กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลเมืองกันตัง


“ โครงการป้องกันปัญหาออฟฟิศซินโดรมในกลุ่มวัยทำงาน ปี 2563 ”

ตำบลกันตัง อำเภอกันตัง จังหวัดตรัง

หัวหน้าโครงการ
นางสาววรรณา ชัยเดช

ชื่อโครงการ โครงการป้องกันปัญหาออฟฟิศซินโดรมในกลุ่มวัยทำงาน ปี 2563

ที่อยู่ ตำบลกันตัง อำเภอกันตัง จังหวัดตรัง จังหวัด ตรัง

รหัสโครงการ 63-L6895-01-17 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 3 กุมภาพันธ์ 2563 ถึง 30 กันยายน 2563


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการป้องกันปัญหาออฟฟิศซินโดรมในกลุ่มวัยทำงาน ปี 2563 จังหวัดตรัง" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลกันตัง อำเภอกันตัง จังหวัดตรัง

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลเมืองกันตัง ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการป้องกันปัญหาออฟฟิศซินโดรมในกลุ่มวัยทำงาน ปี 2563



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการป้องกันปัญหาออฟฟิศซินโดรมในกลุ่มวัยทำงาน ปี 2563 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลกันตัง อำเภอกันตัง จังหวัดตรัง รหัสโครงการ 63-L6895-01-17 ระยะเวลาการดำเนินงาน 3 กุมภาพันธ์ 2563 - 30 กันยายน 2563 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 25,000.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลเมืองกันตัง เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

ปัจจุบันพฤติกรรมและวิถีการดำเนินชีวิตมีผลอย่างมากต่อสุขภาพของประชาชน สภาวะการทำงาน        ที่เร่งรีบ วนเวียนอยู่กับพฤติกรรมการทำงานด้วยท่าทางซ้ำๆ ทุกวัน เป็นระยะเวลานาน และภาวะเครียด เป็นปัจจัยให้เกิดพฤติกรรมเสี่ยง ที่ส่งผลต่อการเจ็บป่วยของบุคคล และหลายคนมักเป็นโรคติดงาน (Workaholic) หรือโรคออฟฟิศ ซินโดรม (Office Syndromes) ซึ่งเป็นกลุ่มอาการที่พบบ่อยในคนวัยทำงาน เกิดจากการนั่งทำงานตลอดเวลา โดยเฉพาะการนั่งทำงานหน้าจอคอมพิวเตอร์ติดต่อกันเวลานาน ส่งผลให้เกิดอาการกล้ามเนื้ออักเสบ และปวดเมื่อยตามอวัยวะต่างๆ อาทิ หลัง ไหล่ บ่า แขน หรือข้อมือ ส่วนบางรายที่มีอาการของหมอนรองกระดูกเคลื่อน หากทำงานในอริยาบทที่ผิดจะทำให้มีอาการรุนแรงมากขึ้นมีอาการ ปวดหัว ปวดหลัง ปวดไหล่ ปวดท้ายทอย และอาการทางกายเหล่านี้ส่งผลถึงอารมณ์ และส่งผลเสียต่อร่างกาย จนเป็นสาเหตุของโรคต่างๆ ตามมา การสร้างองค์ความรู้เรื่องการดูแลสุขภาพ การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมให้เหมาะสมในขณะทำงาน และ การจัดสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อการทำงานอย่างปลอดภัย จึงมีความสำคัญอย่างมาก ซึ่งนอกจากบุคลากรจะห่างไกลโรคแล้ว ยังส่งผลให้การทำงานมีประสิทธิภาพยิ่งขึ้นด้วย
กองวิชาการและแผนงาน เทศบาลเมืองกันตัง เห็นถึงความสำคัญของปัญหาและอันตรายที่เกิดจากโรคออฟฟิศซินโดรม (Office Syndromes) จึงจัดทำโครงการป้องกันปัญหาออฟฟิศซินโดรมในกลุ่มคนวัยทำงานในบุคลากรของเทศบาลเมืองกันตัง ขึ้น

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อสร้างองค์ความรู้และความเข้าใจเรื่องสาเหตุ และการป้องกันโรคออฟฟิศซินโดรม (Office Syndromes)
  2. เพื่อส่งเสริมให้ประชาชนกลุ่มวัยทำงานเกิดการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่ถูกต้องและเหมาะสมห่างไกลจากออฟฟิศซินโดรมและทำงานได้อย่างมีประสิทธิภาพ
  3. เพื่อส่งเสริมให้องค์กรจัดสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อการทำงานอย่างปลอดภัย
  4. เพื่อสร้างหน่วยงานต้นแบบการเรียนรู้ “ทำงานปลอดภัย ห่างไกล Office Syndromes”

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. กิจกรรมอบรมเชิงปฏิบัติการ
  2. กิจกรรมขยับกาย ป้องกันภาวะออฟฟิศซินโดรม

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน 50
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

  1. ผู้เข้ารับการอบรมมีความรู้ในเรื่องการดูแล ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมของตนเอง เพื่อห่างไกลจากโรคออฟฟิศซินโดรม ในด้านการออกกำลังกายและจัดการกับอารมณ์ที่เหมาะสม
  2. ผู้เข้ารับการอบรมมีแนวทางในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมเพื่อห่างไกลจากโรคออฟฟิศซินโดรมและให้ทำงานได้อย่างมีประสิทธิภาพ
  3. ผู้เข้ารับการอบรมมีกิจกรรมทางกายเพียงพอ (ระดับปานกลางถึงมาก อย่างน้อยที่สุด 150 นาทีต่อสัปดาห์)
  4. เทศบาลเมืองกันตัง เป็นหน่วยงานต้นแบบการเรียนรู้ “ ทำงานปลอดภัย ห่างไกล Office Syndromes ”

ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. กิจกรรมอบรมเชิงปฏิบัติการ

วันที่ 8 กรกฎาคม 2563

กิจกรรมที่ทำ

  • ลงทะเบียน
  • พิธีเปิดการฝึกอบรม
  • บรรยายเรื่อง ออฟฟิศซินโดรม
  • สาธิต การขยับกาย
  • พักรับประทานอาหารกลางวัน
  • บรรยายเรื่อง การจัดการอารมณ์ได้ด้วยตนเอง
  • ฝึกปฏิบัติการขยับกาย/การจัดการอารมณ์ที่เหมาะสมกับพฤติกรรมการทำงาน

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

1.1 จัดกิจกรรมฝึกอบรมเชิงปฏิบัติการ การป้องกันปัญหาออฟฟิศซินโดรมในกลุ่มวัยทำงาน ปี 2563
เมื่อวันที่ 8 กรกฎาคม  2563  ณ อาคารคอซิมบี๊ เทศบาลเมืองกันตัง อ.กันตัง จ.ตรัง  โดยมีผู้เข้าฝึกอบรม ประกอบด้วย คณะผู้บริหาร พนักงานเทศบาล และเจ้าหน้าที่ผู้ปฏิบัติงาน  จำนวน  59  ท่าน
1.1.1 ผลการฝึกอบรม
คณะผู้บริหาร พนักงานเทศบาล และเจ้าหน้าที่ผู้ปฏิบัติงาน มีองค์ความรู้และความเข้าใจเรื่องสาเหตุ และการป้องกันโรคออฟฟิศซินโดรม (Office Syndromes)
1.1.2 ผลการประเมินความพึงพอใจ
    ผู้เข้าฝึกอบรมมีความพึงพอใจต่อการจัดงานในระดับมาก - มากที่สุด คิดเป็นร้อยละ 93.39 และค่าเฉลี่ย (X ̅) 4.39 ระดับความพึงพอใจทั้งโครงการอยู่ในระดับ มาก
1.1.3 ข้อเสนอแนะเพื่อการพัฒนา 1) ให้มีการจัดอบรมแบบนี้อีก 2) เพิ่มระยะเวลาในการจัดกิจกรรมเป็นการฝึกปฏิบัติมากขึ้น 1.2 กิจกรรมขยับกาย ป้องกันภาวะออฟฟิศซินโดรม
1.2.1 จัดซื้อชุดเครื่องเสียงอเนกประสงค์ จำนวน  1  ชุด
1.2.2 จัดกิจกรรมขยับกาย ป้องกันภาวะออฟฟิศซินโดรม ให้แก่พนักงานเทศบาล ช่วงเช้าเวลา 10.30 - 10.45 น. และช่วงบ่ายเวลา 14.30 – 14.45 น. ครั้งละ 15 นาที ต่อเนื่อง 3 เดือน ทุกวันจันทร์ – ศุกร์  (กรกฎาคม – กันยายน 2563) 1.2.2.1 ผลการจัดกิจกรรม 1) ประชาชนกลุ่มวัยทำงานเกิดการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่ถูกต้องและเหมาะสมห่างไกลจาก ออฟฟิศซินโดรมและทำงานได้อย่างมีประสิทธิภาพ 2) ส่งเสริมให้องค์กรจัดสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อการทำงานอย่างปลอดภัย 3) สร้างหน่วยงานต้นแบบการเรียนรู้ “ทำงานปลอดภัย ห่างไกล Office Syndromes” 1.2.2.2 ผลการประเมินกิจกรรม
พนักงานเทศบาลมีกิจกรรมทางกายเพียงพอ (ระดับปานกลางถึงมาก อย่างน้อยที่สุด 150 นาทีต่อสัปดาห์) คิดเป็นร้อยละ 92.53

 

50 0

2. กิจกรรมขยับกาย ป้องกันภาวะออฟฟิศซินโดรม

วันที่ 9 กรกฎาคม 2563

กิจกรรมที่ทำ

จัดกิจกรรมขยับกาย

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

กิจกรรมขยับกาย ป้องกันภาวะออฟฟิศซินโดรม
1.จัดซื้อชุดเครื่องเสียงอเนกประสงค์ จำนวน  1  ชุด
2.จัดกิจกรรมขยับกาย ป้องกันภาวะออฟฟิศซินโดรม ให้แก่พนักงานเทศบาล ช่วงเช้าเวลา 10.30 - 10.45 น. และช่วงบ่ายเวลา 14.30 – 14.45 น. ครั้งละ 15 นาที ต่อเนื่อง 3 เดือน ทุกวันจันทร์ – ศุกร์  (กรกฎาคม – กันยายน 2563)

 

0 0

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

1.1 จัดกิจกรรมฝึกอบรมเชิงปฏิบัติการ การป้องกันปัญหาออฟฟิศซินโดรมในกลุ่มวัยทำงาน ปี 2563
เมื่อวันที่ 8 กรกฎาคม 2563 ณ อาคารคอซิมบี๊ เทศบาลเมืองกันตัง อ.กันตัง จ.ตรัง โดยมีผู้เข้าฝึกอบรม ประกอบด้วย คณะผู้บริหาร พนักงานเทศบาล และเจ้าหน้าที่ผู้ปฏิบัติงาน จำนวน 59 ท่าน
1.1.1 ผลการฝึกอบรม
คณะผู้บริหาร พนักงานเทศบาล และเจ้าหน้าที่ผู้ปฏิบัติงาน มีองค์ความรู้และความเข้าใจเรื่องสาเหตุ และการป้องกันโรคออฟฟิศซินโดรม (Office Syndromes)
1.1.2 ผลการประเมินความพึงพอใจ
  ผู้เข้าฝึกอบรมมีความพึงพอใจต่อการจัดงานในระดับมาก - มากที่สุด คิดเป็นร้อยละ 93.39 และค่าเฉลี่ย (X ̅) 4.39 ระดับความพึงพอใจทั้งโครงการอยู่ในระดับ มาก
1.1.3 ข้อเสนอแนะเพื่อการพัฒนา 1) ให้มีการจัดอบรมแบบนี้อีก 2) เพิ่มระยะเวลาในการจัดกิจกรรมเป็นการฝึกปฏิบัติมากขึ้น 1.2 กิจกรรมขยับกาย ป้องกันภาวะออฟฟิศซินโดรม
1.2.1 จัดซื้อชุดเครื่องเสียงอเนกประสงค์ จำนวน 1 ชุด
1.2.2 จัดกิจกรรมขยับกาย ป้องกันภาวะออฟฟิศซินโดรม ให้แก่พนักงานเทศบาล ช่วงเช้าเวลา 10.30 - 10.45 น. และช่วงบ่ายเวลา 14.30 – 14.45 น. ครั้งละ 15 นาที ต่อเนื่อง 3 เดือน ทุกวันจันทร์ – ศุกร์ (กรกฎาคม – กันยายน 2563) 1.2.2.1 ผลการจัดกิจกรรม 1) ประชาชนกลุ่มวัยทำงานเกิดการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่ถูกต้องและเหมาะสมห่างไกลจากออฟฟิศซินโดรมและทำงานได้อย่างมีประสิทธิภาพ 2) ส่งเสริมให้องค์กรจัดสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อการทำงานอย่างปลอดภัย 3) สร้างหน่วยงานต้นแบบการเรียนรู้ “ทำงานปลอดภัย ห่างไกล Office Syndromes” 1.2.2.2 ผลการประเมินกิจกรรม
พนักงานเทศบาลมีกิจกรรมทางกายเพียงพอ (ระดับปานกลางถึงมาก อย่างน้อยที่สุด 150 นาทีต่อสัปดาห์) คิดเป็นร้อยละ 92.53

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อสร้างองค์ความรู้และความเข้าใจเรื่องสาเหตุ และการป้องกันโรคออฟฟิศซินโดรม (Office Syndromes)
ตัวชี้วัด :
0.00

 

2 เพื่อส่งเสริมให้ประชาชนกลุ่มวัยทำงานเกิดการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่ถูกต้องและเหมาะสมห่างไกลจากออฟฟิศซินโดรมและทำงานได้อย่างมีประสิทธิภาพ
ตัวชี้วัด :
0.00

 

3 เพื่อส่งเสริมให้องค์กรจัดสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อการทำงานอย่างปลอดภัย
ตัวชี้วัด :
0.00

 

4 เพื่อสร้างหน่วยงานต้นแบบการเรียนรู้ “ทำงานปลอดภัย ห่างไกล Office Syndromes”
ตัวชี้วัด :
0.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 50 59
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน 50 59
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด 0
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อสร้างองค์ความรู้และความเข้าใจเรื่องสาเหตุ และการป้องกันโรคออฟฟิศซินโดรม (Office  Syndromes) (2) เพื่อส่งเสริมให้ประชาชนกลุ่มวัยทำงานเกิดการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่ถูกต้องและเหมาะสมห่างไกลจากออฟฟิศซินโดรมและทำงานได้อย่างมีประสิทธิภาพ (3) เพื่อส่งเสริมให้องค์กรจัดสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อการทำงานอย่างปลอดภัย (4) เพื่อสร้างหน่วยงานต้นแบบการเรียนรู้ “ทำงานปลอดภัย ห่างไกล Office Syndromes”

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) กิจกรรมอบรมเชิงปฏิบัติการ (2) กิจกรรมขยับกาย ป้องกันภาวะออฟฟิศซินโดรม

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการป้องกันปัญหาออฟฟิศซินโดรมในกลุ่มวัยทำงาน ปี 2563 จังหวัด ตรัง

รหัสโครงการ 63-L6895-01-17

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นางสาววรรณา ชัยเดช )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด