำกิจกรรมที่ได้ปฎิบัติจริง

1.1 พัฒนาคู่มือสำหรับครูพี่เลี้ยงของศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก 1.2 ประสานงานกับครูพี่เลี้ยงเพื่อหาแนวทางในการออกแบบแผนการสอนแก่เด็กปฐมวัย 4 ศูนย์   -ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านบ่อทราย   -ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านเนินทราย   -ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านไสตอ   -ศูนยืฑํฒนาเด็กเล็กบ้านหาดสูง 1.3 ประเมินการรับรู้ถึงความสามารถของตนเองของครูพี่เลี้ยงในการประยุกต์ใช้โยคะเพื่อการพัฒนาความสามารถทางพหุปัญญาของเด็กปฐมวัย (ก่อนอบรม)

circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

ผลการประเมินจากแบบทดสอบความรุ้และความเข้าใจเกี่ยวกับโยคะจากจำนวนผู้เข้าร่วมทั้งหมด 12 คน *ก่อนเข้าร่วมโครงการ ร้อยละ 77.83 *หลังเข้าร่วมโครงการ ร้อยละ 85.56 1.ครูพี่เลี้ยงมีการรับรู้ถึงความสามารถของตนเองในการประยุกต์ใช้โยคะเพื่อการพัฒนาเพื่อการพัฒนาความสามารถทางพหุปัญญาของเด็กปฐมวัยอย่างต่อเนื่อง 2.เด็กปฐมวัยมีความสามาถทางพหุปัญญาอันจะนำไปสู่การสร้างพื้นฐานที่ดีสำหรับการดำเนินชีวิตในอนาคต