โครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม เปลี่ยนชีวิต พิชิตโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูง ศูนย์สุขภาพชุมชนโรงพยาบาลศรีบรรพต
แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์
รายงานฉบับสมบูรณ์
โครงการ
“ โครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม เปลี่ยนชีวิต พิชิตโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูง ศูนย์สุขภาพชุมชนโรงพยาบาลศรีบรรพต ”
ตำบลเขาปู่ อำเภอศรีบรรพต จังหวัดพัทลุง
หัวหน้าโครงการ
แพทย์หญิงวัชรียา ปาละกุล
ได้รับการสนับสนุนโดย กองทุนสุขภาพตำบล อบต.เขาปู่
กันยายน 2563
ชื่อโครงการ โครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม เปลี่ยนชีวิต พิชิตโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูง ศูนย์สุขภาพชุมชนโรงพยาบาลศรีบรรพต
ที่อยู่ ตำบลเขาปู่ อำเภอศรีบรรพต จังหวัดพัทลุง จังหวัด พัทลุง
รหัสโครงการ 63-L3366-1-02 เลขที่ข้อตกลง 02/2563
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 ตุลาคม 2562 ถึง 30 กันยายน 2563
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม เปลี่ยนชีวิต พิชิตโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูง ศูนย์สุขภาพชุมชนโรงพยาบาลศรีบรรพต จังหวัดพัทลุง" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลเขาปู่ อำเภอศรีบรรพต จังหวัดพัทลุง
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.เขาปู่ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม เปลี่ยนชีวิต พิชิตโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูง ศูนย์สุขภาพชุมชนโรงพยาบาลศรีบรรพต
บทคัดย่อ
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อให้ประชาชนกลุ่มเสี่ยงมีการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ (2) เพื่อลดอัตราป่วยโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูงรายใหม่
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) กิจกรรมที่ 1 อบรมกลุ่มเสี่ยง (2) กิจกรรมที่ 2 ฟื้นฟูศักยภาพ อสม.
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ ปัญหา/อุปสรรค (ระบุ) เนื่องจากเกิดสถานการณ์โรคโควิด-19 ทำให้การดำเนินการล่าช้า ทำให้การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมของกลุ่มเสี่ยงไม่ได้เป็นไปตามเป้าหมาย ซึ่งการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพให้ได้ผลดี ต้องสร้างความตระหนักให้กับผู้ที่เข้าร่วมโครงการและต้องใช้ระยะเวลาไม่น้อยกว่า 6 เดือน เนื้อหาของความรู้เรื่องอาหารเป็นเนื้อหาที่ยาก
แนวทางการแก้ไข (ระบุ) ต้องมีการอบรมฟื้นฟูความรู้อย่างต่อเนื่อง
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ »
บทคัดย่อ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล »
วัตถุประสงค์โครงการ »
กิจกรรม/การดำเนินงาน »
กลุ่มเป้าหมาย »
ผลลัพธ์ที่ได้ »
การประเมินผล »
ปัญหาและอุปสรรค »
ข้อเสนอแนะ »
เอกสารประกอบอื่นๆ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
โรคเรื้อรังเป็นโรคซึ่งทั่วโลกกำลังให้ความสนใจอย่างยิ่ง จากรายงานการสำรวจ สุขภาพประชาชนไทยโดยการตรวจร่างกายครั้งที่ 5 ในปี 2557 พบการป่วยด้วยโรคไม่ติดต่อเพิ่มขึ้น หนึ่งในสามของประชาชนไทยที่มีอายุตั้งแต่15 ปีขึ้นไป ป่วยเป็นโรคไม่ติดต่อที่สำคัญความชุกเบาหวานเพิ่มขึ้นจากร้อยละ 6.9 ในปี พ.ศ. 2552 เป็นร้อยละ 8.9 คิดเป็นจำนวนประมาณ 4.8 ล้านคน ในช่วง 5 ปีที่ผ่านมา เพิ่มขึ้นปีละประมาณ 300,000 คน ความชุกของ ความดันโลหิตสูงเพิ่มขึ้นจากร้อยละ 21.4 ในปีพ.ศ. 2552 เป็นร้อยละ 24.7 คิดเป็นจำนวนประมาณ 13 ล้านคน ในช่วง 5 ปีที่ผ่านมา เพิ่มขึ้นปีละประมาณ 600,000 คน รวมถึงความชุกภาวะ น้ำหนักเกิน (BMI ≥ 25 kg/m2 ) เพิ่มขึ้นจากร้อยละ 34.7 ในปีพ.ศ. 2552 เป็นร้อยละ 37.5 ตามลำดับ นอกจากนี้ การเปลี่ยนแปลงปัจจัยทางสังคม เช่น การขยายตัวของสังคมเมือง กลยุทธ์ทางการตลาด ความก้าวหน้าทาง เทคโนโลยีและการสื่อสาร ที่ส่งผลต่อวิถีชีวิตและทำให้ป่วยด้วยโรคไม่ติดต่อเพิ่มมากขึ้น
จากการคัดกรองโรคเมตาบอลิกของประชาชนอายุ 35 ปีขึ้นไป ในเขตรับผิดชอบของศูนย์สุขภาพชุมชน โรงพยาบาลศรีบรรพต ในปี 2560 – 2562 พบว่า ประชากรที่มีภาวะความดันโลหิตสูง อยู่ในกลุ่มแฝง/เสี่ยง คิดเป็นร้อยละ 47.14 , 46.42 , 46.10 อยู่ในกลุ่มสงสัยเป็นโรค คิดเป็นร้อยละ 21.44 , 22.26 , 22.80 ประชากรที่มีภาวะเบาหวาน อยู่ในกลุ่มแฝง/เสี่ยง คิดเป็นร้อยละ 26.91 , 32.76, 42.29อยู่ในกลุ่มกลุ่มสงสัยเป็นโรค คิดเป็นร้อยละ 2.01 , 4.66 , 4.81 จะเห็นได้ว่าประชาชนในเขตรับผิดชอบของศูนย์สุขภาพชุมชน โรงพยาบาลศรีบรรพตมีภาวะสุขภาพที่ผิดปกติและมีแนวโน้มเพิ่มขึ้นทุกปี
กลุ่มงานบริการด้านปฐมภูมิและองค์รวม โรงพยาบาลศรีบรรพต เล็งเห็นความสำคัญของปัญหาดังกล่าว จึงร่วมกับ อสม.บ้านเหรียงงามและบ้านในในวัง จัดทำโครงการปรับพฤติกรรม เปลี่ยนชีวิต พิชิตโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูง ศูนย์สุขภาพชุมชนโรงพยาบาลศรีบรรพต ขึ้น เพื่อให้ประชาชนกลุ่มเสี่ยงมีการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ ส่งผลให้มีภาวะสุขภาพที่ดีขึ้น และลดอัตราป่วยโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูงในชุมชน
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- เพื่อให้ประชาชนกลุ่มเสี่ยงมีการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ
- เพื่อลดอัตราป่วยโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูงรายใหม่
กิจกรรม/การดำเนินงาน
- กิจกรรมที่ 1 อบรมกลุ่มเสี่ยง
- กิจกรรมที่ 2 ฟื้นฟูศักยภาพ อสม.
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
- ประชาชนกลุ่มเสี่ยงมีความรู้ และทัศนคติที่เหมาะสม ในเรื่องการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ
- ลดอัตราป่วยด้วยโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูง
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ ผลผลิต* ผลผลิตที่ตั้งไว้ ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลการดำเนินงาน
1.1ผู้เข้าร่วมโครงการ จำนวน 30 คน คิดเป็นร้อยละ ๑00
1.2ผู้เข้าร่วมโครงการมีความรู้เพิ่มขึ้น คิดเป็นร้อยละ 88.60
1.3 ผลสุขภาพของกลุ่มเสี่ยงที่เข้าร่วมโครงการ มีผลสุขภาพดีขึ้น ร้อยละ 100
1.4 อัตราเบาหวานรายใหม่จากกลุ่มเสี่ยง คิดเป็นร้อยละ 2.94
1.5 อัตรากลุ่มสงสัยป่วยโรคความดันโลหิตสูงได้รับการวัดความดันโลหิตที่บ้าน คิดเป็นร้อยละ 92.59
โครงการไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ ในเรื่องอัตราเบาหวานรายใหม่จากกลุ่มเสี่ยงน้อยกว่าร้อยละ 1.95 ซึ่งผล การดำเนินโครงการได้ร้อยละ 2.94 เนื่องจากเกิดสถานการณ์โรคโควิด-19 ทำให้ไม่สามารถดำเนินโครงการตามเป้าหมายที่วางไว้ ส่วนใหญ่ผู้ป่วยเบาหวานรายใหม่มาจากผู้ป่วยที่เป็นโรคความดันโลหิตสูงและกลุ่มเสี่ยงของปีก่อน ซึ่งมีการติดตามมาพบแพทย์แต่ผู้ป่วยไม่ได้มารับการรักษา
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ สถานการณ์ เป้าหมาย ผลผลิต อธิบาย
1
เพื่อให้ประชาชนกลุ่มเสี่ยงมีการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ
ตัวชี้วัด : - ประชาชนกลุ่มเสี่ยงมีความรู้เพิ่มขึ้นไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
- ประชาชนกลุ่มเสี่ยงมีสุขภาพที่ดีขึ้นไม่น้อยกว่าร้อยละ 50
0.00
88.60
2
เพื่อลดอัตราป่วยโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูงรายใหม่
ตัวชี้วัด : - อัตราผู้ป่วยเบาหวานรายใหม่จากกลุ่มเสี่ยงน้อยกว่า ร้อยละ 1.95
- อัตรากลุ่มสงสัยป่วยโรคความดันโลหิตสูงได้รับการวัดความดันโลหิตที่บ้านไม่น้อยกว่าร้อยละ 40
0.00
2.95
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด
0
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
-
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
-
กลุ่มวัยทำงาน
-
กลุ่มผู้สูงอายุ
-
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
-
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
-
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
-
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
-
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
-
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อให้ประชาชนกลุ่มเสี่ยงมีการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ (2) เพื่อลดอัตราป่วยโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูงรายใหม่
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) กิจกรรมที่ 1 อบรมกลุ่มเสี่ยง (2) กิจกรรมที่ 2 ฟื้นฟูศักยภาพ อสม.
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ ปัญหา/อุปสรรค (ระบุ) เนื่องจากเกิดสถานการณ์โรคโควิด-19 ทำให้การดำเนินการล่าช้า ทำให้การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมของกลุ่มเสี่ยงไม่ได้เป็นไปตามเป้าหมาย ซึ่งการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพให้ได้ผลดี ต้องสร้างความตระหนักให้กับผู้ที่เข้าร่วมโครงการและต้องใช้ระยะเวลาไม่น้อยกว่า 6 เดือน เนื้อหาของความรู้เรื่องอาหารเป็นเนื้อหาที่ยาก
แนวทางการแก้ไข (ระบุ) ต้องมีการอบรมฟื้นฟูความรู้อย่างต่อเนื่อง
หมายเหตุ *- บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
- หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค สาเหตุ ข้อเสนอแนะ
โครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม เปลี่ยนชีวิต พิชิตโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูง ศูนย์สุขภาพชุมชนโรงพยาบาลศรีบรรพต จังหวัด พัทลุง
รหัสโครงการ 63-L3366-1-02
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
................................
( แพทย์หญิงวัชรียา ปาละกุล )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......
โครงการ
“ โครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม เปลี่ยนชีวิต พิชิตโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูง ศูนย์สุขภาพชุมชนโรงพยาบาลศรีบรรพต ”
ตำบลเขาปู่ อำเภอศรีบรรพต จังหวัดพัทลุง
หัวหน้าโครงการ
แพทย์หญิงวัชรียา ปาละกุล
กันยายน 2563
ที่อยู่ ตำบลเขาปู่ อำเภอศรีบรรพต จังหวัดพัทลุง จังหวัด พัทลุง
รหัสโครงการ 63-L3366-1-02 เลขที่ข้อตกลง 02/2563
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 ตุลาคม 2562 ถึง 30 กันยายน 2563
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม เปลี่ยนชีวิต พิชิตโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูง ศูนย์สุขภาพชุมชนโรงพยาบาลศรีบรรพต จังหวัดพัทลุง" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลเขาปู่ อำเภอศรีบรรพต จังหวัดพัทลุง
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.เขาปู่ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม เปลี่ยนชีวิต พิชิตโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูง ศูนย์สุขภาพชุมชนโรงพยาบาลศรีบรรพต
บทคัดย่อ
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อให้ประชาชนกลุ่มเสี่ยงมีการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ (2) เพื่อลดอัตราป่วยโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูงรายใหม่
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) กิจกรรมที่ 1 อบรมกลุ่มเสี่ยง (2) กิจกรรมที่ 2 ฟื้นฟูศักยภาพ อสม.
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ ปัญหา/อุปสรรค (ระบุ) เนื่องจากเกิดสถานการณ์โรคโควิด-19 ทำให้การดำเนินการล่าช้า ทำให้การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมของกลุ่มเสี่ยงไม่ได้เป็นไปตามเป้าหมาย ซึ่งการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพให้ได้ผลดี ต้องสร้างความตระหนักให้กับผู้ที่เข้าร่วมโครงการและต้องใช้ระยะเวลาไม่น้อยกว่า 6 เดือน เนื้อหาของความรู้เรื่องอาหารเป็นเนื้อหาที่ยาก
แนวทางการแก้ไข (ระบุ) ต้องมีการอบรมฟื้นฟูความรู้อย่างต่อเนื่อง
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ | » |
บทคัดย่อ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล | » |
วัตถุประสงค์โครงการ | » |
กิจกรรม/การดำเนินงาน | » |
กลุ่มเป้าหมาย | » |
ผลลัพธ์ที่ได้ | » |
การประเมินผล | » |
ปัญหาและอุปสรรค | » |
ข้อเสนอแนะ | » |
เอกสารประกอบอื่นๆ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
โรคเรื้อรังเป็นโรคซึ่งทั่วโลกกำลังให้ความสนใจอย่างยิ่ง จากรายงานการสำรวจ สุขภาพประชาชนไทยโดยการตรวจร่างกายครั้งที่ 5 ในปี 2557 พบการป่วยด้วยโรคไม่ติดต่อเพิ่มขึ้น หนึ่งในสามของประชาชนไทยที่มีอายุตั้งแต่15 ปีขึ้นไป ป่วยเป็นโรคไม่ติดต่อที่สำคัญความชุกเบาหวานเพิ่มขึ้นจากร้อยละ 6.9 ในปี พ.ศ. 2552 เป็นร้อยละ 8.9 คิดเป็นจำนวนประมาณ 4.8 ล้านคน ในช่วง 5 ปีที่ผ่านมา เพิ่มขึ้นปีละประมาณ 300,000 คน ความชุกของ ความดันโลหิตสูงเพิ่มขึ้นจากร้อยละ 21.4 ในปีพ.ศ. 2552 เป็นร้อยละ 24.7 คิดเป็นจำนวนประมาณ 13 ล้านคน ในช่วง 5 ปีที่ผ่านมา เพิ่มขึ้นปีละประมาณ 600,000 คน รวมถึงความชุกภาวะ น้ำหนักเกิน (BMI ≥ 25 kg/m2 ) เพิ่มขึ้นจากร้อยละ 34.7 ในปีพ.ศ. 2552 เป็นร้อยละ 37.5 ตามลำดับ นอกจากนี้ การเปลี่ยนแปลงปัจจัยทางสังคม เช่น การขยายตัวของสังคมเมือง กลยุทธ์ทางการตลาด ความก้าวหน้าทาง เทคโนโลยีและการสื่อสาร ที่ส่งผลต่อวิถีชีวิตและทำให้ป่วยด้วยโรคไม่ติดต่อเพิ่มมากขึ้น
จากการคัดกรองโรคเมตาบอลิกของประชาชนอายุ 35 ปีขึ้นไป ในเขตรับผิดชอบของศูนย์สุขภาพชุมชน โรงพยาบาลศรีบรรพต ในปี 2560 – 2562 พบว่า ประชากรที่มีภาวะความดันโลหิตสูง อยู่ในกลุ่มแฝง/เสี่ยง คิดเป็นร้อยละ 47.14 , 46.42 , 46.10 อยู่ในกลุ่มสงสัยเป็นโรค คิดเป็นร้อยละ 21.44 , 22.26 , 22.80 ประชากรที่มีภาวะเบาหวาน อยู่ในกลุ่มแฝง/เสี่ยง คิดเป็นร้อยละ 26.91 , 32.76, 42.29อยู่ในกลุ่มกลุ่มสงสัยเป็นโรค คิดเป็นร้อยละ 2.01 , 4.66 , 4.81 จะเห็นได้ว่าประชาชนในเขตรับผิดชอบของศูนย์สุขภาพชุมชน โรงพยาบาลศรีบรรพตมีภาวะสุขภาพที่ผิดปกติและมีแนวโน้มเพิ่มขึ้นทุกปี
กลุ่มงานบริการด้านปฐมภูมิและองค์รวม โรงพยาบาลศรีบรรพต เล็งเห็นความสำคัญของปัญหาดังกล่าว จึงร่วมกับ อสม.บ้านเหรียงงามและบ้านในในวัง จัดทำโครงการปรับพฤติกรรม เปลี่ยนชีวิต พิชิตโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูง ศูนย์สุขภาพชุมชนโรงพยาบาลศรีบรรพต ขึ้น เพื่อให้ประชาชนกลุ่มเสี่ยงมีการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ ส่งผลให้มีภาวะสุขภาพที่ดีขึ้น และลดอัตราป่วยโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูงในชุมชน
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- เพื่อให้ประชาชนกลุ่มเสี่ยงมีการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ
- เพื่อลดอัตราป่วยโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูงรายใหม่
กิจกรรม/การดำเนินงาน
- กิจกรรมที่ 1 อบรมกลุ่มเสี่ยง
- กิจกรรมที่ 2 ฟื้นฟูศักยภาพ อสม.
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้ | |
---|---|---|
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | ||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | ||
กลุ่มวัยทำงาน | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | ||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] |
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
- ประชาชนกลุ่มเสี่ยงมีความรู้ และทัศนคติที่เหมาะสม ในเรื่องการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ
- ลดอัตราป่วยด้วยโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูง
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์** กิจกรรมของโครงการ | ผลผลิต* | |
---|---|---|
ผลผลิตที่ตั้งไว้ | ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง |
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลการดำเนินงาน
1.1ผู้เข้าร่วมโครงการ จำนวน 30 คน คิดเป็นร้อยละ ๑00
1.2ผู้เข้าร่วมโครงการมีความรู้เพิ่มขึ้น คิดเป็นร้อยละ 88.60
1.3 ผลสุขภาพของกลุ่มเสี่ยงที่เข้าร่วมโครงการ มีผลสุขภาพดีขึ้น ร้อยละ 100
1.4 อัตราเบาหวานรายใหม่จากกลุ่มเสี่ยง คิดเป็นร้อยละ 2.94
1.5 อัตรากลุ่มสงสัยป่วยโรคความดันโลหิตสูงได้รับการวัดความดันโลหิตที่บ้าน คิดเป็นร้อยละ 92.59
โครงการไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ ในเรื่องอัตราเบาหวานรายใหม่จากกลุ่มเสี่ยงน้อยกว่าร้อยละ 1.95 ซึ่งผล การดำเนินโครงการได้ร้อยละ 2.94 เนื่องจากเกิดสถานการณ์โรคโควิด-19 ทำให้ไม่สามารถดำเนินโครงการตามเป้าหมายที่วางไว้ ส่วนใหญ่ผู้ป่วยเบาหวานรายใหม่มาจากผู้ป่วยที่เป็นโรคความดันโลหิตสูงและกลุ่มเสี่ยงของปีก่อน ซึ่งมีการติดตามมาพบแพทย์แต่ผู้ป่วยไม่ได้มารับการรักษา
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ | สถานการณ์ | เป้าหมาย | ผลผลิต | อธิบาย | |
---|---|---|---|---|---|
1 | เพื่อให้ประชาชนกลุ่มเสี่ยงมีการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ ตัวชี้วัด : - ประชาชนกลุ่มเสี่ยงมีความรู้เพิ่มขึ้นไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 - ประชาชนกลุ่มเสี่ยงมีสุขภาพที่ดีขึ้นไม่น้อยกว่าร้อยละ 50 |
0.00 | 88.60 |
|
|
2 | เพื่อลดอัตราป่วยโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูงรายใหม่ ตัวชี้วัด : - อัตราผู้ป่วยเบาหวานรายใหม่จากกลุ่มเสี่ยงน้อยกว่า ร้อยละ 1.95 - อัตรากลุ่มสงสัยป่วยโรคความดันโลหิตสูงได้รับการวัดความดันโลหิตที่บ้านไม่น้อยกว่าร้อยละ 40 |
0.00 | 2.95 |
|
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
---|---|---|---|
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด | 0 | ||
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | |||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | - | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | - | ||
กลุ่มวัยทำงาน | - | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | - | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | |||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | - | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | - | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | - | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | - | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] | - |
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อให้ประชาชนกลุ่มเสี่ยงมีการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ (2) เพื่อลดอัตราป่วยโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูงรายใหม่
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) กิจกรรมที่ 1 อบรมกลุ่มเสี่ยง (2) กิจกรรมที่ 2 ฟื้นฟูศักยภาพ อสม.
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ ปัญหา/อุปสรรค (ระบุ) เนื่องจากเกิดสถานการณ์โรคโควิด-19 ทำให้การดำเนินการล่าช้า ทำให้การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมของกลุ่มเสี่ยงไม่ได้เป็นไปตามเป้าหมาย ซึ่งการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพให้ได้ผลดี ต้องสร้างความตระหนักให้กับผู้ที่เข้าร่วมโครงการและต้องใช้ระยะเวลาไม่น้อยกว่า 6 เดือน เนื้อหาของความรู้เรื่องอาหารเป็นเนื้อหาที่ยาก
แนวทางการแก้ไข (ระบุ) ต้องมีการอบรมฟื้นฟูความรู้อย่างต่อเนื่อง
หมายเหตุ *
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค | สาเหตุ | ข้อเสนอแนะ |
---|---|---|
|
|
|
โครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม เปลี่ยนชีวิต พิชิตโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูง ศูนย์สุขภาพชุมชนโรงพยาบาลศรีบรรพต จังหวัด พัทลุง
รหัสโครงการ 63-L3366-1-02
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
( แพทย์หญิงวัชรียา ปาละกุล )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......