กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.กระเสาะ


“ โครงการส่งเสริมการใช้ยาอย่างปลอดภัยในชุมชนตำบลกระเสาะ ”

ตำบลกระเสาะ อำเภอมายอ จังหวัดปัตตานี

หัวหน้าโครงการ
นางนายานา วาแม็ง

ชื่อโครงการ โครงการส่งเสริมการใช้ยาอย่างปลอดภัยในชุมชนตำบลกระเสาะ

ที่อยู่ ตำบลกระเสาะ อำเภอมายอ จังหวัดปัตตานี จังหวัด ปัตตานี

รหัสโครงการ 63-L2999-1-01 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 12 พฤษภาคม 2563 ถึง 30 สิงหาคม 2563


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการส่งเสริมการใช้ยาอย่างปลอดภัยในชุมชนตำบลกระเสาะ จังหวัดปัตตานี" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลกระเสาะ อำเภอมายอ จังหวัดปัตตานี

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.กระเสาะ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการส่งเสริมการใช้ยาอย่างปลอดภัยในชุมชนตำบลกระเสาะ



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการส่งเสริมการใช้ยาอย่างปลอดภัยในชุมชนตำบลกระเสาะ " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลกระเสาะ อำเภอมายอ จังหวัดปัตตานี รหัสโครงการ 63-L2999-1-01 ระยะเวลาการดำเนินงาน 12 พฤษภาคม 2563 - 30 สิงหาคม 2563 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 13,000.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.กระเสาะ เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

ปัจจุบันปัญหาการใช้ยาไม่สมเหตุสมผลของคนในชุมชนเป็นปัญหาที่มีความซับซ้อนและมีปัจจัยที่เข้ามามีส่วนเกี่ยวข้องหลายส่วนทั้งจากตัวผู้ใช้ยาเอง ผู้สั่งใช้ยา ตลอดจนการควบคุมตามกฏหมาย ดังนั้นการดำเนินการจึงต้องใข้มาตรการที่หลากหลายทั้งความร่วมมือของหลายภาคส่วน หลายระดับ โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลกระเสาะ มีหมู่บ้านรับผิดชอบทั้งหมด 5 หมู่บ้าน มีร้านค้า ร้านชำ ทั้งหมด 18 ร้าน และจากการสำรวจร้านค้า พบว่ามีร้านค้าชำอีกหลายร้านที่นำยาที่ไม่ใช้ยาสามัญประจำบ้านมาขายให้แก่คนในชุมชนและจากการสอบถามผู้ประกอบการเกี่ยวกับพิษภัยของยา ปรากฎว่าไม่มีความรู้และไม่ทราบถึงผลข้างเคียงที่ตามมา จากการดำเนินงานเกี่ยวกับคุ้มครองผู้บริโภคตลอดมา ได้เพียงให้คำแนะนำและให้ความรู้และไม่ทราบถึงผลข้างเคียงที่ตามมา จากการดำเนินงานได้เพียงให้คำแนะนำและให้ความรู้และยังไม่สามารถลดการนำยาปฏิชีวนะมาขายในชุมชนได้ จากสภาพปัญหาดังกล่าว จึงคิดหาแนวทางการดำเนินงานเพื่่อให้การขับเคลื่อนกิจกรรมการส่งเสริมการใช้ยาในชุมชนมีความชัดเจนและสอดคล้องและเป็นไปในทิศทางเดียวกัน จึงได้จัดทำโครงการส่งเสริมการใช้ยาทีปลอดภัยในชุมชน ประจำปีงบประมาณ 2563 และเพื่อให้สอดคล้องกับนโยบายของสำนักงานคณะกรรมการอาหารและยา โดยใช้ชุมชนเป็นฐาน และเน้นการมีส่วนร่วมของคนในชุมชน ซึ่งครอบคลุมประเด็นการใช้ยาปฏิชีวนะ ยาชุดและการใช้ยาสเตียรอยด์ โดยไม่จำเป็นเพื่อให้คนในชุมชนมีการพัฒนาการจัดการเรื่องยาให้สมเหตุสมผลและปลอดภัยในระยะยาวต่อไป

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. 1. เพื่อให้ประชาชนในตำบลกระเสาะ มีความรู้ความเข้าใจในการใช้ยาอย่างปลอดภัย ครอบคลุมทั้งยาปฏิชีวนะ ยาชุด และยาเสตียรอยด์ อย่างสมเหตุผล 2. เพื่อให้ประชาชนตำบลกระเสาะร่วมเฝ้าระวัง ตรวจแหล่งขายยาในชุมชน เช่น ร้านค้า ร้านชำ ร้านขายยา มิให้มีการซื้อขายยาปฏิชีวนะ ยาชุด ยาเสตียรอยด์ 3. เพื่อให้ประชาชนตำบลกระเสาะลดปัญหาการใช้ยาเสตียรอยด์ ยาชุด และยาปฏิชีวนะ โดยไม่จำเป็น

กิจกรรม/การดำเนินงาน

    กลุ่มเป้าหมาย

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
    กลุ่มวัยทำงาน 60
    กลุ่มผู้สูงอายุ
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง 55
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 60
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

    ผลที่คาดว่าจะได้รับ

    1. ประชาชนในตำบลกระเสาะ มีความรู้ความเข้าใจในการใช้ยาอย่างปลอดภัย ครอบคลุมทั้งยาปฏิชีวนะ ยาชุด และยาเสตียรอยด์ อย่างสมเหตุผล 2. ประชาชนตำบลกระเสาะร่วมเฝ้าระวัง ตรวจแหล่งขายยาในชุมชน เช่น ร้านค้า ร้านชำ ร้านขายยา มิให้มีการซื้อขายยาปฏิชีวนะ ยาชุด ยาเสตียรอยด์ 3. ประชาชนตำบลกระเสาะลดการใช้ยาเสตียรอยด์ ยาชุด และยาปฏิชีวนะ

    ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

    วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
    ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
    กิจกรรมของโครงการ
    ผลผลิต*
    ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

    * ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
    ** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


    ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

    ผลการดำเนินโครงการ

    สรุปผลการดำเนินโครงการ

    ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
    บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
    บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
    ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

    1. กิจกรรมพัฒนาศักยาภาพการใช้ยาในชุมชนโดยการจัดอบรมเพ่ิมทักษะและความรู้เรื่องยาปฏิชีวนะ ยาชุดและยาสเตียรอยด์ แก่แกนนำสุขภาพครอบครัว และประชาชนทั่วไป จำนวน 60 คน วันที่ 15 สิงหาคม 2563 ตั้งแต่เวลา 08.30 น. - 16.30 น. ณ ห้องประชุม โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลกระเสาะโดยในการให้ความรู้ มีการประเมินความรู้ก่อนและหลัง อบรม โดยมีข้อคำถามและสรุปประเด็นความถามดังนี้ ตอนที่ 1 โดยข้อมูลทั่วไปของผู้เข้ารับการอบรม เป็นเพศชายร้อยละ 20 และเพศหญิงร้อยละ 80 อายุโดยส่วนใหญ่ อยู่ในช่วง 40-50 ปี ร้อยละ 45 รองลงมา คือ 20-30 ปี ร้อยละ 35 การศึกษา ส่วนใหญ่อยู่ในระดับมัธยมปลาย ร้อยละ 36.67 รองลงมาคือ ประถมศึกษาหรือต่ำกว่าประถมศึกษา ร้อยละ 30 อาชีพส่วนใหญ่ประกอบอาชีพรับจ้า ร้อยละ 33.33 รองลงมาคือ แม่บ้าน ร้อยละ 30 และรายได้ครอบครัวอยู่ในช่วง 5,000-10,000 บาท ร้อยละ 43.33 รองลงมา คือ ต่ำกว่า 5,000 ร้อยละ 30 ตอนที่ 2 ความรู้เกี่ยวกับการใช้ยาปฏิชีวนะ ข้อคำถามที่มีการตอบถูกมากที่สุดก่อนอบรมคือยาปฏิชีวนะ หรือยาฆ่าเชื้อต้องรับประทานอย่างน้อย 2 วัน จึงจะเพียงพอในการรักษาโรคคออักเสบที่เกิดจาการติดเชื้อแบคทีเรีย ร้อยละ 78.33 ส่วนข้อคำถามที่มีการตอบผิดมากที่สุด ก่อนอบรอมคือ อาการดังกล่าวควรหยุดยา และพบแพทย์ทันที ผู้เข้ารับการอบรม ตอบถูกเพียงร้อยละ 50 สำหรับข้อคำถามที่ตอบถูกมากที่สุดหลังอบรมคือสาเหตุสำคัญที่ทำให้เชื้อโรคดื้อยา เนื่องจากการใช้ยาปฏิชีวนะ ไม่ต่อเนื่อง ร้อยละ 96.67 และข้อคำถามที่มีการตอบผิดมากที่สุด หลังอบรมคือการใช้ยาปฏิชีวนะ โดยไม่จำเป็นอาจทำให้มีการติดเชื้อแทรกซ้อนได้ เช่นเกิดเชื้อราที่ปาก และลิ้น ตอบถูกเพียงร้อยละ 80 ตอนที่ 3 สำหรับพฤติกรรมในรอบ 3 เดือน ที่ผู้เข้ารับอบรม มีพฤติกรรมที่ถูกต้องมากที่สุดคือท่านสังเกตวันหมดอายุบนแผงยาทุกครั้งก่อนรับประทานยาและไม่นำยาที่แบ่งบรรจุเกิน 1 ปี มารับประทาน ผู้เข้ารับการอบรมมีพฤติกรรมที่ถูกต้องร้อยละ 81.67

    ผลผลิตโครงการ

    วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
    1 1. เพื่อให้ประชาชนในตำบลกระเสาะ มีความรู้ความเข้าใจในการใช้ยาอย่างปลอดภัย ครอบคลุมทั้งยาปฏิชีวนะ ยาชุด และยาเสตียรอยด์ อย่างสมเหตุผล 2. เพื่อให้ประชาชนตำบลกระเสาะร่วมเฝ้าระวัง ตรวจแหล่งขายยาในชุมชน เช่น ร้านค้า ร้านชำ ร้านขายยา มิให้มีการซื้อขายยาปฏิชีวนะ ยาชุด ยาเสตียรอยด์ 3. เพื่อให้ประชาชนตำบลกระเสาะลดปัญหาการใช้ยาเสตียรอยด์ ยาชุด และยาปฏิชีวนะ โดยไม่จำเป็น
    ตัวชี้วัด : 1. ประชาชนในตำบลกระเสาะ มีความรู้ความเข้าใจในการใช้ยาอย่างปลอดภัย ครอบคลุมทั้งยาปฏิชีวนะ ยาชุด และยาเสตียรอยด์ อย่างสมเหตุผล 2. ประชาชนตำบลกระเสาะร่วมเฝ้าระวัง ตรวจแหล่งขายยาในชุมชน เช่น ร้านค้า ร้านชำ ร้านขายยา มิให้มีการซื้อขายยาปฏิชีวนะ ยาชุด ยาเสตียรอยด์ 3. ประชาชนตำบลกระเสาะลดการใช้ยาเสตียรอยด์ ยาชุด และยาปฏิชีวนะ
    0.00

     

    ผู้เข้าร่วมโครงการ

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 175
    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
    กลุ่มวัยทำงาน 60
    กลุ่มผู้สูงอายุ -
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง 55
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 60
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

    บทคัดย่อ*

    โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1. เพื่อให้ประชาชนในตำบลกระเสาะ มีความรู้ความเข้าใจในการใช้ยาอย่างปลอดภัย ครอบคลุมทั้งยาปฏิชีวนะ ยาชุด และยาเสตียรอยด์ อย่างสมเหตุผล 2. เพื่อให้ประชาชนตำบลกระเสาะร่วมเฝ้าระวัง ตรวจแหล่งขายยาในชุมชน เช่น ร้านค้า ร้านชำ ร้านขายยา มิให้มีการซื้อขายยาปฏิชีวนะ ยาชุด ยาเสตียรอยด์ 3. เพื่อให้ประชาชนตำบลกระเสาะลดปัญหาการใช้ยาเสตียรอยด์ ยาชุด และยาปฏิชีวนะ โดยไม่จำเป็น

    ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่

    ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

    หมายเหตุ *

    • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
    • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

    ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

    ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

     

     

     


    โครงการส่งเสริมการใช้ยาอย่างปลอดภัยในชุมชนตำบลกระเสาะ จังหวัด ปัตตานี

    รหัสโครงการ 63-L2999-1-01

    ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

    ................................
    ( นางนายานา วาแม็ง )
    ผู้รับผิดชอบโครงการ
    ......./............/.......

    vertical_align_topไปบนสุด